Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด...

54
Chapter 2 เมธอด (Method) MFS1102 Object Oriented Programming

Transcript of Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด...

Page 1: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

Chapter 2

เมธอด (Method)

MFS1102 Object Oriented Programming

Page 2: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

รู้จักกับเมธอด (Method)• เมธอด (Method) คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางาน

อย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ โดยจะต้องเป็นสมาชิกของคลาส

• เปรียบได้กับโปรแกรมย่อย (Function) ในโปรแกรมแบบมีโครงสร้าง มีรูปแบบการใช้งานดังนี้

2MFS1102 Object Oriented Programming

Page 3: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

[modifier] return_type Methodname ([parameter]) {

[method_body]

return varValue;

}

โดยที่ modifier เป็นคีย์เวิร์ดที่กาํหนดคุณสมบัติการเข้าถึงเมธอด

return_type เป็นชนิดของข้อมูลที่เมธอดจะส่งค่ากลับ

MethodName เป็นชื่อเมธอด

parameter เป็นตัวแปรที่ใช้ในการรับข้อมูล

method_body เป็นชุดคําสั่งการทํางานของเมธอด

varValue เป็นค่าที่ต้องการส่งค่ากลับ

3MFS1102 Object Oriented Programming

Page 4: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

รูปแบบการเรียกใช้งานเมธอด

เมธอดไม่มีการรับพารามิเตอร์และไม่มีการคืนค่า

เมธอดมีการรับพารามิเตอร์แต่ไม่มีการคืนค่า

เมธอดไม่มีการรับพารามิเตอร์แต่มีการคืนค่า

เมธอดมีการรับพารามิเตอร์และมีการคืนค่า

4

Page 5: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

เมธอดไม่มีการรับพารามิเตอร์และไม่มีการคืนค่า

มีรูปแบบการเรียกใช้ดังนี้

ObjectName.MethodName ();

โดยที่

ObjectName เป็นชื่อออบเจ็กต์

MethodName เป็นชื่อเมธอดที่ต้องการใช้งาน

5

Page 6: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

เมธอดไม่มีการรับพารามิเตอร์และไม่มีการคืนค่า

6

Page 7: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

เมธอดมีการรับพารามิเตอร์แต่ไม่มีการคืนค่า

มีรูปแบบการเรียกใช้ดังนี้

ObjectName.MethodName ([argument]);

โดยที่

ObjectName เป็นชื่อออบเจ็กต์

MethodName เป็นชื่อเมธอดที่ต้องการใช้งาน

argument เป็นค่าข้อมูลที่ต้องการส่งผ่านไปให้เมธอด

7

Page 8: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

เมธอดมีการรับพารามิเตอร์แต่ไม่มีการคืนค่า

8

Page 9: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

เมธอดไม่มีการรับพารามิเตอร์แต่มีการคืนค่า

มีรูปแบบการเรียกใช้ดังนี้

dataType MethodValue = ObjectName.MethodName ();

โดยที่ ObjectName เป็นชื่อออบเจ็กต์

MethodName เป็นชื่อเมธอดที่ต้องการใช้งาน

dataType เป็นชนิดข้อมูลของเมธอดที่มีการคืนค่า

MethodValue เป็นตัวแปรที่ใช้เก็บค่าที่ได้จากการคืนค่า

ของเมธอด

9

Page 10: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

เมธอดไม่มีการรับพารามิเตอร์แต่มีการคืนค่า

10

Page 11: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

เมธอดมีการรับพารามิเตอร์และมีการคืนค่ามีรูปแบบการเรียกใช้ดังนี้

dataType MethodValue = ObjectName.MethodName([argument]);

โดยที่ ObjectName เป็นชื่อออบเจ็กต์

MethodName เป็นชื่อเมธอดที่ต้องการใช้งาน

argument เป็นค่าข้อมูลที่ต้องการส่งผ่านไปให้เมธอด

dataType เป็นชนิดข้อมูลของเมธอดที่มีการคืนค่า

MethodValue เป็นตัวแปรที่ใช้เก็บค่าที่ได้จากการคืนค่า

ของเมธอด11

Page 12: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

เมธอดมีการรับพารามิเตอร์และมีการคืนค่า

12

Page 13: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

การเรียกใช้งานเมธอดที่ก าหนดขึ้นในคลาส

สามารถท าได้ 2 รูปแบบ คือ

• ใช้งานจากคลาสที่ต่างกัน ต้องสร้างออบเจ็กต์จากคลาสที่มีเมธอดที่เราต้องการเรียกใช้งาน และเรียกใช้เมธอดผ่านออบเจ็กต์ที่สร้างขึ้นซึ่งเมธอดดังกล่าวต้องไม่มี access modifier เป็นแบบ private

• เรียกใช้งานภายในคลาสเดียวกัน ซึ่งสามารถเรียกผ่านชื่อเมธอดได้โดยไม่ต้องสร้างออบเจ็กต์ เมื่อเมธอดนั้นไม่เป็นเมธอดแบบ static

13

Page 14: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

โปรแกรมค านวณค่าแรงเรียกใช้เมธอดจากคลาส

14

Page 15: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

อาร์กิวเมนต์ (Argument)

และพารามิเตอร์ (Parameter)

อาร์กิวเมนต์ (Argument) คือ ตัวแปรที่ส่งไปให้เมธอดพร้อมกับการเรียกใช้เมธอด ในกรณีมีจํานวนมากกว่าหนึ่งค่าให้คั่นด้วยเครื่องหมาย “,”

พารามิเตอร์ (Parameter) คือ ตัวแปรที่ทําหน้าที่รับค่าอาร์กิวเมนต์ที่ส่งมาใช้งานในเมธอด ในกรณีมีจํานวนมากกว่าหนึ่งค่าให้คั่นด้วยเครื่องหมาย “,”

ตวัแปรท่ีเป็นอาร์กิวเมนต์ต้องมีจ านวนเท่ากบัตวัแปรท่ีเป็นพารามิเตอร์

15

Page 16: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

อาร์กิวเมนต์ (Argument)

และพารามิเตอร์ (Parameter)

ชนิดข้อมูลของอาร์กิวเมนต์ กับพารามิเตอร์ ในแต่ละตําแหน่งจะต้องสอดคล้องกัน

**แตไ่ม่จําเป็นที่จะต้องเป็นข้อมูลชนิดเดียวกัน กล่าวคือ อนุญาตให้เป็นชนิดข้อมูลที่สามารถแปลงข้อมูลโดยอัตโนมัติได้ (Implicit Type Conversion)

- ส่งอาร์กิวเมนต์ที่มีชนิด float ให้กับเมธอดที่มีพารามิเตอร์ชนิดข้อมูลเป็น double ได้

- ส่งอาร์กิวเมนต์ท่ีมีชนิด int ให้กับเมธอดที่มีพารามิเตอร์ชนิดข้อมูลเป็น double ได้

16

Page 17: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

โปรแกรมค านวณค่าแรง พารามิเตอร์และอาร์กิวเมนต์ชนิดข้อมูลสอดคล้องกัน

17

Page 18: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

การส่งค่าข้อมูล

การส่งชนิดข้อมูลพื้นฐานจะเป็นการส่งค่าข้อมูล (pass by value) ไปให้กับเมธอดที่เรียกใช้ หากมีการเปลี่ยนแปลงค่าของพารามิเตอร์ภายในเมธอดที่เราเรียกใช้ จะไม่ทําให้ค่าของอาร์กิวเมนต์เปลี่ยนตาม

การส่งชนิดข้อมูลแบบอ้างอิงซึ่งใช้กับข้อมูลประเภทออบเจ็กต์ จะเป็นการส่งค่าตําแหน่งอ้างอิง (pass by reference) ไปให้กับเมธอดที่เรียกใช้ ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงค่าพารามิเตอร์ภายในเมธอดที่เรียกใช้ จะมีผลทําให้ค่าของอาร์กิวเมนตท์ี่ส่งไปเปลี่ยนตาม

18

Page 19: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

การส่งค่าข้อมูล

คุณลักษณะเช่นนี้สามารถนําไปประยุกต์ใช้กับกรณีที่ต้องการเปลี่ยนแปลงค่าของอาร์กิวเมนต์ที่ส่งไปภายใต้การทํางานของเมธอด 1 เมธอด เช่น

- การคํานวณการแลกเหรียญที่ต้องการผลเป็นจํานวนเหรียญ10 บาท, เหรียญ 5 บาท, เหรียญ 2 บาท และเหรียญ 1 บาท ซึ่งผลลัพธ์ที่ต้องการมีทั้งหมด 4 ค่า หรือ

- การคํานวณหาคะแนนสูงสุด, คะแนนต่ําสุด และคะแนนเฉลี่ย เป็นต้น

19

Page 20: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

โปรแกรมค านวณแลกเหรียญ ใช้การส่งค่าแบบต าแหน่งอ้างอิง

20

Page 21: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

ประเภทของเมธอด (1)

ในภาษา Java มีรูปแบบการสร้างเมธอดหลากหลายประเภท ซึ่งแต่ละประเภทมีหน้าที่ที่แตกต่างกัน ในหัวข้อนี้เราจะมาศึกษาประเภทต่างๆ ของเมธอดในภาษา Java

Instance Method

เป็นเมธอดที่เรียกผ่านออบเจ็กต์ที่สร้างจากคลาสด้วยตัวดําเนินการ new ซึ่งเมธอดที่สร้างเพื่อการใช้งานในตัวอย่างที่ผ่านๆ มา จัดเป็นเมธอดประเภท instance method

21

Page 22: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

ประเภทของเมธอด (1)

22

Page 23: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

ประเภทของเมธอด (2)

Static Method

• เป็นเมธอดที่เรียกใช้ได้โดยไม่ต้องสร้างออบเจ็กต์ สามารถเรียกใช้เมธอดประเภทนี้ผ่านชื่อคลาสได้เลย แต่จะต้องเรียกใช้จากเมธอดประเภท static method เหมือนกัน

23

Page 24: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

ประเภทของเมธอด (2)

24

Page 25: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

ประเภทของเมธอด (3) โปรแกรมคํานวณเงินภาษีด้วย static method

25

Page 26: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

ประเภทของเมธอด (4)

Constructor method

เป็นเมธอดที่มีการกําหนดชื่อเมธอดเป็นชื่อเดียวกันกับชื่อคลาส เพื่อกําหนดให้เมธอดดังกล่าว ทํางานเป็นเมธอดแรกเมื่อเรียกใช้งานคลาส ซึ่งการทํางานของ Constructor methodจะเหมาะสําหรับการกําหนดค่าเริ่มต้นให้กับออบเจ็กต์

26

Page 27: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

ประเภทของเมธอด (4)

27

Page 28: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

ประเภทของเมธอด (5)Overloading Method

เป็นเมธอดที่มีคุณลักษณะที่มีได้หลายรูปแบบ (Polymorphism) โดยใช้ชื่อเมธอดเดียวกัน มากกว่า 1 เมธอด เพื่อทํางานในแบบเดียวกัน

สิ่งที่ต่างกันคือชนิดข้อมูลของผลลัพธ์ หรือมีจํานวนและชนิดข้อมูลของอาร์กิวเมนต์ที่ใช้ในการรับข้อมูลแตกต่างกัน

โปรแกรมตรวจสอบเงินเดือน โดยการทํา overload เมธอด setsalary()

28

Page 29: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

ประเภทของเมธอด (5)

29

กรณีเลือกประเภทพนักงานเป็น 1 และระดับพนักงานเป็น 9

กรณีเลือกประเภทพนักงานเป็น 2 และเกรดพนักงานเป็น A

Page 30: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

ประเภทของเมธอด (5)

Overriding Method

เป็นเมธอดที่มีคุณลักษณะของ Polymorphism อีกรูปแบบหนึ่ง ที่คลาสลูกสามารถ เขียนทับเมธอดของคลาสแม่ได้ โดยที่จํานวนอาร์กิวเมนต์, ชนิดข้อมูลของอาร์กิวเมนต์ และชนิดของข้อมูลที่คืนค่าจะต้องเหมือนในคลาสแม่เสมอ

30

Page 31: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

ประเภทของเมธอด (5)

31

Page 32: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

เมธอดในคลาส Math (1)

เมธอด pow() เป็นเมธอดหาค่ายกกําลังของข้อมูล ซึ่งมีรูปแบบการใช้งานดังนี้

Math.pow(x, y);

โดยที่ x เป็นค่าตัวเลขที่ต้องการยกกําลัง

y เป็นค่าตัวเลขยกกําลัง

ผลที่ได้ คือ ค่าตัวเลขของ x ยกกําลังด้วย y (xy)

32

Page 33: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

เมธอดในคลาส Math (1)

เมธอด sqrt() เป็นเมธอดหาค่ารากที่สองของข้อมูล ซึ่งมีรูปแบบการใช้งานดังนี้

Math.sqrt(x);

โดยที่ x เป็นค่าตัวเลขที่ต้องการถอดรากที่สอง

ผลที่ได้ คือ ค่ารากที่สองของ x ()

33

Page 34: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

เมธอดในคลาส Math (2)

• เมธอด abs() เป็นเมธอดหาค่าสัมบูรณ์ของข้อมูล มีรูปแบบ ดังนี้

Math.abs(x);

โดยที่ x เป็นค่าตัวเลขที่ต้องการหาค่าสัมบูรณ์

ผลที่ได้ คือ ค่าสัมบูรณ์ของ x

34

Page 35: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

เมธอดในคลาส Math (2)

เมธอด round() เป็นเมธอดปัดเศษทศนิยมเป็นจํานวนเต็ม มีรูปแบบ ดังนี้

Math.round(x);โดยที่ x เป็นค่าตัวเลขที่ต้องการปัดเศษทศนิยม

ผลที่ได้ คือ ค่าตัวเลขใน 2 รูปแบบ คือ- ถ้าตัวเลขหลังจุดทศนิยมมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 5 จะปัดค่า

ตัวเลขหลังจุดทศนิยมขึ้น- ถ้าตัวเลขหลังจุดทศนิยมมีค่าน้อยกว่า 5 จะตัดค่าตัวเลขหลัง

จุดทศนิยมทิ้ง

35

Page 36: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

เมธอดในคลาส Math (3)

เมธอด ceil() เป็นเมธอดปัดเศษทศนิยมขึ้นเป็นจํานวนเต็ม มีรูปแบบ ดังนี้

Math.ceil(x);โดยที่ x เป็นค่าตัวเลขที่ต้องการปัดเศษทศนิยมขึ้น

ผลที่ได้ คือ ค่าตัวเลขที่ปัดค่าหลังจุดทศนิยมขึ้นเป็นจํานวนเต็ม

36

Page 37: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

เมธอดในคลาส Math (3)

เมธอด floor() เป็นเมธอดปัดเศษทศนิยมลงเป็นจํานวนเต็ม มีรูปแบบ ดังนี้

Math.floor(x);โดยที่ x เป็นค่าตัวเลขที่ต้องการปัดเศษทศนิยมทิ้งไป

ผลที่ได้ คือ ค่าตัวเลขที่ปัดค่าตัวเลขหลังจุดทศนิยมลงเป็นจํานวนเต็ม

37

Page 38: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

เมธอดในคลาส Math (3)

เมธอด max() เป็นเมธอดหาค่าสูงสุดจากข้อมูล 2 ตัว มีรูปแบบ ดังนี้

Math.max(x, y);โดยที่ x เป็นค่าตัวเลขตัวที่ 1 ที่ต้องการหาค่าสูงสุด

y เป็นค่าตัวเลขตัวที่ 2 ที่ต้องการหาค่าสูงสุดผลที่ได้ คือ ค่าข้อมูลที่สูงที่สุดระหว่างค่า x กับค่า y

38

Page 39: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

เมธอดในคลาส Math (4)

เมธอด min() เป็นเมธอดหาค่าต่ําสุดจากข้อมูล 2 ตัว มีรูปแบบ ดังนี้

Math.min(x, y);

โดยที่ x เป็นค่าตัวเลขตัวที่ 1 ที่ต้องการหาค่าตํ่าสุด

y เป็นค่าตัวเลขตัวที่ 2 ที่ต้องการหาค่าตํ่าสุด

ผลที่ได้ คือ ค่าข้อมูลที่ต่ําที่สุดระหว่างค่า x กับค่า y

39

Page 40: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

เมธอดในคลาส Math (4)

เมธอด PI() เป็นเมธอดแสดงค่า Pi = 3.141592653589793

Math.PI();

ผลที่ได้ คือ ค่าตัวเลข PI ซึ่งเท่ากับ 3.141592653589793

เมธอด random() เป็นเมธอดสุ่มตัวเลขเป็นจํานวนทศนิยมมีค่า 0-1 มีรูปแบบ ดังนี้

Math.random();

ผลที่ได้ คือ ค่าตัวเลขที่ได้จากการสุ่มเป็นจํานวนทศนิยมที่มีค่าระหว่าง 0-1

40

Page 41: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

เมธอดในคลาส Math (5)

เมธอด log() เป็นเมธอดหาค่า log ของข้อมูล มีรูปแบบ ดังนี้Math.log(x);โดยที่ x เป็นค่าตัวเลขที่ต้องการหาค่า log

ผลที่ได้ คือ ผลลัพธ์ของการหาค่า log ของ x (log x)

เมธอด exp() เป็นเมธอดหาค่า e ยกกําลังของข้อมูล มีรูปแบบ ดังนี้Math.exp(x);โดยที่ x เป็นค่าตัวเลขที่ต้องการหาค่า e ยกกําลัง

ผลที่ได้ คือ ผลลัพธ์ค่า exponential ของ x (ex)41

Page 42: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

เมธอดในคลาส Math (5)

เมธอด sin() เป็นเมธอดหาค่า sine ของมุมที่กําหนด มีรูปแบบ ดังนี้Math.sin(x);โดยที่ x เป็นขนาดของมุมที่ต้องการหาค่า sin

ผลที่ได้ คือ ผลลัพธ์ค่า sine ของ x (sin(x))

42

Page 43: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

เมธอดในคลาส Math (6)

เมธอด cos() เป็นเมธอดหาค่า cosine ของมุมที่กําหนด มีรูปแบบ ดังนี้

Math.cos(A);

โดยที่ x เป็นขนาดของมุมที่ต้องการหาค่า cosine

ผลที่ได้ คือ ผลลัพธ์ค่า cosine ของ x (cos(x))

43

Page 44: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

เมธอดในคลาส Math (6)

เมธอด tan() เป็นเมธอดหาค่า tangent ของมุมที่กําหนด มีรูปแบบ ดังนี้

Math.tan(x);

โดยที่ x เป็นขนาดของมุมที่ต้องการหาค่า tangent

ผลที่ได้ คือ ผลลัพธ์ค่า tangent ของ x (tan(x))

44

Page 45: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

โปรแกรมแสดงการใช้เมธอดในคลาส Math

45

Page 46: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

โปรแกรมแสดงการใช้เมธอดในคลาส Math

46

Page 47: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

เมธอดในคลาส Calendar

เป็นเมธอดที่ทํางานกับข้อมูลด้านวันที่และเวลา อยู่ในแพ็คเกจ java.util.Calendar

ในการใช้งานผู้อ่านจะต้องสร้างออบเจ็กต์ของคลาส Calendar ก่อน จากนั้นเรียกใช้เมธอดที่ต้องการ

47

Page 48: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

เมธอดในคลาส Calendar

โดยที่

calenName เป็นชื่อออบเจ็กต์

getInstance เป็นเมธอดสําหรับการสร้างออบเจ็กต์ปฏิทิน

getTime เป็นเมธอดที่ให้ค่าวันที่และเวลาปัจจุบัน

48

Page 49: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

เมธอด format ของคลาส SimpleDateFormat

ใช้แสดงผลวันที่และเวลาในรูปแบบที่แตกต่างกัน

อยู่ในแพคเกจ java.text.SimpleDateFormat มีรูปแบบ ดังนี้

49

Page 50: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

รหัสแสดงผลวันเดือนปี และเวลา

50

รหัสแสดงผล ค าอธิบายyyyy แสดงปีศักราชMM แสดงเดือนเป็นตัวเลข 2 หลักww แสดงสปัดาหข์องปีWW แสดงสปัดาหข์องเดือนdd แสดงวันที่F แสดงวันของสัปดาห์เป็นตัวเลขEEE แสดงวันของสัปดาหเ์ป็นตัวอักษรย่อภาษาอังกฤษa แสดง AM,PMHH แสดงชั่วโมงแบบ 0-23 hh แสดงชั่วโมงแบบ 1-12kk แสดงชั่วโมงแบบ 1-24KK แสดงชั่วโมงแบบ 0-11mm แสดงนาทีss แสดงวินาที

Page 51: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

เมธอดในคลาส Date

เป็นเมธอดที่จัดการข้อมูลที่เกี่ยวกับ Date ที่สามารถให้ค่าวันที่และเวลาได้เช่นเดียวกับเมธอดในคลาส Calendar

อยู่ในแพ็คเกจ java.util.Date มีรูปแบบ ดังนี้

51

Page 52: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

เมธอดในคลาส Date

โดยที่

DateName เป็นชื่อออบเจ็กต์

new Date() เป็นการสร้างออบเจ็กต์ Date

getTime() เป็นเมธอดที่ให้ค่าวันที่และเวลาปัจจุบัน

52

Page 53: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

รหัสแสดงผลวันเดือนปี และเวลา

53

รหัสแสดงผล ค าอธิบายyyyy แสดงปีศักราชMM แสดงเดือนเป็นตัวเลข 2 หลักww แสดงสัปดาห์ของปีWW แสดงสัปดาห์ของเดือนdd แสดงวันที่F แสดงวันของสัปดาห์เป็นตัวเลขEEE แสดงวันของสัปดาห์เป็นตัวอักษรย่อภาษาอังกฤษa แสดง AM,PMHH แสดงชั่วโมงแบบ 0-23 hh แสดงชั่วโมงแบบ 1-12kk แสดงชั่วโมงแบบ 1-24KK แสดงชั่วโมงแบบ 0-11mm แสดงนาทีss แสดงวินาที

Page 54: Chapter 2 · รู้จักกับเมธอด (Method)•เมธอด (Method)คือ กลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

Reference

• ผศ.สุดา เธียรมนตรี, คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา Java.บริษัท ไอดีซี พรีเมียร์ จํากัด .กรุงเทพฯ: 2555.

54