การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM)...

39
(Knowle การแกไขป#ญหาก สํานักงาน การจัดการองคความรู edge Management : KM เรื่อง การขาดทุนในสหกรณภาคก จัดทําโดย นสหกรณจังหวัดประจวบคีรีขัน M) การเกษตร นธ

Transcript of การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM)...

Page 1: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

การจดัการองค�ความรู�

(Knowledge Management : KM)

การแก�ไขป#ญหาการขาดทนุใน

สํานักงานสหกรณ�จังหวัดประจวบคีรีขันธ�

การจดัการองค�ความรู�

Knowledge Management : KM)

เร่ือง

ป#ญหาการขาดทนุในสหกรณ�ภาคการเกษตร

จัดทําโดย

สํานักงานสหกรณ�จังหวัดประจวบคีรีขันธ�

Knowledge Management : KM)

สหกรณ�ภาคการเกษตร

สํานักงานสหกรณ�จังหวัดประจวบคีรีขันธ�

Page 2: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

คํานํา

การจัดการองคความรู� (Knowledge Management : KM)เรื่อง การแก�ไขป&ญหาการขาดทุนในสหกรณภาคการเกษตร เป2นเรื่องความรู�ท่ีสํานักงานสหกรณจังหวัดประจวบคีรีขันธ ได�จัดทําข้ึนตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ ประจําป=งบประมาณ พ.ศ.255๙ ของกรมสDงเสริมสหกรณท่ีอยูDในความรับผิดชอบของสํานักงานสหกรณจังหวัดประจวบคีรีขันธ มีเนื้อหาเก่ียวกับการแก�ไขสหกรณภาคการเกษตรท่ีประสบป&ญหาขาดทุน แนวปฏิบัติในการดําเนินการแก�ไขป&ญหา โดยมุDงให�เกิดผลสัมฤทธิ์อยDางแท�จริง และความรู�นี้ยังสนับสนุนและสร�างความรู�ความเข�าใจในการพัฒนาการปฏิบัติงานของบุคลากรให�มีประสิทธิภาพและเป2นท่ียอมรับของสหกรณและกลุDมเกษตรกร กลุDมเปLาหมาย ผู�รับบริการ และยังสDงผลถึงการนําไปใช�เพ่ือให�เกิดประโยชนอยDางแท�จริงตDอสหกรณและกลุDมเกษตรกรด�วย

สํานักงานสหกรณจังหวัดประจวบคีรีขันธ ขอขอบคุณผู�มีสDวนเก่ียวข�องท่ีได�รDวมกันสร�างองคความรู� และขับเคลื่อนนําไปสูDการปฏิบัติด�วยดี ซ่ึงรวมถึงบุคลากรของสหกรณและกลุDมเกษตรกร ท่ีเห็นความสําคัญขององคความรู�นี้ จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ด�วย

สํานักงานสหกรณจังหวัดประจวบคีรีขันธ สิงหาคม พ.ศ. 255๙

Page 3: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

สารบัญ

เรื่อง หน�า

คํานํา ก

สารบัญ ข

บทนํา 1 - 2 หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค

แนวความคิด

ส9วนท่ี 1 องคความรู�เดิม 3 - 10 เรื่อง การแก�ไขป&ญหาการขาดทุนในสหกรณภาคการเกษตร ป= พ.ศ. 2558 ของสํานักงานสหกรณจังหวัดประจวบคีรีขันธ

ส9วนท่ี 2 บทวิเคราะหและการกลั่นกรองตDอยอดองคความรู� 11 - 17

ส9วนท่ี 3 การนําองคความรู�สูDการปฏิบัติและเกิดนวัตกรรมใหมD 18 - 25

ส9วนท่ี 4 บทสรุปและข�อเสนอแนะ 26 - 27

เอกสารอ�างอิง ภาคผนวก

Page 4: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

1

บทนํา

หลักการและเหตุผล

กรมสDงเสริมสหกรณ ได�จัดทําแผนการบริหารงานบุคคลกรมสDงเสริมสหกรณตามแนวทาง (HR Scorecard) ป=งบประมาณ 2556 - 2559 เพ่ือให�การปฏิบัติงานตDาง ๆ เป2นไปตามยุทธศาสตรและเปLาหมายของกรมสDงเสริมสหกรณ ในสDวนของการบริหารจัดการองคความรู�ให�มีการกลั่นกรององคความรู�เดิมและกําหนดแนวทางการจัดเก็บองคความรู�ใหมDให�สอดคล�องกับสถานการณและทิศทางการพัฒนากระบวนการจัดการความรู� การจัดหมวดหมูDองคความรู�ให�สามารถสืบค�นข�อมูล และนําไปใช�ประโยชนตDอการปฏิบัติหน�าท่ีได�อยDางมีประสิทธิภาพ

สหกรณการเกษตร คือ องคกรท่ีประกอบอาชีพทางการเกษตร รวมตัวกันจัดต้ังข้ึนและ จดทะเบียนเป2นนิติบุคคลตDอนายทะเบียนสหกรณตามกฎหมายวDาด�วยการสหกรณ โดยมีจุดมุDงหมายเพ่ือให�สมาชิกดําเนินกิจการรDวมกันและชDวยเหลือซ่ึงกันและกัน เพ่ือแก�ไขความเดือนร�อนในการประกอบอาชีพของสมาชิก และชDวยยกฐานะความเป2นอยูDของสมาชิก เป2นหนDวยเศรษฐกิจรูปแบบหนึ่ง มีบทบาทท่ีสําคัญทางเศรษฐกิจและสังคม แตDในป&จจุบันผลการดําเนินงานของสหกรณภาคการเกษตรมีแนวโน�มท่ีจะขาดทุนเพ่ิมมากข้ึน สาเหตุของป&ญหาคือ 1. ป&ญหาจากการดําเนินธุรกิจของสหกรณ 5 ธุรกิจ ได�แกD ธุรกิจจัดหาสินค�ามาจําหนDาย ธุรกิจรวบรวมผลผลิต ธุรกิจสินเชื่อหรือธุรกิจให�เงินกู� ธุรกิจรับฝากเงิน ธุรกิจการให�บริการและสDงเสริมอาชีพ และป&ญหาด�านการบริหารจัดการภายในองคกร ท้ังนี้การขาดทุนของสหกรณภาคการเกษตรยDอมสDงผลตDอมวลสมาชิกท้ังทางตรงและทางอ�อมอยDางไมDสามารถหลีกเลี่ยงได�

สํานักงานสหกรณจังหวัดประจวบคีรีขันธตระหนักถึงผลกระทบตDอสหกรณภาคการเกษตรในอนาคต จึงได�ทําการศึกษาและวิเคราะหการขาดทุนของสหกรณภาคการเกษตรเพ่ือให�ทราบป&จจัยสาเหตุท่ีมีผลตDอการขาดทุน เพ่ือนําไปปรับปรุงการดําเนินงานและพัฒนาสหกรณให�มีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน

วัตถุประสงค�

1.เพ่ือชDวยให�เกิดการเรียนรู� และพัฒนาบุคคลกร รวมท้ังแบDงป&นความรู�เก่ียวกับการแก�ไขสหกรณภาคการเกษตรท่ีประสบป&ญหาขาดทุนสามารถนําข�อมูลไปประยุกตใช�ให�เข�ากับสถานการณป&จจุบันได�อยDางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

2. เพ่ือยกระดับคุณภาพมาตรฐานในการกํากับแนะนําสหกรณและกลุDมเกษตรกร 3. เพ่ือหาแนวทางในการพัฒนาสหกรณภาคการเกษตร ให�มีผลดําเนินงานขาดทุนน�อยลง 4. สามารถนําองคความรู�ไปสูDการปฏิบัติได�จริง เป2นการเพ่ิมประสิทธิภาพในการทํางานของเจ�าหน�าท่ี

สDงเสริมสหกรณและหนDวยงานท่ีเก่ียวข�อง

Page 5: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

2

แนวความคิด

คณะทํางานการจัดการความรู� (KM) ได�กําหนดขอบเขตเนื้อหาของการจัดการองคความรู� เรื่อง “การแก�ไขป&ญหาการขาดทุนในสหกรณภาคการเกษตร” ให�มีความสมบูรณและสามารถนําไปเป2นแนวทางในการปฏิบัติได�อยDางเป2นรูปธรรม โดยการนําแนวคิดจากองคความรู�เดิมมากลั่นกรองสูDนวัตกรรมใหมD โดยมีกรอบแนวความคิด ดังนี้

1) การวิเคราะหและกําหนดรายละเอียดของป&ญหา

2) การวางแผนในการแก�ป&ญหา

3) การดําเนินการแก�ป&ญหาตามแนวทางท่ีวางไว�

4) การตรวจสอบและปรับปรุง

Page 6: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

3

ส9วนที่ 1 องค�ความรู�เดิม

เร่ือง การแก�ไขป#ญหาการขาดทุนในสหกรณ�ภาคการเกษตร ปB พ.ศ. 2558 ของสํานักงานสหกรณ�จังหวัดประจวบคีรีขันธ�

ความสําคัญของป#ญหา

ด�วยป&จจุบันสหกรณภาคการเกษตรท่ีอยูD ในความดูแลของสํานักงานสหกรณจังหวัดประจวบคีรีขันธ ท่ีมีการดําเนินธุรกิจ จํานวน31สหกรณ ประสบป&ญหาการขาดทุนอยDางตDอเนื่องจํานวน 13 สหกรณป&ญหาสําคัญในการดําเนินธุรกิจสินเชื่อท่ีพบ ได�แกD

1. ป&ญหาการติดตามและเรDงรัดหนี้ไมDมีประสิทธิภาพ 2. ป&ญหาลูกหนี้ผิดนัดชําระหนี้และลูกหนี้ค�างนาน 3. ป&ญหาด�านสภาพคลDอง 4. ป&ญหาความสามารถในการชําระหนี้ของสมาชิกในอนาคตลดลง 5. ป&ญหาการขาดทุนจากการดําเนินธุรกิจสินเชื่อ

ป&ญหาทุกป&ญหาดังกลDาวมีความเก่ียวข�องและมีความสัมพันธกัน สาเหตุของป&ญหาอาจมาจากป&ญหา ของสหกรณ ป&ญหาในสDวนของสมาชิกและป&ญหาอ่ืน ๆ ท่ีสDงผลตDอความสามารถในการชําระหนี้ของลูกหนี้ โดยเฉพาะอยDางยิ่ง เม่ือสหกรณมีการพิจารณาอนุมัติเงินกู�แล�ว หากเกิดป&ญหาในการติดตาม เรDงรัด ติดตามหนี้ไมDมีประสิทธิภาพเทDาท่ีควร เชDน ไมDมีผู�รับผิดชอบในการติดตามเรDงรัดหนี้ ไมDมีการเรDงรัดติดตามหนี้ตามข้ันตอนการปฏิบัติงาน หรือไมDมีการติดตDอสื่อสารเพ่ือสร�างความเข�าใจกับสมาชิกเก่ียวกับบทบาทหน�าท่ีความรับผิดชอบในฐานะลูกหนี้และในฐานะท่ีเป2นสมาชิกท่ีดี ป&ญหาท่ีตามมา คือ ป&ญหาลูกหนี้ผิดนัดชําระหนี้ เม่ือมีป&ญหาผิดนัดชําระหนี้ตDอเนื่องกัน โดยท่ีไมDมีการแก�ไขป&ญหา จะเกิดป&ญหาลูกหนี้ค�างนานในท่ีสุด และจะสDงผลโดยตรงตDอสภาพคลDองในการดําเนินงานของสหกรณลดลง ประกอบกับป&ญหาความสามารถในการชําระหนี้ในอนาคตของลูกหนี้ลดลง อันเนื่องมาจากต�นทุนการผลิตท่ีสูงข้ึน ราคาผลผลิตตกตํ่า คDาครองชีพท่ีสูงข้ึน พฤติกรรมการบริโภคท่ีต�องการความสะดวกสบายในชีวิตเพ่ิมข้ึน การมีหนี้สินหลายทาง หรือป&ญหาภัยธรรมชาติท่ีรุนแรง ได�สDงผลให�เกิดป&ญหาขาดทุนในธุรกิจสินเชื่อและขาดทุนในการดําเนินงานของสหกรณ

กลุDมสDงเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ สํานักงานสหกรณจังหวัดประจวบคีรีขันธ จึงมีแนวคิดท่ีจะนํารDองการแก�ไขป&ญหาสหกรณภาคการเกษตรท่ีประสบป&ญหาขาดทุน มีลูกหนี้ค�างนาน และประสบป&ญหาด�านธุรกิจ จํานวน 5 สหกรณ คือ สหกรณการเกษตรโรงสีข�าวพระราชทานอDาวน�อย จํากัด สหกรณการเกษตรบางสะพาน จํากัด สหกรณการเกษตรบางสะพานน�อย จํากัด สหกรณการเกษตรปราณบุรี จํากัด สหกรณการเกษตรห�วยสัตวใหญD จํากัด ซ่ึงต�องดําเนินการแก�ไขป&ญหาสหกรณท่ีประสบป&ญหาขาดทุน

Page 7: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

4

หรือลดการขาดทุนให�น�อยลงในป=บัญชี 2558โดยแนวความคิดในการแก�ไขป&ญหาการขาดทุนของสหกรณภาคการเกษตรนั้นต�องแก�ไขเป2นรายสหกรณ โดยใช�ข�อมูลพ้ืนฐานของสหกรณ และงบการเงิน เป2นเครื่องมือในการวิเคราะหป&ญหาในการดําเนินธุรกิจของสหกรณ เนื่องจากสหกรณภาคการเกษตรท้ัง 5 แหDง ประสบป&ญหาท่ีคล�ายกัน จึงสามารถนําวิธีการแลกเปลี่ยนเรียนรู� และเทคนิคตDาง ๆ ไปใช�ในการแก�ไขป&ญหา และขับเคลื่อนสหกรณให�ก�าวหน�าตDอไป โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือเป2นประโยชนสําหรับเจ�าหน�าท่ีสDงเสริมสหกรณในการ กํากับ แนะนํา สหกรณ/กลุDมเกษตร ท่ีจะใช�เป2นแนวทางปฏิบัติงานด�านสินเชื่อและการแก�ไขป&ญหาของลูกหนี้เงินให�กู�ผิดนัดชําระหนี้ และในการบริหารจัดการธุรกิจด�านสินเชื่อให�มีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน

ผลการวิเคราะห�การดําเนินงานของสหกรณ�

1.สหกรณ�การเกษตรโรงสีข�าวพระราชทานอ9าวน�อย จํากัด ข�อมูลพ้ืนฐาน

ป=บัญชี 31 มีนาคม 2557 สมาชิก 1,819 คน ทุนดําเนินงาน 5,498,264.68 บาท ปริมาณธุรกิจรวม 17,393,000.96 บาท ขาดทุนสุทธิ (79,800.87) บาท สDวนขาดแหDงทุน 4,586,920.11 บาท หนี้สินจากแหลDงเงินกู�ภายนอก 2,600,000.00 บาท

ป#ญหา 1. ลูกหนี้ผิดนัดชําระหนี้และลูกหนี้ค�างนานเกิน 2 ป= จํานวนมาก

2. สหกรณตั้งคDาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว�เต็มจํานวน 3. ปริมาณธุรกิจด�านการจัดหาสินค�ามาจําหนDายน�อยเม่ือเปรียบเทียบกับคDาใช�จDายในการดําเนินงาน 4. รายได�ของสหกรณไมDเพียงพอกับคDาใช�จDายท่ีเกิดข้ึน 5. บุคลากรสหกรณ ขาดความชํานาญในการทําธุรกิจจึงทําให�ธุรกิจสหกรณมีการเติบโตช�า 6. สหกรณไมDสามารถใช�ประโยชนจากเครื่องจักรและอุปกรณท่ีมีอยูDให�เกิดความคุ�มคDาตDอธุรกิจ

Page 8: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

5

แนวทางการพัฒนาและการฟMNนฟู

1. การเพ่ิมรายได�ธุรกิจจัดหาสินค�ามาจําหนDาย

ข�าวสาร ด�านความต�องการของผู�บริโภค

- สํารวจความต�องการของสมาชิกวDาบริโภคข�าว Brand ไหน มีคุณภาพอยDางไรแล�วนําไปปรับปรุงผลิตภัณฑของสหกรณ

- เพ่ิมจุดจําหนDายสินค�าในหมูDบ�าน ร�านค�า ร�านอาหารให�ท่ัวถึง - การสร�างผลิตภัณฑข�าวสารของสหกรณข้ึนมาเอง

ด�านราคา - สํารวจราคาข�าวสาร Brand อ่ืนในท�องตลาดเพ่ือนํามาต้ังราคาข�าวสารของสหกรณ - จัดโปรโมชั่นจําหนDายข�าวสารในราคาพิเศษกับสมาชิก

ด�านคุณภาพ - คุณภาพสินค�า สหกรณต�องจัดหาข�าวสารท่ีมีคุณภาพท่ีดีมาจําหนDาย - เชื่อมโยงเครือขDายสหกรณในจังหวัดประจวบคีรีขันธ

น้ํามันเช้ือเพลิง - จําหนDายน้ํามันท่ีมีคุณภาพ - ด�านราคาและประชาสัมพันธ มีการจัดโปรโมชั่นสDงเสริมการขายในแตDละเดือน - ปรับปรุงภูมิทัศนป&iมน้ํามันให�มีความโดดเดDน - จัดกลยุทธการจําหนDาย เชDน แจกน้ําด่ืม, ข�าวสาร 2. การติดตามเรDงรัดลูกหนี้ – สหกรณมีลูกหนี้ค�างนานเป2นจํานวนมากและมีการต้ังคDาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว�เต็มจํานวน ถ�าสหกรณสามารถติดตามเรDงรัดใช�ลูกหนี้มาชําระหนี้ได�จะถือเป2นรายได�ของสหกรณ 3. การลดคDาใช�จDาย - ลดคDาใช�จDายในการขนสDงข�าวสารโดยการเชื่อมโยงกับสหกรณการเกษตรบางสะพานน�อย - ลดคDาใช�จDายธุรกิจแปรรูปผลิตผลการเกษตร สหกรณไมDมีความชํานาญในการแปรรูปข�าวสาร ทําให�เกิดคDาใช�จDายจํานวนมากสหกรณควรปรับลดคDาใช�จDายลง เชDน ลดจํานวนคนงานให�เหมาะสมกับปริมาณงาน คDาลDวงเวลา และลดคDาใช�จDายอ่ืนๆ

Page 9: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

6

2.สหกรณ�การเกษตรบางสะพาน จํากัด

ข�อมูลพ้ืนฐาน

ป=บัญชี 31 มีนาคม 2556 สมาชิก858 คน ทุนดําเนินงาน 7,895,372.21 บาท ปริมาณธุรกิจรวม 3,571,916,132.59 บาท ขาดทุนสุทธิ 216,132.27 บาท

ป#ญหา 1. ลูกหนี้ผิดนัดชําระหนี้ 2. ดอกเบ้ียค�างรับ 3.สหกรณได�ตั้งคDาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว�เต็มจํานวน

แนวทางการพัฒนาและการฟMNนฟู

1. จัดประชุมกลุDมสมาชิกอยDางตDอเนื่องเพ่ือชี้แจงหลักการ วิธีการ อุดมการณสหกรณเพ่ือสร�างความศรัทธาในความเป2นเจ�าของสหกรณโดยใช�เวทีการประชุมกลุDมสํารวจความต�องการของสมาชิก

2. ติดตามเรDงรัดหนี้สินโดยออกเยี่ยมเยียนสมาชิกท่ีเป2นหนี้ ทําแผนเป2นรายเดือน (Action Plan) ลดดอกเบ้ียให�กับสมาชิกในบางกรณี

3. จําหนDายสินค�าให�กับสมาชิกในราคาถูกกวDาท�องตลาด 4. ประสานหนDวยงานท่ีอํานวยประโยชนแกDสหกรณ/สมาชิก มาดําเนินกิจกรรมในลักษณะการบูรณา

การ เชDน การอบรม การวิเคราะหดิน รDวมกับกรมพัฒนาท่ีดินหรือกรมวิชาการเกษตร ด�านวัสดุการเกษตรรDวมกับ ธ.ก.ส. เป2นต�น

3.สหกรณ�การเกษตรบางสะพานน�อย จํากัด

ข�อมูลพ้ืนฐาน

ป=บัญชี31 ธันวาคม 2556 มีสมาชิก1,792 คน ทุนดําเนินงาน 44,011,269.41 บาท ปริมาณธุรกิจรวม 147,696,609.01 บาท ขาดทุนสุทธิ 6,599,248.72 บาท สDวนขาดแหDงทุน 4,225,304.93 บาท

Page 10: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

7

ป#ญหา

1. ลูกหนี้ผิดนัดชําระหนี้ 2. ดอกเบ้ียค�างรับ 3.สหกรณได�ตั้งคDาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว�เต็มจํานวน 4. สินค�าคงเหลือท่ีมีอยูDไมDสามารถจําหนDายได�ในเวลาอันรวดเร็ว 5. มีความเสี่ยงเก่ียวกับน้ํามันเชื้อเพลิงขาดบัญชีและจากกการสูญระเหยตามสภาพ

แนวทางการพัฒนาและการฟMNนฟู

1. ปรับโครงสร�างการบริหารงานให�สอดคล�องกับปริมาณงานและผลงานอยDางเข�มข�น 2. จัดทําแผนการติดตามหนี้ค�างนาน และเรDงรัดติดตามการชําระหนี้ของลูกหนี้ (Action Plan) เป2น

ประจําทุกเดือน 3. ประชุมกลุDมสมาชิกเพ่ือสร�างความเข�าใจ การมีสDวนรDวม รับทราบความต�องการป&จจัยการผลิตจาก

สมาชิก และสร�างเครือขDายร�านค�ายDอย/ชุมชนเพ่ือเพ่ิมยอดจําหนDายของศูนยกระจายสินค�าในรูปค�าสDง เพ่ือเพ่ิมยอดจําหนDายของศูนยกระจายสินค�าในรูปค�าสDง สิ่งท่ีมุDงเน�นคือทํากิจกรรมให�เกิดการมีสDวนรDวมจากสมาชิกและสหกรณ โดยการทําจากจุดท่ีงDายไปหาจุดท่ียากกวDา เน�นการขยายผลครอบคลุมแทนการดําเนินงานของสหกรณ

4. สํารวจความต�องการของสมาชิกโดยการประชุมกลุDมเพ่ือนําเสนอราคาสินค�าให�สมาชิกพิจารณาในการซ้ือสินค�า เพ่ือลดสตnอกสินค�าท่ีมีอยูDและเพ่ิมยอดขาย โดยเน�นการค�าสDงกับกลุDมสมาชิกและสหกรณตDางๆ ในรูปแบบของศูนยกระจายสินค�า (CDC)

5. รักษาฐานลูกค�า/สมาชิกสหกรณ ในธุรกิจรวบรวมปาลมน้ํามันให�เหนียวแนDน ซ่ึงต�องใช�กลยุทธ จิตวิทยา การตอบแทนผลประโยชนด�านตDาง ๆ เพ่ือแขDงขันกับธุรกิจของเอกชนในพ้ืนท่ี

6. ประสานหนDวยงานท่ีอํานวยประโยชนกับสหกรณ/สมาชิกสหกรณมารDวมทํากิจกรรม เชDน บริษัทชุมพรอุตสาหกรรม จํากัด จัดอบรมการวิเคราะหดิน การใสDปุqยท่ีมีประสิทธิภาพ การเก็บเก่ียวปาลมท่ีเหมาะสม อบรมการกรีดยาง การทําปุqยสั่งตัด การเชื่อมโยงธุรกิจ น้ําปลา ข�าวสาร น้ําตาล กับสหกรณตDางจังหวัด และถึงกลุDมร�านค�ายDอยของสหกรณ เป2นต�น

7. การพัฒนาศักยภาพองคความรู� (Training) ให�กับผู�ตรวจสอบกิจการ คณะกรรมการ ฝsายจัดการแผนกตDางๆ ให�มีการกํากับตรวจสอบ/วัดผล/ปรับปรุงแผนธุรกิจเป2นประจําทุกเดือน เพ่ือลดความเสี่ยงตอนปลายป=

8. จัดทํา Mind Mapping ในการกระจายสินค�าอยDางเป2นระบบ 9. การเชื่อมโยงเครือขDายกับสหกรณภายในจังหวัด

Page 11: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

8

4.สหกรณ�การเกษตรปราณบุรี จํากัด

ข�อมูลพ้ืนฐาน

ป=บัญชี 30 มิถุนายน 2557 มีสมาชิก 537 คน ทุนดําเนินงาน 41,740,170.86 บาท ปริมาณธุรกิจรวม 18,935,475.61 บาท ขาดทุนสุทธิ 2,062,216.96 บาท

ป#ญหา 1. ลูกหนี้เงินกู� 2. ดอกเบ้ียเงินกู�ค�างรับ 3. คDาปรับค�างรับ 4. สหกรณได�ตั้งคDาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว�เต็มจํานวน

แนวทางการพัฒนาและการฟMNนฟู 1. สหกรณต�องจัดทําแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ดอกเบ้ียเงินให�กู�และคDาปรับค�างรับให�กลับมา

เป2นรายได� โดยมีเปLาหมายเป2นจํานวนเงินท่ีจะเรDงรัด ติดตามเป2นรายเดือนโดยเรDงดDวน 2. แยกอายุหนี้ท่ีผิดสัญญา แบDงเป2นระยะเวลาเกิน 1 ป= เกิน 5 ป= เกิน 10 ป=แยกลูกหนี้ตามกลุDม

สมาชิก มอบประธานกลุDมแตDละกลุDมรDวมกับฝsายจัดการวางแผนในการติดตามลูกหนี้ 3. นําเรื่องเข�าท่ีประชุมคณะกรรมการ เพ่ือรายงานผลความคืบหน�า และติดตามผล พร�อมท้ังแก�ไข

ป&ญหาอุปสรรคในการดําเนินการ เพ่ือให�การติดตามลูกหนี้มาชําระหนี้ได�อยDางรวดเร็ว 4. ประชุมกลุDม และนํากิจกรรมสํารวจความต�องการป&จจัยการผลิตเข�าท่ีประชุมกลุDม เชDน กิจกรรม

วิเคราะหดิน ปุqยสั่งตัด ท้ังนี้อาจประสานงานการวิเคราะหดินจากสถานีพัฒนาท่ีดินหรือกรมวิชาการเกษตรในพ้ืนท่ี

5.สหกรณ�การเกษตรห�วยสัตว�ใหญ9 จํากัด

ข�อมูลพ้ืนฐาน

ป=บัญชี31 มีนาคม 2557 มีสมาชิก 1,120 คน ทุนดําเนินงาน 8,912,409.31 บาท ปริมาณธุรกิจรวม 42,871,962.97 บาท ขาดทุนสุทธิ 455,401.79 บาท

Page 12: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

9

ป#ญหา

1. ลูกหนี้เงินกู� 2. ลูกหนี้การค�า 3. ดอกเบ้ียเงินกู�ค�างรับ 4. สหกรณได�ตั้งคDาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว�เต็มจํานวน

แนวทางการพัฒนาและการฟMNนฟู

1. เรDงรัดลูกหนี้เงินกู�ระยะสั้น-ปานกลางซ่ึงถูกต้ังคDาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว�เต็มจํานวนแล�วเข�ามาให�ได�มากท่ีสุด โดยการทําแผนปฏิบัติการเรDงรัดหนี้ (Action Plan) ใช�เป2นระยะๆ

2. เรDงรัดลูกหนี้การค�า ท่ีไมDได�เคลื่อนไหวในการชําระหนี้ ซ่ึงถูกต้ังคDาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว�เต็มจํานวนแล�วให�ได�มากท่ีสุด โดยการทําแผนปฏิบัติการเรDงรัดหนี้ (Action Plan) ใช�เป2นระยะๆ

สรุป จากการวิเคราะห�ผลการดําเนินงานของสหกรณ�ท้ัง ๕ สหกรณ� พบว9าป#ญหาท่ีเหมือนกันคือ ป#ญหาการติดตามและเร9งรัดหนี้ไม9มีประสิทธิภาพป#ญหาลูกหนี้ผิดนัดชําระหนี้และลูกหนี้ค�างนานทําให�เกิดการตั้งค9าเผ่ือหนี้สงสัยจะสูญไว�เต็มจํานวน จึงมีแนวทางในการติดตามเรDงรัดหนี้ค�างชําระ ดังนี้

1. เม่ือสมาชิกได�รับเงินไปแล�ว สหกรณ/กลุDมเกษตรกร ต�องบันทึกบัญชีลูกหนี้รายตัวให�เป2นป&จจุบันทุกครั้งท่ีมีการเคลื่อนไหว

2. สหกรณ/กลุDมเกษตรกรต�องสร�างความไว�วางใจให�สมาชิกเกิดความเชื่อม่ันหรือให�ความชDวยเหลือสมาชิกได�

3. สหกรณควรจัดทําฐานข�อมูลสมาชิกรายคน (ระบบ CPS) ซ่ึงจะเป2นข�อมูลประวัติ อาชีพ รายได� รายจDายพ้ืนท่ีทํากิน บุคคลในครัวเรือนและอ่ืน ๆ และปรับปรุงข�อมูลสมาชิกเป2นประจําทุกป=

4. ภายในเวลา 3 เดือน หลังจากวันท่ีสมาชิกได�รับเงินกู�ไปแล�ว สหกรณ/กลุDมเกษตรกร ต�องมอบหมายให�เจ�าหน�าท่ีไปตรวจสอบผลการใช�เงินกู�ของสมาชิกวDา เป2นไปตามวัตถุประสงคท่ีขอกู�หรือไมD หากพบวDา สมาชิกนั้น ๆ ใช�เงินกู�ผิดวัตถุประสงค สหกรณ/กลุDมเกษตรกร ต�องแจ�งเป2นลายลักษณอักษรภายใน 7 วันเพ่ือบอกเลิกสัญญาและเรียกเงินกู�คืน

5. หลังจากสมาชิกรับเงินกู�ไปแล�ว 6 เดือน สหกรณ/กลุDมเกษตรกร ต�องมอบหมายเจ�าหน�าท่ีไปติดตามผลการใช�เงินกู�ของสมาชิก กรณีท่ีสมาชิกกู�เงินระยะปานกลางหรือเงินกู�ระยะยาว ต�องจัดให�มีการตรวจติดตามอยDางน�อยป=ละ 2 ครั้ง

6. กDอนครบ กําหนดชําระ หนี้คืน 60 วัน สหกรณ/กลุDมเกษตรกร มีหนังสือแจ�งเตือนสมาชิกให�สDงชําระหนี้ตามกําหนด ซ่ึงเป2นการแจ�งเตือน ครั้งท่ี 1

Page 13: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

10

7. กDอนครบ กําหนดชําระหนี้คืน 30 วัน สหกรณ/กลุDมเกษตรกร มีหนังสือแจ�งเตือนสมาชิกให�สDงชําระหนี้ตามกําหนด ซ่ึงเป2นการแจ�งเตือน ครั้งท่ี 2

8. เม่ือสหกรณ/กลุDมเกษตรกร แจ�งเตือนกDอนครบกําหนดชําระครบ 2 ครั้งแล�ว หากสมาชิกไมDสามารถสDงชําระหนี้ได�เนื่องจากสาเหตุอันควรขอผDอนผัน สมาชิกมีสิทธิท่ีจะยื่นขอผDอนผันการชําระหนี้ตDอสหกรณ/กลุDมเกษตรกรได�

9. เม่ือหนี้ท่ีสมาชิกกู�ยืมใกล�จะครบกําหนดชําระหรือครบกําหนดชําระแล�ว หากสมาชิกไมDสามารถสDงชําระหนี้ท้ังหมดหรือบางสDวน ต�องติดตาม เรDงรัดให�สมาชิกสDงดอกเบ้ียเพ่ือไมDให�มีดอกเบ้ียค�าง

10. เม่ือสมาชิกค�างชําระเป2นเวลา 1 เดือน นับแตDวันท่ีครบกําหนดชําระ โดยไมDได�รับการผDอนผันหรือบอกเลิกสัญญาในกรณีท่ีทําผิดสัญญาหรือผิดวัตถุประสงค เพ่ือเรียกหนี้คืน สหกรณ/กลุDมเกษตรกร ทําหนังสือแจ�งให�สมาชิกชําระหนี้ (โนติส) ถึงสมาชิกทางไปรษณียตอบรับหรือสDงทาง อ่ืน ๆ ให�ถือวDาเป2นการแจ�งเตือนสมาชิก ครั้งท่ี 1

11. เม่ือสมาชิกผู�กู�ค�างชําระเป2นเวลา 1 เดือน นับแตDวันท่ีครบกําหนดชําระ สหกรณ/กลุDมเกษตรกร ต�องมีหนังสือแจ�งให�ผู�คํ้าประกันทุกคนทราบจํานวนหนี้แตDละสัญญาท่ีผู�คํ้าประกันแตDละคนต�องรับผิดชอบอยDางชัดเจน โดยแจ�งทางไปรษณียตอบรับ หรือหากเป2นหนี้ท่ีมีหลักประกันอ่ืนเชDน จํานองอสังหาริมทรัพยเป2นประกันให�แจ�งการบังคับจํานองไปพร�อมกับการแจ�งให�สมาชิกชําระหนี้ ให�ถือวDาเป2นการแจ�งเตือนผู�คํ้าประกัน ครั้งท่ี 1

12. เม่ือสมาชิกค�างชําระเป2นเวลา 2 เดือน นับแตDวันท่ีครบกําหนดชําระ โดยไมDได�รับการผDอนผันหรือบอกเลิกสัญญาในกรณีท่ีทําผิดสัญญาหรือผิดวัตถุประสงค เพ่ือเรียกหนี้คืน สหกรณ/กลุDมเกษตรกร ทําหนังสือแจ�งให�สมาชิกชําระหนี้ (โนติส) ถึงสมาชิกทางไปรษณียตอบรับหรือสDงทาง อ่ืน ๆ ให�ถือวDาเป2นการแจ�งเดือนสมาชิก ครั้งท่ี2

13. เม่ือสมาชิกผู�กู�ค�างชําระเป2นเวลา 2 เดือน นับแตDวันท่ีครบกําหนดชําระ สหกรณ/กลุDมเกษตรกร ต�องมีหนังสือแจ�งให�ผู�คํ้าประกันทุกคนทราบจํานวนหนี้แตDละสัญญาท่ีผู�คํ้าประกันแตDละคนต�องรับผิดชอบอยDางชัดเจน โดยแจ�งทางไปรษณียตอบรับ หรือหากเป2นหนี้ท่ีมีหลักประกันอ่ืนเชDน จํานองอสังหาริมทรัพยเป2นประกันให�แจ�งการบังคับจํานองไปพร�อมกับการแจ�งให�สมาชิกชําระหนี้ ให�ถือวDาเป2นการแจ�งเตือนผู�คํ้าประกัน ครั้งท่ี 2

14.ให�เจ�าหน�าท่ีผู�รับผิดชอบการติดตาม เรDงรัดหนี้ รายงานความเคลื่อนไหวหนี้ค�างชําระท่ีอยูDในความรับผิดชอบเป2นลายลักษณ อักษรตDอผู�จัดการ และคณะกรรมการดําเนินการทุกครั้งท่ีมีการประชุมหรือเป2นประจําทุกเดือน

Page 14: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

11

ส9วนที่ 2 บทวิเคราะห�และการกลั่นกรองต9อยอดองค�ความรู�

การแก�ไขป#ญหาการขาดทุนในสหกรณ�ภาคการเกษตร

ความสําคัญของป#ญหา

ด�วยป&จจุบันสหกรณภาคการเกษตรท่ีอยูD ในความดูแลของสํานักงานสหกรณจังหวัดประจวบคีรีขันธ ท่ีมีการดําเนินธุรกิจ และประสบป&ญหาการขาดทุนอยDางตDอเนื่องมีอยูDหลายสหกรณ

ป&ญหาดังกลDาวมีความเก่ียวข�องและมีความสัมพันธกัน สาเหตุของป&ญหาอาจมาจากป&ญหา ของสหกรณ ป&ญหาในสDวนของสมาชิกและป&ญหาอ่ืน ๆ ท่ีสDงผลตDอความสามารถในการชําระหนี้ของลูกหนี้ โดยเฉพาะอยDางยิ่ง เม่ือสหกรณมีการพิจารณาอนุมัติเงินกู�แล�ว หากเกิดป&ญหาในการติดตาม เรDงรัด ติดตามหนี้ไมDมีประสิทธิภาพเทDาท่ีควร เชDน ไมDมีผู�รับผิดชอบในการติดตามเรDงรัดหนี้ ไมDมีการเรDงรัดติดตามหนี้ตามข้ันตอนการปฏิบัติงาน หรือไมDมีการติดตDอสื่อสารเพ่ือสร�างความเข�าใจกับสมาชิกเก่ียวกับบทบาทหน�าท่ีความรับผิดชอบในฐานะลูกหนี้และในฐานะท่ีเป2นสมาชิกท่ีดี ป&ญหาท่ีตามมา คือ ป&ญหาลูกหนี้ผิดนัดชําระหนี้ เม่ือมีป&ญหาผิดนัดชําระหนี้ตDอเนื่องกัน โดยท่ีไมDมีการแก�ไขป&ญหา จะเกิดป&ญหาลูกหนี้ค�างนานในท่ีสุด และจะสDงผลโดยตรงตDอสภาพคลDองในการดําเนินงานของสหกรณลดลง ประกอบกับป&ญหาความสามารถในการชําระหนี้ในอนาคตของลูกหนี้ลดลง อันเนื่องมาจากต�นทุนการผลิตท่ีสูงข้ึน ราคาผลผลิตตกตํ่า คDาครองชีพท่ีสูงข้ึน พฤติกรรมการบริโภคท่ีต�องการความสะดวกสบายในชีวิตเพ่ิมข้ึน การมีหนี้สินหลายทาง หรือป&ญหาภัยธรรมชาติท่ีรุนแรง ได�สDงผลให�เกิดป&ญหาขาดทุนในธุรกิจสินเชื่อและขาดทุนในการดําเนินงานของสหกรณ

คณะทํางานฯ สํานักงานสหกรณจังหวัดประจวบคีรี ขันธ จึงมีแนวคิดท่ีจะนําเสนอกระบวนการในการแก�ไขป&ญหาการขาดทุนดังกลDาว ซ่ึงต�องดําเนินการแก�ไขป&ญหาสหกรณท่ีประสบป&ญหาขาดทุนหรือลดการขาดทุนให�น�อยลง โดยใช�กระบวนการในการแก�ป&ญหาซ่ึงกระบวนการท่ีทําให�ประสบผลสําเร็จในการแก�ป&ญหาควรมีข้ันตอน ดังนี้

Page 15: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

12

1) การวิเคราะห�และกําหนดรายละเอียดของป#ญหา ในการท่ีจะแก�ป&ญหาใดป&ญหาหนึ่งได�

นั้น สิ่งแรกท่ีต�องทําคือทําความเข�าใจเก่ียวกับถ�อยคําตDางๆ ในป&ญหา แล�วแยกป&ญหาให�ออกวDาอะไรเป2นสิ่งท่ีต�องหา แล�วมีอะไรเป2นข�อมูลท่ีกําหนด และมีเง่ือนไขใดบ�าง หลังจากนั้นจึงพิจารณาวDาข�อมูลและเง่ือนไขท่ีกําหนดให�นั้นเพียงพอท่ีจะหาคําตอบของป&ญหาได�หรือไมD ถ�าไมDเพียงพอ ให�หาข�อมูลเพ่ิมเติมเพ่ือท่ีจะสามารถแก�ไขป&ญหาได� ดังนี้

1.1การระบุข�อมูลเข�าได�แกD การพิจารณาข�อมูลและเง่ือนไขท่ีกําหนดมากับป&ญหา 1.2การระบุข�อมูลออกได�แกD การพิจารณาเปLาหมายหรือสิ่งท่ีต�องหาคําตอบหรือผลลัพธ 1.3การกําหนดวิธีประมวลผลได�แกD การพิจารณาวิธีหาคําตอบ หรือผลลัพธ

2) การวางแผนในการแก�ป#ญหา จากการทําความเข�าใจกับป&ญหาจะชDวยให�เกิดการคาดคะเนวDาจะใช�วิธีการใดในการแก�ป&ญหาเพ่ือให�ได�มาซ่ึงคําตอบ ประสบการณเดิมของผู�แก�ป&ญหาจะมีสDวนชDวยอยDางมาก ฉะนั้นในการเริ่มต�นจึงควรจะเริ่มด�วยการถามตนเองวDา “เคยแก�ป&ญหาในทํานองเดียวกันนี้มากDอนหรือไมD” ในกรณีท่ีมีประสบการณมากDอนควรจะใช�ประสบการณเป2นแนวทางในการแก�ป&ญหา สิ่งท่ีจะชDวยให�เราเลือกใช�ประสบการณเดิมได�ดีข้ึนคือ การมองดูสิ่งท่ีต�องการหา และพยายามเลือกป&ญหาเดิมท่ีมีลักษณะคล�ายคลึงกัน เม่ือเลือกได�แล�วก็เทDากับมีแนวทางวDาจะใช�ความรู�ใดในการหาคําตอบหรือแก�ป&ญหา โดยพิจารณาวDาวิธีการแก�ป&ญหาเดิมนั้นมีความเหมาะสมกับป&ญหาหรือไมD หรือต�องมีการปรับปรุงเพ่ือให�ได�วิธีการแก�ป&ญหาท่ีดีข้ึน ในกรณีท่ีไมDเคยมีประสบการณในการแก�ป&ญหาทํานองเดียวกันมากDอน ควรเริ่มจากการมองดู

Page 16: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

13

สิ่งท่ีต�องการหา แล�วพยายามหาวิธีการเพ่ือให�ได�ความสัมพันธระหวDางสิ่งท่ีต�องการหากับข�อมูลท่ีมีอยูD เม่ือได�ความสัมพันธแล�วต�องพิจารณาวDาความสัมพันธนั้นสามารถหาคําตอบได�หรือไมD ถ�าไมDได�ก็แสดงวDาต�องหาข�อมูลเพ่ิมเติมหรืออาจจะต�องหาความสัมพันธในรูปแบบอ่ืนตDอไป เม่ือได�แนวทางในการแก�ป&ญหาแล�วจึงวางแผนในการแก�ป&ญหาเป2นข้ันตอน

3) การดําเนินการแก�ป#ญหาตามแนวทางท่ีวางไว� เม่ือได�วางแผนแล�วก็ดําเนินการแก�ป&ญหา ระหวDางการดําเนินการแก�ป&ญหาอาจทําให�เห็นแนวทางท่ีดีกวDาวิธีท่ีคิดไว� ก็สามารถนํามาปรับเปลี่ยนได�

4) การตรวจสอบและปรับปรุงเม่ือได�วิธีการแก�ป&ญหาแล�วจําเป2นต�องตรวจสอบวDา วิธีการแก�ป&ญหาได�ผลลัพธถูกต�องหรือไมD

จากการดําเนินการตามกระบวนการดังกลDาวข�างต�น ประกอบกับการนําวิธีการแลกเปลี่ยนเรียนรู� และเทคนิคตDาง ๆ ไปใช�ในการแก�ไขป&ญหา จึงสามารถขับเคลื่อนสหกรณให�ก�าวหน�าตDอไป และเพ่ือเป2นประโยชนสําหรับเจ�าหน�าท่ีสDงเสริมสหกรณในการ กํากับ แนะนํา สหกรณ/กลุDมเกษตร ท่ีจะใช�เป2นแนวทางปฏิบัติงานการแก�ไขป&ญหาของสหกรณภาคการเกษตรให�มีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน ท้ังนี้ ป#ญหาการขาดทุนท่ีพบในการดําเนนิงานของสหกรณ�ภาคการเกษตรประกอบด�วย 2 ด�าน ดังนี้ 1. ด�านการดําเนินธุรกิจของสหกรณ� 5 ธุรกิจได�แก9 1.1. ธุรกิจจัดหาสินค�ามาจําหน9าย 1.2. ธุรกิจรวบรวมผลผลิต 1.3. ธุรกิจสินเช่ือหรือธุรกิจให�เงินกู� 1.4. ธุรกิจรับฝากเงิน 1.5. ธุรกิจการให�บริการและส9งเสริมอาชีพ

1.1 ธุรกิจจัดหาสินค�ามาจําหน9ายหรือธุรกิจการซ้ือคือ การจัดหาวัสดุอุปกรณทางการเกษตร เชDน ปุqย ยาปราบศัตรูพืช เมล็ดพันธุพืช และสิ่งจําเป2นอ่ืนๆ มาจําหนDายแกDสมาชิก

ป#ญหา ๑. ขาดการวางแผนในการสั่งซ้ือและจําหนDายสินค�า ๒. มีสินค�าคงเหลือจํานวนมาก ๓. สินค�าท่ีสหกรณจัดมาจําหนDายให�แกDสมาชิก มีมูลคDาเพียงเล็กน�อยเม่ือเทียบกับความต�องการซ้ือ

สินค�าท้ังหมดของสมาชิก ๔. การจัดหาสินค�ามาจําหนDายแกDสมาชิก ไมDได�มีการสํารวจความต�องการของสมาชิกเสียกDอน ทําให�

สินค�าบางรายการขายไมDได� เสื่อมคุณภาพ มีผลเสียตDอทุนหมุนเวียนของสหกรณ ๕. ธุรกิจเอกชนให�การบริการท่ีดีกวDาสหกรณ: ราคาถูกกวDา, มีของในเวลาท่ีต�องการ ๖. สินค�ามีจํานวนและชนิดท่ีจํากัด

Page 17: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

14

1.๒ ธุรกิจรวบรวมผลผลิตหรือธุรกิจขาย คือ การท่ีสมาชิกรวมกันเพ่ือให�มีอํานาจในการตDอรองมากข้ึน ไมDถูกเอาเปรียบจากพDอค�าในการรับซ้ือผลผลิต

ป&ญหา

๑. สภาวะเศรษฐกิจทําให�ราคาผลผลิตทางการเกษตรไมDคงท่ี ๒. ความไมDเชื่อม่ันของสมาชิกท่ีมีตDอสหกรณ ๓. สหกรณไมDสามารถรับซ้ือผลผลิตการเกษตรจากสมาชิกได�ตามเปLาหมาย ท้ังนี้เนื่องจากป&จจัยหลาย

อยDาง เชDน สหกรณขาดเงินทุนดําเนินงาน สมาชิกสหกรณไมDให�ความรDวมมือ ๔. สหกรณขาดอุปกรณการตลาด เชDน รถยนต โรงสี โกดังเก็บสินค�า เครื่องชั่ง ตวง วัด ท่ีได�

มาตรฐานและทันสมัย ท้ังนี้เนื่องจากขาดเงินทุนในการจัดหา ๕. ขาดข�อมูลขDาวสารทางด�านการตลาด: ข�อมูลน�อยและลDาช�า ๖. บุคลากรไมDมีความสามารถในด�านการตลาดท่ีดีพอ ๗. ขาดแคลนทุนในการดําเนินการซ้ือสินค�าจากสมาชิก

1.๓ ธุรกิจสินเช่ือหรือธุรกิจให�เงินกู�

ธุรกิจสินเชื่อหรือธุรกิจให�เงินกู� คือ สหกรณจัดหาเงินกู�ดอกเบ้ียตํ่ามาให�สมาชิกกู�ไปลงทุนเพ่ือการเกษตร หรืออ่ืนๆ ซ่ึงสหกรณจะพิจารณาจากแผนดําเนินการหรือแผนการใช�เงินกู�ของสมาชิกประกอบในการให�เงินกู�

ป#ญหา ๑. สหกรณมีลูกหนี้ผิดนัดชําระหนี้และลูกหนี้ค�างนานเกิน 2 ป= จํานวนมาก ๒. สหกรณตั้งคDาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว�เต็มจํานวน ๓ .ขาดการวิเคราะหลูกหนี้ในอดีต ทําให�สะสมเป2นหนี้ท่ีมีอายุหนี้เกิน 5 ป=และหมดอายุความ ๔. ขาดการติดตามหนี้ทําให�หนี้มีอายุหนี้ถึงหมดอายุความ และใกล�จะหมดอายุความ ๕. ขาดการวางแผนระดมเงินทุน ทําให�เงินทุนไมDเพียงพอในการบริหาร ๖. สมาชิกมีความต�องการกู�เงินจํานวนมากและต�องการได�รับเงินกู�เร็วข้ึน ๗. สมาชิกใช�เงินกู�ไมDครบ12 เดือน แตDต�องสDงคืนเพราะสัญญากู�กําหนดวันสิ้นป=การเงินเป2นวัน

ครบสัญญาสDงคืน ๘. ไมDมีหลักเกณฑท่ีแนDนอนในการกําหนดวงเงินกู� ทําให�มีการวิ่งเต�นผู�นําให�ชDวยเรื่องการกู�เงิน

และเป2นชDองวDางของการทุจริตเรียกร�องคDานายหน�า ๙. ละเลยในการพิจารณาหลักประกันเงินกู� ทําให�บังคับคดีแล�วหลักทรัพยไมDพอชําระหนี้ ๑๐. มีการยึดทรัพย ทําให�เป2นป&ญหาสังคม และตัดหนี้สูญทําให�สหกรณเสียผลประโยชน ๑๑. มีการตัดหนี้สูญ เพราะขาดการพิจารณาเรื่องหลักประกัน จากการใช�บุคคลคํ้าประกันเงินกู� ๑๒. ท่ีดินบางแปลงท่ีนํามาจํานองคํ้าประกันหนี้ เป2นท่ีดินท่ีไมDมีทางเข�าออก (ท่ีตาบอด) ทําให�

ขายยากและขาดทุนหลังจากท่ีสหกรณบังคับยึดทรัพยแล�วประกาศขาย ๑๓. สมาชิกไมDเข�าใจและไมDทราบหลักการปฏิบัติท่ีชัดเจน ๑๔. ในอดีตมีการแปลงหนี้โดยการนําต�นเงินและดอกเบ้ียรวมกันเป2นสัญญากู�ฉบับใหมD เป2นการ

สร�างภาระหนี้สินแกDสมาชิก และปลDอยให�เป2นหนี้หมดอายุความ

Page 18: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

15

๑๕. ละเลยการติดตามเรDงรัดหนี้ ทําให�หนี้หมดอายุความ ๑๖. ขาดการควบคุมและตรวจสอบความถูกต�อง ๑๗. ในอดีตไมDได�กําหนดเจ�าภาพรับผิดชอบงาน เชDน การแบDงเขตความรับผิดชอบ ประธานกลุDม

รับผิดชอบความถูกต�องของหลักประกัน กรรมการเงินกู�รับผิดชอบตามระเบียบสหกรณ 1๘. จํานวนเงินท่ีให�สมาชิกกู�ยืมน�อยเกินไปไมDเพียงพอตDอการดําเนินงาน ๑๙. สมาชิกไมDสDงชําระหนี้ได�ตามสัญญา ซ่ึงมีสาเหตุมาจากการประกอบการเกษตรท่ีไมDได�ผล ไมD

เข�าใจหลักการดําเนินธุรกิจของสหกรณดีพอ นําเงินกู�ไปใช�ไมDถูกต�องตามวัตถุประสงค ๒๐. ความต�องการสินเชื่อมีมากเกิดขีดความสามารถของสหกรณท่ีจะจัดหา ๒๑. ธ.ก.ส.กับสหกรณแขDงขันกันให�สินเชื่อกับเกษตรกร สหกรณเสียเปรียบ ๒๒. หนี้ค�างชําระของสมาชิกสูง ขาดแคลนเงินหมุนเวียนในการดําเนินการ

1.๔.ธุรกิจรับฝากเงิน คือ การสDงเสริมให�สมาชิกรู�จักและเห็นคุณคDาของการออมเงิน และเพ่ือ

เป2นการระดมทุนในสหกรณ

ป#ญหา ๑. ขาดความเชื่อม่ันของสมาชิก ๒. การรับฝากเงินจากบุคคลภายนอกท่ีไมDใชDสมาชิก 3. ประเภทเงินรับฝากไมDหลากหลาย ไมDนDาสนใจ ไมDสร�างแรงดึงดูดใจในการนําเงินมาฝาก 4. รูปแบบการให�บริการไมDทันสมัย ขาดความนDาเชื่อถือ ไมDเหมือนสถาบันการเงิน เชDน สมุดเงินฝากไมD

ใช�ระบบคอมพิวเตอร 5. ระบบการทํางานของเจ�าหน�าท่ีไมDมีความรัดคุม เชDน เจ�าหน�าท่ีรับฝากเงินและจัดทําหลักฐานเพียง

คนเดียวในทุกข้ันตอน ไมDมีการตรวจสอบความถูกต�องจากผู�มีอํานาจ 6. เจ�าหน�าท่ีเก็บรักษาสมุดเงินฝากไว�เองไมDได�คืนให�สมาชิก

1.๕ การให�บริการและส9งเสริมอาชีพ คือ สหกรณมีเจ�าหน�าท่ีท่ีมีความรู�ความสามารถคอยให�บริการแกDสมาชิก เชDน การให�คําแนะนําและบริการความสะดวกให�แกDสมาชิกท่ีมาติดตDอสหกรณ การให�คําแนะนําด�านการเงิน การให�คําแนะนําด�านการเกษตร การให�คําแนะนําในด�านอาชีพเสริม เป2นต�น

ป#ญหา ๑. เจ�าหน�าท่ีสหกรณขาดความรู�ความสามารถในการให�บริการแกDสมาชิก 2. สหกรณไมDมีเจ�าหน�าท่ีท่ีปฏิบัติงานให�ความรู� คําแนะนําแกDสมาชิก เพ่ือเพ่ิมพูนทักษะ ในการ

ประกอบอาชีพ 3. สหกรณไมDมีการกําหนดแผนงานการพัฒนาอาชีพด�านการเกษตรและอาชีพเสริมของสมาชิก 4. สหกรณไมDได�สํารวจความต�องการของสมาชิกในด�านการเกษตรและอาชีพเสริม 5. สหกรณไมDเป�ดให�บริการแนะนําการวางแผน การผลิต วิธีการผลิต และเทคนิคการเพ่ิมผลผลิตด�าน

การเกษตรให�สมาชิก

Page 19: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

16

6. สหกรณไมDได�หาตลาดรองรับสินค�าท่ีสมาชิกผลิตได� 7. สหกรณไมDมีงบประมาณสนับสนุนการดําเนินงานของกลุDม

2. ด�านการบริหารจัดการภายในองค�กร คือ กระบวนการปฏิบัติงานท่ีนําทรัพยากรขององคกรมาใช�ให�บรรลุวัตถุประสงคตามท่ีกําหนด โดยมีการจัดแบDงสDวนงาน วิธีปฏิบัติงาน ทําให�การดําเนินมีประสิทธิภาพและเป2นตามนโยบายท่ีผู�บริหารกําหนดแบDงได�เป2น 4 ด�าน ดังนี้

2.1 ด�านสมาชิก

2.2 ด�านฝsายจัดการ(เจ�าหน�าท่ี)

2.3 ด�านฝsายบริหาร (คณะกรรมการ)

2.4 ด�านผู�ตรวจสอบกิจการ

โครงสร�างของสหกรณ�ประเภทการเกษตร

กลุ9มสมาชิก กลุ9มสมาชิก กลุ9มสมาชิก

ฝWายบริหาร

ฝWายจัดการ

ท่ีประชุมใหญD

ผู�ตรวจสอบกิจการ

คณะกรรมการดําเนินการ

ผู�จัดการ

เจ�าหน�าท่ีธุรการ เจ�าหน�าท่ีสินเชื่อ เจ�าหน�าท่ีการเงิน เจ�าหน�าท่ีการตลาด เจ�าหน�าท่ีบัญชี

Page 20: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

17

2.1 ด�านสมาชิก ป#ญหา

1. เศรษฐกิจในครอบครัวและการประกอบอาชีพ 2. ความศรัทธาและการมีสDวนรDวม 3. ความซ่ือสัตย 4. กลุDมสมาชิกบริหารจัดการไมDมีประสิทธิภาพ

2.2 ด�านฝWายจัดการ(เจ�าหน�าท่ี) ป#ญหา

1. ความรู�ความสามารถในการบริหารจัดการ 2. ความรู�ความสามารถทางธุรกิจ 3. ความซ่ือสัตยในหน�าท่ี 4. เจ�าหน�าท่ีสหกรณปฏิบัติงานไมDตรงกับตําแหนDงหน�าท่ีท่ีรับผิดชอบ

2.3 ด�านฝWายบริหาร (คณะกรรมการ) ป#ญหา

1. ความรู�ความสามารถในการบริหาร 2. ความรู�ทางธุรกิจ 3. ความซ่ือสัตยในหน�าท่ี 4. เกิดการปลDอยประละเลยของฝsายบริหาร

2.4 ด�านผู�ตรวจสอบกิจการ ป#ญหา

1. ความรู�ด�านการบริหารจัดการ 2. ความรู�ด�านการเงินและบัญชี 3. ความซ่ือสัตยในหน�าท่ี 4. ผู�ตรวจสอบกิจการไมDได�เข�าตรวจตามอํานาจหน�าท่ี

Page 21: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

18

ส9วนที่ 3 การนําองค�ความรู�สู9การปฏิบัติและเกิดนวัตกรรมใหม9

แนวทางการแก�ไขป#ญหาท่ีพบในการดําเนินธรุกิจของสหกรณ�ภาคการเกษตร

1. ด�านดําเนินธุรกิจของสหกรณ� 5 ด�าน

1.1 ธุรกิจการซ้ือหรือธุรกิจจัดหาสินค�ามาจําหน9าย

แนวทางการแก�ไขป#ญหา

๑. มีการวางแผนในการสั่งซ้ือสินค�าและการจําหนDายสินค�า ๒. สํารวจความต�องการของสมาชิกโดยการประชุมกลุDมเพ่ือนําเสนอราคาสินค�าให�สมาชิกพิจารณาใน

การซ้ือสินค�า เพ่ือลดสตnอกสินค�าท่ีมีอยูDและเพ่ิมยอดขาย ๓. จัดโปรโมชั่นในการจําหนDายสินค�าราคาพิเศษในกับสมาชิก ๔. คัดเลือกสินค�าท่ีนํามาจําหนDายให�กับสมาชิกให�เป2นสินค�าดี มีคุณภาพ ๕. การเชื่อมโยงเครือขDายกับสหกรณภายในจังหวัด

1.๒ ธุรกิจขายหรือธุรกิจรวบรวมผลผลิต

แนวทางการแก�ไขป#ญหา

๑. สร�างความเชื่อม่ันตDอสมาชิกสหกรณ ๒. สร�างการมีสDวนรวมของสมาชิก ๓. สหกรณจะต�องมีเงินทุนพอเพียงในการรับซ้ือ ๔. มีตลาดขายสินค�า ๕. มีอุปกรณการตลาดท่ีพร�อม เชDน โกดังเก็บสินค�า ยานพาหนะ ๖. เจ�าหน�าท่ีสหกรณมีความรู�เรื่องธุรกิจการค�าและมีความซ่ือสัตย ๗. ต�องได�รับความรDวมมือจากสมาชิก

1.๓ ธุรกิจสินเช่ือหรือธุรกิจให�เงินกู�

แนวทางการแก�ไขป#ญหา

๑. แยกอายุหนี้ท่ีผิดสัญญา แบDงเป2นระยะเวลาเกิน 1 ป= เกิน 5 ป= เกิน 10 ป=แยกลูกหนี้ตามกลุDมสมาชิก มอบประธานกลุDมแตDละกลุDมรDวมกับฝsายจัดการวางแผนในการติดตามลูกหนี้

๒. จัดทําแผนการติดตามหนี้ค�างนาน และเรDงรัดติดตามการชําระหนี้ของลูกหนี้ (Action Plan) เป2นประจําทุกเดือน

๓. พิจารณาดําเนินคดีกับลูกหนี้ค�างนาน

Page 22: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

19

๔. ธุรกิจการให�เงินกู� ป&ญหาท่ีเกิดข้ึนคือ สมาชิกไมDสDงชําระเงินกู�คืนตามสัญญาแนวทางแก�ป&ญหา คือ

1. กDอนถึงกําหนดชําระหนี้ไมDน�อยกวDา 15 วัน สหกรณควรออกหนังสือเตือนให�สมาชิกนําเงินมาชําระหนี้ 2. ให�ประธานกลุDมชDวยออกติดตามเรDงรัดการชําระหนี้ 3. เจ�าหน�าท่ีกรมสDงเสริมสหกรณเรียกประชุมกลุDม เพ่ือเรDงรัดการชําระหนี้ 4. ออกติดตามถึงบ�านเรือนเป2นรายคน 5. ใช�หนังสือเรียกพบเป2นรายบุคคล ในกรณีท่ีสมาชิกยังฝsาฝ�นควรดําเนินคดีจนถึงท่ีสุด เพ่ือไมDให�เป2นตัวอยDางแกDสมาชิกคนอ่ืน ๆ กDอนจะให�เงินกู�แกDสมาชิกแตDละครั้งควรปฏิบัติดังนี้ - พิจารณาคําขอกู�โดยละเอียด - พิจารณาประวัติการชําระหนี้ - ตรวจสอบการใช� เ งินของสมาชิก กรณี ท่ีสมาชิกใช� เ งินกู� ไมD ถูกต�องตามวัตถุประสงคควรเรียกเงินกู�นั้นคืน

วิธีการติดตามเร9งรัดหนี้ค�างชําระ ดังนี้ 1. เม่ือสมาชิกได�รับเงินไปแล�ว สหกรณ/กลุDมเกษตรกร ต�องบันทึกบัญชีลูกหนี้รายตัวให�เป2นป&จจุบัน

ทุกครั้งท่ีมีการเคลื่อนไหว 2. สหกรณ/กลุDมเกษตรกรต�องสร�างความไว�วางใจให�สมาชิกเกิดความเชื่อม่ันหรือให�ความชDวยเหลือ

สมาชิกได� 3. สหกรณควรจัดทําฐานข�อมูลสมาชิกรายคน (ระบบ CPS) ซ่ึงจะเป2นข�อมูลประวัติ อาชีพ รายได�

รายจDายพ้ืนท่ีทํากิน บุคคลในครัวเรือนและอ่ืน ๆ และปรับปรุงข�อมูลสมาชิกเป2นประจําทุกป= 4. ภายในเวลา 3 เดือน หลังจากวันท่ีสมาชิกได�รับเงินกู�ไปแล�ว สหกรณ/กลุDมเกษตรกร ต�อง

มอบหมายให�เจ�าหน�าท่ีไปตรวจสอบผลการใช�เงินกู�ของสมาชิกวDา เป2นไปตามวัตถุประสงคท่ีขอกู�หรือไมD หากพบวDา สมาชิกนั้น ๆ ใช�เงินกู�ผิดวัตถุประสงค สหกรณ/กลุDมเกษตรกร ต�องแจ�งเป2นลายลักษณอักษรภายใน 7 วันเพ่ือบอกเลิกสัญญาและเรียกเงินกู�คืน

5. หลังจากสมาชิกรับเงินกู�ไปแล�ว 6 เดือน สหกรณ/กลุDมเกษตรกร ต�องมอบหมายเจ�าหน�าท่ีไปติดตามผลการใช�เงินกู�ของสมาชิก กรณีท่ีสมาชิกกู�เงินระยะปานกลางหรือเงินกู�ระยะยาว ต�องจัดให�มีการตรวจติดตามอยDางน�อยป=ละ 2 ครั้ง

6. กDอนครบ กําหนดชําระ หนี้คืน 60 วัน สหกรณ/กลุDมเกษตรกร มีหนังสือแจ�งเตือนสมาชิกให�สDงชําระหนี้ตามกําหนด ซ่ึงเป2นการแจ�งเตือน ครั้งท่ี 1

7. กDอนครบ กําหนดชําระหนี้คืน 30 วัน สหกรณ/กลุDมเกษตรกร มีหนังสือแจ�งเตือนสมาชิกให�สDงชําระหนี้ตามกําหนด ซ่ึงเป2นการแจ�งเตือน ครั้งท่ี 2

8. เม่ือสหกรณ/กลุDมเกษตรกร แจ�งเตือนกDอนครบกําหนดชําระครบ 2 ครั้งแล�ว หากสมาชิกไมDสามารถสDงชําระหนี้ได�เนื่องจากสาเหตุอันควรขอผDอนผัน สมาชิกมีสิทธิท่ีจะยื่นขอผDอนผันการชําระหนี้ตDอสหกรณ/กลุDมเกษตรกรได�

Page 23: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

20

9. เม่ือหนี้ท่ีสมาชิกกู�ยืมใกล�จะครบกําหนดชําระหรือครบกําหนดชําระแล�ว หากสมาชิกไมDสามารถสDงชําระหนี้ท้ังหมดหรือบางสDวน ต�องติดตาม เรDงรัดให�สมาชิกสDงดอกเบ้ียเพ่ือไมDให�มีดอกเบ้ียค�าง

10. เม่ือสมาชิกค�างชําระเป2นเวลา 1 เดือน นับแตDวันท่ีครบกําหนดชําระ โดยไมDได�รับการผDอนผันหรือบอกเลิกสัญญาในกรณีท่ีทําผิดสัญญาหรือผิดวัตถุประสงค เพ่ือเรียกหนี้คืน สหกรณ/กลุDมเกษตรกร ทําหนังสือแจ�งให�สมาชิกชําระหนี้ (โนติส) ถึงสมาชิกทางไปรษณียตอบรับหรือสDงทาง อ่ืน ๆ ให�ถือวDาเป2นการแจ�งเตือนสมาชิก ครั้งท่ี 1

11. เม่ือสมาชิกผู�กู�ค�างชําระเป2นเวลา 1 เดือน นับแตDวันท่ีครบกําหนดชําระ สหกรณ/กลุDมเกษตรกร ต�องมีหนังสือแจ�งให�ผู�คํ้าประกันทุกคนทราบจํานวนหนี้แตDละสัญญาท่ีผู�คํ้าประกันแตDละคนต�องรับผิดชอบอยDางชัดเจน โดยแจ�งทางไปรษณียตอบรับ หรือหากเป2นหนี้ท่ีมีหลักประกันอ่ืนเชDน จํานองอสังหาริมทรัพยเป2นประกันให�แจ�งการบังคับจํานองไปพร�อมกับการแจ�งให�สมาชิกชําระหนี้ ให�ถือวDาเป2นการแจ�งเตือนผู�คํ้าประกัน ครั้งท่ี 1

12. เม่ือสมาชิกค�างชําระเป2นเวลา 2 เดือน นับแตDวันท่ีครบกําหนดชําระ โดยไมDได�รับการผDอนผันหรือบอกเลิกสัญญาในกรณีท่ีทําผิดสัญญาหรือผิดวัตถุประสงค เพ่ือเรียกหนี้คืน สหกรณ/กลุDมเกษตรกร ทําหนังสือแจ�งให�สมาชิกชําระหนี้ (โนติส) ถึงสมาชิกทางไปรษณียตอบรับหรือสDงทาง อ่ืน ๆ ให�ถือวDาเป2นการแจ�งเดือนสมาชิก ครั้งท่ี 2

13. เม่ือสมาชิกผู�กู�ค�างชําระเป2นเวลา 2 เดือน นับแตDวันท่ีครบกําหนดชําระ สหกรณ/กลุDมเกษตรกร ต�องมีหนังสือแจ�งให�ผู�คํ้าประกันทุกคนทราบจํานวนหนี้แตDละสัญญาท่ีผู�คํ้าประกันแตDละคนต�องรับผิดชอบอยDางชัดเจน โดยแจ�งทางไปรษณียตอบรับ หรือหากเป2นหนี้ท่ีมีหลักประกันอ่ืนเชDน จํานองอสังหาริมทรัพยเป2นประกันให�แจ�งการบังคับจํานองไปพร�อมกับการแจ�งให�สมาชิกชําระหนี้ ให�ถือวDาเป2นการแจ�งเตือนผู�คํ้าประกัน ครั้งท่ี 2

14. ให�เจ�าหน�าท่ีผู�รับผิดชอบการติดตาม เรDงรัดหนี้ รายงานความเคลื่อนไหวหนี้ค�างชําระท่ีอยูDในความรับผิดชอบเป2นลายลักษณ อักษรตDอผู�จัดการ และคณะกรรมการดําเนินการทุกครั้งท่ีมีการประชุมหรือเป2นประจําทุกเดือน

ข้ันตอนในการแก�ไขและพัฒนาธุรกิจสินเช่ือใน 2 ระยะ ควรดําเนินการดังนี้ ระยะท่ี 1 แผนการแก�ไขป&ญหาหนี้สินของสหกรณ ควรมีข้ันตอนดําเนินการ ดังนี้ 1. การวิเคราะหผลการดําเนินธุรกิจของสหกรณ โดยการ - วิเคราะหลูกหนี้, ประเภทลูกหนี้, ระยะเวลาการชําระหนี้, ประวัติการชําระหนี้ สอดคล�องกับรายได�ของสมาชิกหรือไมD - วิเคราะหผลกระทบท่ีเกิดจากธุรกิจสินเชื่อ เชDน ภัยธรรมชาติท่ีเกิดข้ึนในแตDละป=หรือฤดูกาล - วิเคราะหประสิทธิภาพในการติดตามเรDงรัดสินเชื่อของสหกรณเป2นอยDางไร มีการติดตามอยDางตDอเนื่องและเป2นระบบหรือไมD

Page 24: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

21

2. การวิเคราะหสภาพท่ัวไปของสมาชิก - วิเคราะหรายได�ของสมาชิก - วิเคราะหการใช�สินเชื่อ(เงินกู�) ของสมาชิกถูกต�องตามวัตถุประสงคหรือไมD - วิเคราะหประวัติการชําระหนี้ของสมาชิกรายตัว - หลักประกันสมาชิกรายตัว 3. วางแผนในการแก�ไขป&ญหาสินเชื่อ (หนี้สิน) ของสมาชิก 3.1 การวางแผนในการเรDงรัดหนี้สินเดิมอยDางเป2นระบบ โดยการ - กําหนดเปLาหมาย (แผน) ในการเรDงรัดหนี้สิน - จัดทําแผนในการเรDงรัดหนี้สิน โดยเรียงลําดับความเสี่ยงของหนี้สิน โดยทําแผนในการเรDงรัดหนี้สินตามอายุหนี้ท่ีเกิดข้ึน เชDน หนี้ขาดอายุความจํานวนก่ีราย หนี้สินอายุภายใน 10 ป= จํานวนก่ีราย และหนี้สินภายใน 5 ป= จํานวนก่ีราย - จัดทําแผนเรDงรัดหนี้สินรายคน แยกตามประเภทหนี้ (1) หนี้ขาดอายุความ (2) หนี้ภายในอายุความ - มอบหมายหน�าท่ีความรับผิดชอบให�ฝsายจัดการดําเนินการ ในบางสหกรณอาจให�ประธานกลุDมชDวยในการติดตามด�วย - มีการติดตามประเมินผลการดําเนินการเรDงรัดหนี้สินในท่ีประชุมคณะกรรมการทุกเดือน 3.2 กําหนดแผนจัดทําโครงการเสริมรายได�ให�กับสมาชิก กรณีเกิดป&ญหาด�านอาชีพ เชDน เกิดภัยธรรมชาติ โดยดําเนินการดังนี้ - จัดประชุมกลุDมสมาชิกท่ีมีป&ญหาไมDสามารถสDงชําระหนี้ได� ซ่ึงเกิดจากป&ญหาภัยธรรมชาติ จะสDงเสริมกิจกรรมอะไรเพ่ือให�เกิดรายได�กับสมาชิก เพ่ือบรรเทาป&ญหาการครองชีพหรือหารายได�สDงชําระหนี้ - ให�สมาชิกรDวมกันคิดในการจัดกิจกรรมโครงการตามความต�องการของสมาชิก - ให�ฝsายจัดการจัดทําโครงการพร�อมงบประมาณเพ่ือเสนอคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการ - มอบฝsายจัดการเป2นผู�รับผิดชอบโครงการ - ดําเนินการประเมินผลโครงการเป2นประจําทุกเดือนในท่ีประชุมคณะกรรมการ ระยะท่ี 2 แผนปLองกันไมDให�เกิดหนี้เสียในอนาคต (แผนพัฒนาธุรกิจสินเชื่อ) มีข้ันตอนในการดําเนินการดังนี้

Page 25: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

22

1. จัดทําแผนปฏิบัติงานประจําป=และแผนงบประมาณรายรับ-รายจDาย 2. จัดทําแผนธุรกิจสินเชื่อโดยเฉพาะ โดยจัดทําแผนปฏิบัติงานและจัดทําแผนงบประมาณเฉพาะธุรกิจสินเชื่อ 3. ติดตามผลการปฏิบัติงานของสินเชื่อเป2นรายเดือน 4. ตรวจสอบและปรับปรุงระเบียบวDาด�วยเงินกู�และดอกเบ้ียเงินกู�ให�สอดคล�องกับภาวะเศรษฐกิจในป&จจุบัน 5. จัดอบรมคณะกรรมการเงินกู� หรือคณะกรรมการ เพ่ือให�มีความรู�ด�านการพิจารณาเงินกู� ด�านหลักประกันเงินกู� และระเบียบวDาด�วยเงินกู�และดอกเบ้ียเงินกู�อยDางตDอเนื่อง 6. คณะกรรมการเงินกู�สุDมตรวจสอบการใช�เงินกู�ของสมาชิกในพ้ืนท่ี 7. จัดทีมงานเพ่ือให�ความรู�กับสมาชิกในด�านหลักเกณฑการกู�เงิน การใช�เงินกู� และวินัยท่ีดีในการเป2นลูกหนี้กDอนจDายเงินกู� 8. มีโครงการจัดชั้นลูกหนี้สมาชิกท่ีมีผลการชําระหนี้อยูDในเกณฑดีควรมีการลดอัตราดอกเบ้ียเงินกู�ให� โดยมีการกําหนดหลักเกณฑการจัดชั้นลูกหนี้

1.๔.ธุรกิจรับฝากเงิน

แนวทางการแก�ไขป#ญหา

๑. สร�างการมีสDวนรวมของสมาชิก ๒. ควรหาวิธีการชักจูงให�สมาชิกนําเงินมาฝากไว�กับสหกรณเพ่ิมข้ึน เชDน จัดหารางวัลประจําป=ให�แกD

สมาชิกท่ีนําเงินมาฝากกับสหกรณอยDางสมํ่าเสมอ 3. ออกแบบประเภทเงินฝากให�มีความหลากหลาย มีความพิเศษในแตDละประเภท ผลตอบแทน

แตกตDางกัน เพ่ือเป2นทางเลือกให�สมาชิก สร�างแรงดึงดูดใจในการนําเงินมากฝากท่ีสหกรณ 4. ปรับเปลี่ยนการให�บริการให�ทันสมัย มีความนDาเชื่อถือ เทDาทันสถาบันการเงิน 5. การรับฝากเงินและจัดทําหลักฐานการรับฝาก ต�องมีการตรวจสอบความถูกต�องจากผู�มีอํานาจ

ทุกครั้ง 6. ให�สมาชิกเก็บรักษาสมุดเงินฝากไว�เอง ห�ามฝากไว�กับเจ�าหน�าท่ีสหกรณ

1.๕ การให�บริการและส9งเสริมอาชีพ แนวทางการแก�ไขป#ญหา

๑. จัดให�มีการอบรมเพ่ือเพ่ิมเติมความรู�ความสามารถในการให�บริการแกDสมาชิก ๒. ประสานหนDวยงานท่ีอํานวยประโยชนแกDสหกรณ/สมาชิก มาดําเนินกิจกรรมในลักษณะ

การบูรณาการ เชDน การให�ความรู�ด�านอุดมการณ หลักการ วิธีการสหกรณ รDวมกับ

Page 26: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

23

สํานักงานสหกรณจังหวัด, การอบรมวิเคราะหดิน รDวมกับกรมพัฒนาท่ีดินหรือกรมวิชาการเกษตร , ด�านการเงิน รDวมกับ ธ.ก.ส. เป2นต�น

3. สหกรณควรจัดให�มีการอบรมให�ความรู�แกDสมาชิกสหกรณในด�านท่ีสมาชิกมีความสนใจ 4. สหกรณควรมีเจ�าหน�าท่ีผู�ปฏิบัติงานให�ความรู� คําแนะนําแกDสมาชิก เพ่ือเพ่ิมพูนทักษะ ในการ

ประกอบอาชีพ 5. สหกรณควรกําหนดแผนงานการพัฒนาอาชีพด�านการเกษตรและอาชีพเสริมของสมาชิก 6. สหกรณควรสํารวจความต�องการของสมาชิกในด�านการเกษตรและอาชีพเสริม 7. สหกรณเป�ดให�บริการแนะนําการวางแผน การผลิต วิธีการผลิต และเทคนิคการเพ่ิมผลผลิต

ด�านการเกษตรให�สมาชิก 8. สหกรณวางแผนหาตลาดรองรับสินค�าท่ีสมาชิกผลิตได� 9. สหกรณควรจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการดําเนินงานของกลุDม

2. ด�านการบริหารจัดการภายในองค�กร

แนวทางในการแก�ไขป#ญหา

“คําวDา สหกรณ แปลวDา การทํางานรDวมกัน การทํางานรDวมกันนี้ลึกซ้ึงมาก เพราะวDาจะต�องรDวมมือกันในทุกด�าน ท้ังในด�านงานการท่ีทําด�วยรDางกาย ท้ังในด�านงานการท่ีทําด�วยสมอง และงานการท่ีทําด�วยใจ ทุกอยDางนี้ขาดไมDได�ต�องพร�อม..การสหกรณนี้ถ�าเข�าใจมีแล�วก็เห็นได�วDาเป2นวิธีทางเดียวท่ีจะทําให�มีความเจริญก�าวหน�าของประเทศได�...”

พระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจ�าอยูDหัว เม่ือวันท่ี 11 พฤษภาคม 2526

ณ ศาลาดุสิดาลัย

การบริหารจัดการภายในองคกรสหกรณภาคการเกษตรจะต�องมุDงเน�นในเรื่อง การพัฒนาศักยภาพของบุคลากร 4 ฝsายดังนี้

2.1 กลุDมสมาชิก 2.2 ฝsายจัดการของสหกรณ 2.3 คณะกรรมการดําเนินการ 2.4 ผู�ตรวจสอบกิจการ

Page 27: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

24

2.1 กลุ9มสมาชิก

การแนะนําสDงเสริมกลุDมสมาชิกให�มีการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพควรมีแนวทาง ดังนี้ (1.) กลุDมสมาชิกศึกษาทําความเข�าใจเก่ียวกับอุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ (2.) กลุDมมีการสํารวจและจัดทําข�อมูลกลุDม (3.) กลุDมมีการกําหนด กฎ กติกาของกลุDม และมีการประชุมกลุDมอยDางน�อยป=ละ 1 ครั้ง (4.) กลุDมต�องมีการเลือกต้ังประธานกลุDม และเลขานุการกลุDม โดยมุDงเน�นผู�มีความสมัครใจ

เสียสละ ทํางานเพ่ือสDวนรวม (5.) มีการสํารวจ/สอบถามความต�องการของสมาชิกในกลุDม พร�อมดําเนินการตามความ

ต�องการของสมาชิก เน�นให�สมาชิกมีสDวนรDวมในกิจกรรมตDาง ๆ ของกลุDมและของสหกรณ เชDนงานศพ งานบวช เป2นต�น และมีการบันทึกรายงานการประชุม

2.2ฝWายจัดการของสหกรณ�

มีหน�าท่ีปฏิบัติงานตามตําแหนDงท่ีได�รับการแตDงต้ัง โดยปฏิบัติตามแผนงาน ระเบียบมติท่ีประชุมใหญDและมติท่ีประชุมคณะกรรมการท่ีกําหนดไว� รวมท้ังรายงานผลการปฏิบัติงาน ป&ญหาอุปสรรค ตDอท่ีประชุมคณะกรรมการประจําเดือน โดยจะต�องมีการควบคุม การรับเงิน การจDายเงิน การเก็บรักษาเงิน การจัดทําบัญชี การบริหารงานสินเชื่อ การบริหารธุรกิจจัดหาสินค�ามาจําหนDาย การรวบรวมผลผลิต การรับฝากเงิน ฯลฯ อยDางมีประสิทธิภาพ ท้ังนี้อยูDในการกํากับงานของผู�จัดการสหกรณ

2.3 คณะกรรมการดําเนินการ ท่ีมาของคณะกรรมการดําเนินการของสหกรณภาคการเกษตร มาจากการเลือกต้ังจากท่ีประชุม

ใหญDสมาชิก ควรเลือกจากประธานกลุDมสมาชิกเพ่ือประสิทธิภาพในการเชื่อมตDอระหวDางนโยบายของสหกรณสูDกลุDมสมาชิกให�ทันตDอการบริหารและบริการการจัดการใด ๆ

ตามพระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ. 2542 มาตรา 51 กําหนดให�คณะกรรมการดําเนินการ เป2นผู�ดําเนินกิจการและเป2นผู�แทนสหกรณในกิจกรรมอ่ืน ๆ เก่ียวกับบุคคลภายนอก เพ่ือการนี้คณะกรรมการดําเนินการสหกรณจะมอบหมายให�กรรมการคนหนึ่งหรือหลายคน หรือผู�จัดการทําการแทนก็ได� ท้ังนี้ ให�อยูDภายใต�กฎหมาย ข�อบังคับ ระเบียบ มติท่ีประชุมใหญD และมติท่ีประชุมคณะกรรมการกําหนด

ท้ังนี้ คณะกรรมการดําเนินการจะทําหน�าท่ีแทนสมาชิก ในการกําหนดนโยบายเพ่ือการบริหารงานสหกรณ ควบคุมดูแล รักษาผลประโยชนตDาง ๆ ของสหกรณ ติดตามการดําเนินงานของสหกรณให�เป2นไปตามเปLาหมายท่ีกําหนดไว� และติดตามควบคุมคณะทํางานของฝsายจัดการ โดยอาศัยเครื่องมือรายงานและงบทดลองประจําเดือน โดยคณะกรรมการจะต�องศึกษาข�อบังคับ และระเบียบตDาง ๆ ของสหกรณอยDางถDองแท�และเข�าใจเพ่ือเป2นกรอบไว�ใช�ในการปฏิบัติขององคกร ซ่ึงอาจจัดลําดับความสําคัญไว�ดังนี้

1. พระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ. 2542 2. ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ 3. ข�อบังคับของสหกรณ 4. ระเบียบของสหกรณ 5. มติท่ีประชุมใหญD และมติท่ีประชุมคณะกรรมการดําเนินการ

Page 28: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

25

2.4 ผู�ตรวจสอบกิจการสหกรณ�

ผู�ตรวจสอบกิจการสหกรณ เป2นสDวนหนึ่งของบุคลากรท่ีมีหน�าท่ีเก่ียวกับกระบวนการกํากับงานสหกรณให�เป2นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ ข�อบังคับ ระเบียบตDาง ๆ ของสหกรณ โดยรDวมถึงมติท่ีประชุมใหญDและมติของท่ีประชุมคณะกรรมการดําเนินการ โดยท่ีประชุมใหญDควรเลือกจากผู�มีความรู�ความเข�าใจและประสบการณด�านตDาง ๆ กลDาวคือ ด�านกฎหมาย ด�านบัญชี ด�านกํากับงานการเงิน พร�อมท้ังเข�าตรวจสอบกิจการของสหกรณเป2นระยะ ๆ อยDางน�อยเดือนละ 1 ครั้ง เพ่ือขับเคลื่อนฝsายบริหารและฝsายจัดการสหกรณให�อยูDในกรอบวิธีปฏิบัติ เป2นการค�านน้ําหนักในการปฏิบัติงานแทนมวลสมาชิก

Page 29: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

26

ส9วนที่ 4บทสรุปและข�อเสนอแนะ

สหกรณภาคการเกษตร คือ องคกรของเกษตรกรด�านต�นน้ํา รวมตัวกันจัดต้ังข้ึนและ จดทะเบียนเป2นนิติบุคคลตDอนายทะเบียนสหกรณตามกฎหมายวDาด�วยการสหกรณ เป2นหนDวยเศรษฐกิจรูปแบบหนึ่ง ท่ีมีบทบาทท่ีสําคัญทางเศรษฐกิจและสังคม โดยมีจุดมุDงหมายเพ่ือให�สมาชิกดําเนินกิจกรรมรDวมกันและชDวยเหลือซ่ึงกันและกัน เพ่ือแก�ไขความเดือดร�อนในการประกอบอาชีพของสมาชิกและชDวยยกฐานะความเป2นอยูDของสมาชิกให�ดีข้ึน

สหกรณภาคการเกษตรของจังหวัดประจวบคีรีขันธ มีท้ังสิ้น 35 สหกรณ ประสบป&ญหาการดําเนินธุรกิจขาดทุน จํานวน 11 สหกรณ คิดเป2นร�อยละ 31.43 สาเหตุเกิดจากป&ญหาการดําเนินธุรกิจของสหกรณท่ีขาดองคความรู� ความเข�าใจในการดําเนินธุรกิจ ขาดการใสDใจจากผู�บริหารและฝsายจัดการ ประกอบกับเจ�าหน�าท่ีสDงเสริมสหกรณหDางเหิน ขาดการกํากับงานให�เป2นไปตามแผนกลยุทธของสหกรณ การขาดทุนของสหกรณภาคการเกษตรยDอมสDงผลตDอความเชื่อม่ันของมวลสมาชิก

ข�อเสนอแนะ

1. การปลูกฝ&งจิตสํานึกความเป2น “สหกรณ” ให�กับสมาชิกและบุคลากรของสหกรณโดยการให�ความรู�เก่ียวกับอุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณอยDางเข�มข�นและจริงจัง เพ่ือนําไปสูDการปฏิบัติตามจุดมุDงหมายของสหกรณท่ีมุDงหวังเพ่ือให�มวลสมาชิกได�อยูDดีกินดี มีคุณภาพชีวิตท่ีดี ท้ังทางด�านเศรษฐกิจและสังคม

2. สหกรณเป2นองคกรของสมาชิก ท่ีดําเนินงานโดยสมาชิก และทําเพ่ือสมาชิก สหกรณควรสนับสนุน สDงเสริม และกระตุ�นให�สมาชิกมีสDวนรDวมในการดําเนินธุรกิจในทุกประเภท เพ่ือผลประโยชนของตัวสมาชิกเอง ซ่ึงจะสDงผลให�การดําเนินงานของสหกรณเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล สร�างความเข�มแข็งแกDสหกรณอยDางยั่งยืน

3. จัดชั้นแบDงเกรดสมาชิกสหกรณ เพ่ือประโยชนในการให�บริการตอบแทนแกDสมาชิกในแตDละกลุDมชั้นหรือแตDละเกรด เพ่ือสร�างมาตรฐานความเป2นธรรมในหมูDสมาชิกสหกรณ

4. ประชุมกลุDมสมาชิกอยDางน�อยป=ละ 2 ครั้ง เพ่ือชี้แจงการดําเนินธุรกิจของสหกรณ เป2นการสร�างความเชื่อม่ันตDอองคกรของตนเอง และสร�างความมีสDวนรDวมของสมาชิก (Active Member) ให�รDวมกิจกรรมตDาง ๆ ของสหกรณ

5. ติดอาวุธทางป&ญญาให�กับคณะกรรมการบริหารของสหกรณในเรื่องการศึกษาระเบียบข�อบังคับของสหกรณ เพ่ือใช�เป2นเครื่องมือในการกํากับติดตามการทํางานระหวDางฝsายจัดการของสหกรณ และสมาชิกสหกรณ

Page 30: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

27

6. เพ่ิมและพัฒนาศักยภาพของฝsายจัดการ ต้ังแตDผู�จัดการ พนักงานแผนกตDาง ๆ ของสหกรณ ให�มีกลไกการทํางาน การควบคุมงาน การประเมินผลเป2นประจําทุกเดือนอยDางมืออาชีพ โดยมีการตอบแทนการปฏิบัติงานของพนักงานตามประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของงานแตDละแผนก เพ่ือเป2นขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงาน

7. เพ่ิมและพัฒนาศักยภาพของผู�ตรวจสอบกิจการสหกรณ ให�มีการตรวจสอบ กํากับอยDางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เป2นการคานอํานาจและรักษาผลประโยชนระหวDางคณะกรรมการ ฝsายจัดการ และสมาชิกสหกรณ ให�มีความสมดุล และเป2นไปตามวัตถุประสงคของสหกรณ

8. เจ�าหน�าท่ีสDงเสริมสหกรณจะต�องเป2นพ่ีเลี้ยงในการสอนแนะ กํากับงานท้ังมวลของสหกรณ เพ่ือให�เกิดสมดุลและเป2นธรรมระหวDางคณะกรรมการ ฝsายจัดการ และสมาชิกสหกรณ โดยมุDงเน�นการดําเนินธุรกิจให�เป2นไปตามวัตถุประสงคของการจัดต้ังสหกรณ

9. เชื่อมโยงเครือขDายระหวDางสหกรณตDอสหกรณ และระหวDางสหกรณกับเอกชน ในรูปแบบประชารัฐ เพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู�ในการดําเนินธุรกิจ เน�นสร�างภูมิคุ�มกันและลดความเสี่ยง

Page 31: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

28

เอกสารอ�างอิง

กลุDมสDงเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ,2558“การแก�ไขป#ญหาการขาดทุนในสหกรณ�ภาคการเกษตร” สํานักงานสหกรณจังหวัดประจวบคีรีขันธ

Page 32: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

29

ภาคผนวก

แผนฟMNนฟูสหกรณ�ขาดทุน

Page 33: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

30

แผนฟMNนฟูสหกรณ�ขาดทุน

ข�อมูลพื้นฐาน ป#ญหาการขาดทุน แนวทางการพัฒนาและฟMNนฟู 1.สหกรณ�ผู�เลี้ยงกุ�งลุ9มน้ําสามร�อยยอด - ปราณบุรี จํากัด ป=บัญชี 31 มีนาคม 2558 สมาชิก 267 คน ทุนดําเนินงาน 24,202,766.77 บาท ปริมาณธุรกิจรวม2503080.00 บาท ขาดทุนสุทธิ464862.50 บาท

- สมาชิกสหกรณประสบป&ญหาเรื่องโรคกุ�ง (EMS) ทําให�ไมDสามารถชําระหนี้ได� ณ วันสิ้นป=มีลูกหนี้ 112 ราย จํานวน 12,801,136.54 บาท รายจDายยังมีเทDาเดิมแตDรายได�หายไป

- สDงเสริมปรับเปลี่ยนจากการเลี้ยงกุ�งในระบบใหมDและให�สหกรณเพิ่มชDองทางการตลาดโดยการติดตDอหาตลาดจําหนDาย - เรDงรัดลูกหนี้ที่ยังมีประสิทธิภาพจากการประกอบอาชีพอื่นๆ ให�ชําระหนี้ตDอสหกรณ - นํารถบรรทุกห�องเย็นมาใช�ประโยชนกับธุรกิจสหกรณอยDางคุ�มคDาและมีประสิทธิภาพ - ลดคDาใช�จDายตDางๆ ที่ไมDจําเป2นลง

2.สหกรณ�การเกษตรหมู9บ�านรวมไทย จํากัด ป=บัญชี 31 มีนาคม 2556 ทุนดําเนินงาน4209205.76บาท ขาดทุนสุทธิ1614997.92 บาท

- มีการทุจริตปลอมแปลงลายมือชื่อสมาชิกกระทําธุรกรรมทางการเงินกับสหกรณและนําเงินสดไปใช�สDวนตัวของพนักงานบัญชีในป= 2555 สหกรณอยูDระหวDางการดําเนินการทางกฎหมาย ธุรกิจสินเชื่อ : ณ วันสิ้นป=มีลกูหนี้คงเหลือ 152 ราย 3,390,955.50 บาท มีลูกหนี้ผิดนัดชําระหนี้ 83 ราย 1,695955.50 บาท ดอกเบี้ยค�างรับ 400,593.36 บาท คDาปรับค�างรับ 53,675 บาท สหกรณได�ตั้งคDาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญลูกหนี้เงินให�กู� จํานวน 1,367,145.05 บาท

- รักษาฐานลูกค�าน้ํามันไว�คงเดิม - ประชุมกลุDมสมาชิกเพื่อชี้แจงป&ญหาและแนวทางแก�ไขเพื่อฟ�iนฟูและสร�างความเชื่อมั่นเรียกศรัทธาจากการประชุมกลุDมสมาชิก - เรDงรัดติดตามลูกหนี้ให�ชําระหนี้ตามกําหนดสัญญา - ติดตามการแก�ไขการทุจริตทั้งทางแพDงและทางอาญาอยDางตDอเนื่อง

Page 34: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

31

3.สหกรณ�การเกษตรบางสะพาน จํากัด ป=บัญชี 31 มีนาคม 2556 ทุนดําเนินงาน 7895372.21บาท ปริมาณธุรกิจรวม3571916132.59 บาท ขาดทุนสุทธิ216132.27 บาท

ธุรกิจสินเชื่อ : ณ วันสิ้นป=มีลกูหนี้คงเหลือ 266 ราย 4,871,130.24 บาท มีลูกหนี้ผิดนัดชําระหนี้ 261 ราย 4,559,130.24 บาท ดอกเบี้ยค�างรับ 3,873,734.10 บาท สหกรณได�ตั้งคDาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว�เต็มจํานวน - สหกรณมีการทุจริตโดยผู�จัดการคนเดิม และได�มีการนําเอกสารบางสDวนไปด�วย ทําให�สหกรณไมDมีเอกสารใบการบันทึกบัญชีได�อยDางเพียงพอ จึงไมDสามารถป�ดบัญชีได� - สหกรณไมDมีเจ�าหน�าที่ จึงไมDมีการดําเนินธุรกิจ

- ประชุมกลุDมสมาชิกเพื่อชี้แจงป&ญหาและแนวทางแก�ไขเพื่อฟ��นฟูและสร�างความเชื่อมั่นเรียกศรัทธาจากการประชุมกลุDมสมาชิก - เรDงรัดให�สหกรณสามารถป�ดบัญชี ณ วันที่ 31 มีนาคม 2558 และ 2559 ได� โดยให�มีการประสานงานระหวDางสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณประจวบคีรีขันธ สํานักงานสหกรณจังหวัดประจวบคีรีขันธ และสหกรณการเกษตรบางสะพาน จํากัด ให�ป�ดบัญชีได�แบบมีเงื่อนไข - แจ�งความดําเนินคดี/ออกหมายจับเจ�าหน�าที่ที่ทําการทุจริต - จัดทําแผนการดําเนินธุรกิจของสหกรณ - สอบทานหนี้ 100% - พิจารณาดําเนินธุรกิจหรือให�บริษัทอื่นเชDาป&iมน้ํามัน - พิจารณาให�บริษัทเอกชนเชDาพื้นที่ลานปาลม แผนการดําเนินธุรกิจของสหกรณ�

1. เป�ดป&iมน้ํามัน 2. ประสานงานบริษัทปุqย ในการนําสินค�ามา

จําหนDายให�แกDสมาชิก 3. บริหารงานโกดังให�เกิดประโยชน/รายได�

โดยการให�เชDา 4. ประสานงานบริษัทเอกชนให�มาเป�ดลาน

ปาลม

Page 35: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

32

4.สหกรณ�การเกษตรบางสะพานน�อย จํากัด ป=บัญชี 31 ธันวาคม 2558 มีสมาชิก 1,764 คน ทุนดําเนินงาน37811943.34 บาท ปริมาณธุรกิจรวม65495749.86บาท ขาดทุนสุทธิ4822389.05บาท ขาดทุนสะสม22642702.99 บาท สDวนขาดแหDงทุน13914372.71บาท

ธุรกิจสินเชื่อ : ณ วันสิ้นป=มีลกูหนี้คงเหลือ 527 ราย เป2นเงินจํานวน 28,196,876 บาท ดอกเบี้ยเงินให�กู�ค�างรับ 9,026,435.67 บาท คDาปรับเงินให�กู�ค�างรับ 1,335,121.05 บาท สหกรณได�ตั้งคDาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว�แล�วเต็มจํานวน ธุรกิจจัดหาสินค�ามาจําหน9าย : ลูกหนี้การค�าคงเหลือ 84 ราย จํานวนเงิน 6,033661.57 บาท - ลูกหนี้สDวนใหญDของสหกรณเป2นหนี้ที่ไมDกDอให�เกิดรายได�ประกอบกับสหกรณมีต�นทุนขาย/บริการ ที่สูง สินค�าคงเหลือที่มีอยูDไมDสามรถจําหนDายได�ในเวลาอันรวดเร็ว มีความเสี่ยงเกี่ยวกับน้ํามันเชื้อเพลิงขาดบัญชีและจากกการสูญระเหยตามสภาพ - การบริหารจัดการภายในองคกรไมDมีประสิทธิภาพ - เงินยืมทดรองของสหกรณ ณ วันที่ 31 มี.ค. 59 จํานวน 3,315,762 บาท ไมDมีระเบียบรองรับและไมDมีวัตถุประสงคการใช�ที่ชัดเจน - สหกรณไมDปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญาเครดิตเงินสดกับ ธกส.

- ประชุมกลุDมสมาชิกเพื่อชี้แจงป&ญหาและแนวทางแก�ไขเพื่อฟ��นฟูและสร�างความเชื่อมั่นเรียกศรัทธาจากการประชุมกลุDมสมาชิก - ปรับโครงสร�างการบริหารงานให�สอดคล�องกับปริมาณงานและผลงานอยDางเข�มข�น - จัดทําแผนการติดตามหนี้ค�างนาน และเรDงรัดติดตามการชําระหนี้ของลูกหนี้ (Action Plan) เป2นประจําทุกเดือน - สหกรณมีแผนการใช�ประโยชนจากพื้นที่วDางของสหกรณโดยการให�เชDาพื้นที่ - สํารวจความต�องการของสมาชิกโดยการประชุมกลุDมเพื่อนําเสนอราคาสินค�าให�สมาชิกพิจารณาในการซื้อสินค�า เพื่อลดสตnอกสินค�าที่มีอยูDและเพิ่มยอดขาย โดยเน�นการค�าสDงกับกลุDมสมาชิกและสหกรณตDางๆ ในรูปแบบของศูนยกระจายสินค�า (CDC) - ปรับปรุงการบริหารจัดการภายในของสหกรณ - นําข�อสังเกตของผู�สอบบัญชีไปเป2นแนวทางในการวางแผนยุทธศาสตรของสหกรณ - จัดทําสัญญาลูกหนี้เงินยืมทดรองให�ครบถ�วย โดยมีกําหนดการชําระหนี้เป2นรายเดือนที่ชัดเจน - ติดตามเรDงรัดลูกหนี้เงินยืมทดรองให�ชําระเสร็จสิ้นภายใน 31 ธ.ค. 60

Page 36: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

33

- จัดทําแผนกู�เงินและชําระเงินรDวมกับ ธกส. ในแนวทางที่ปฏิบัติได�เพื่อลดภาระดอกเบี้ยเงินกู�กับ ธกส. ลง - นํารถบรรทุกหกล�อมาใช�ประโยชนกับธุรกิจสหกรณอยDางคุ�มคDาและมีประสิทธิภาพ

5.สหกรณ�การเกษตรห�วยสัตว�ใหญ9 จํากัด ป=บัญชี 31 มีนาคม 2558 มีสมาชิก 1,127 คน ทุนดําเนินงาน 10006900.21 บาท ปริมาณธุรกิจรวม43527187.72 บาท ขาดทุนสุทธิ282428.65 บาท

สหกรณมีลูกหนี้เงินให�กู� 134 ราย เป2นเงิน 4,375,824.36 บาท เป2นลูกหนี้ผิดนัดชําระหนี้ 81 ราย จํานวน 1,530,994.36 บาท ดอกเบี้ยเงินให�กู�ค�างรับ 1,155,903บาท

- เรDงรัดลูกหนี้เงินกู�ระยะสั้น-ปานกลาง ซึ่งถูกตั้งคDาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว�เต็มจํานวนแล�วเข�ามาให�ได�มากที่สุด โดยการทําแผนปฏิบัติการเรDงรัดหนี้ (Action Plan) ใช�เป2นระยะๆ - เรDงรัดลูกหนี้การค�า ที่ไมDได�เคลื่อนไหวในการชําระหนี้ ซึ่งถูกตั้งคDาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว�เต็มจํานวนแล�วให�ได�มากที่สุด โดยการทําแผนปฏิบัติการเรDงรัดหนี้ (Action Plan) ใช�เป2นระยะๆ

6.สหกรณ�นิคมบางสะพาน จํากัด ป=บัญชี 31 ธันวาคม 2558 มีสมาชิก 2,606 คน ทุนดําเนินงาน 678354.37บาท ปริมาณธุรกิจรวม7170712.56บาท ขาดทุนสุทธิ192740.92 บาท

ธุรกิจสินเชื่อ : ณ วันสิ้นป=มีลกูหนี้คงเหลือ 95 ราย 1,183,089 บาท ดอกเบี้ยเงินให�กู�ค�างรับ 3,775,321 บาท คDาปรับเงินให�กู�ค�างรับ 761,107 บาท สหกรณได�ตั้งคDาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว�เต็มจํานวนแล�ว

- ติดตามการชําระหนี้อยDางเครDงครัด - สDงเสริมให�เพิ่มปริมาณธุรกิจด�านการจัดหาสินค�ามาจําหนDาย - สDงเสริมให�มีการจัดประชุมกลุDมสมาชิกตาม นโยบาลกรมสDงเสริมสหกรณเพื่อชี้แจงหลักการ วิธีการ อุดมการณสหกรณ สร�างศรัทธาในความเป2นเจ�าของสหกรณ - ปรับปรุงภูมิทัศนป&iมน้ํามันพร�อมสร�างโปรโมชั่นให�กับ

Page 37: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

34

สมาชิกผู�มาใช�บริการให�เพิ่มขึ้น - สหกรณมีรายได�จากคDาเชDาอาคารร�านค�า จํานวน 364,700 บาท และคDาเชDาสถานที่องคการโทรศัพท จํานวน 90,800 บาท - ทําแผนพัฒนาทางด�านธุรกิจให�มีความชัดเจนเป2นรายเดือน

7.สหกรณ�การเกษตรโรงสีข�าวพระราชทานอ9าวน�อย จํากัด ป=บัญชี 31 มีนาคม 2559 ทุนดําเนินงาน5189558.7 บาท ปริมาณธุรกิจรวม 13411478.32 บาท ขาดทุนสุทธิ288713.26บาท สDวนขาดแหDงทุน

ธุรกิจจัดหาสินค�ามาจําหน9าย : ณ วันสิ้นป=มีลูกหนี้การค�าคงเหลือ 119 ราย จํานวน 1,005,668 บาท ตั้งคDาเผือหนี้สงสัยจะสูญไว� จํานวน 424,573.55 บาท ในจํานวนนี้เป2นลูกหนี้การค�าค�างนานเกิน 2 ป= จํานวน 413,109 บาท ซึ่งตั้งคDาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว�เต็มจํานวนแล�ว ธุรกิจแปรรูปผลิตผลการเกษตรและการผลิตสินค�า : สหกรณไมDมีการรวบรวมข�าวเปลือก แตDมีการสีข�าวเปลือก จํานวน 37,241 บาท มีคDาใช�จDายในการผลิตและคDาใช�จDายเฉพาะธุรกิจที่ตัดเป2นคDาใช�จDายทุกป= มากกวDารายได�จากการขายผลิตภัณฑที่ผลิตได�

- จัดประชุมกลุDมสมาชิกอยDางตDอเนื่องเพื่อชี้แจงหลักการ วิธีการ อุดมการณสหกรณเพื่อสร�างความศรัทธาในความเป2นเจ�าของสหกรณโดยใช�เวทีการประชุมกลุDมสํารวจความต�องการป&จจัยการผลิตและสํารวจสมาชิกที่ขาดคุณสมบัติตามระเบียบของสหกรณเพื่อปรับปรุงข�อมูลพื้นฐานให�เป2นป&จจุบัน - จัดทําโปรโมชั่นเพื่อสDงเสริมให�สมาชิกมาใช�บริการป&iมน้ํามัน - รักษาฐานลูกค�าสหกรณเดิมและสร�างเครือขDายสหกรณผู�ผลิตข�าวสารตDางจังหวัดที่มีคุณภาพและราคายุติธรรม นํามาบริการให�กับสหกรณในจังหวัดประจวบคีรีขันธ - นํารถบรรทุกหกล�อมาใช�ประโยชนกับธุรกิจสหกรณอยDางคุ�มคDาและมีประสิทธิภาพ

Page 38: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

35

8.สหกรณ�ชาวไร9หนองปุหลก จํากัด ป=บัญชี 30 มิถุนายน 2558 ทุนดําเนินงาน 733918.78 บาท ปริมาณธุรกิจรวม91797.18บาท ขาดทุนสุทธิ37933.17บาท

ธุรกิจสินเชื่อ : ในระหวDางป=ไมDได�จDายเงินกู�ให�แกDสมาชิก ณ วันสิ้นป=ลูกหนี้ จํานวน 455,882.29 บาท ดอกเบี้ยเงินให�กู�ค�างรับ จํานวน 337,232.01 บาท คDาปรับ 29,273.56 บาท ได�ตั้งคDาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว�ทั้งจํานวนแล�ว ธุรกิจจัดหาสินค�ามาจําหน9าย : มีลูกหนี้การค�าคงเหลือ ณ วันสิ้นป= 16 ราย จํานวน 186,603 บาท และคDาปรับค�างรับ จํานวน 123,500.31 บาท เป2นลูกหนี้ค�างนานเกิน 2 ป= ทั้งจํานวน ได�ตั้งคDาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว�ทั้งจํานวนแล�ว ธุรกิจรับฝากเงิน : ระหวDางป=ไมDได�รับฝาก สหกรณต�องรับภาระดอกเบี้ยจDาย 237.18 - การดําเนินงานของสหกรณประธานกรรมการเป2นผู�ดําเนินการเพียงผู�เดียว ไมDเป2นไปตามหลักการควบคุมภายในที่ดี

- ติดตามการชําระหนี้อยDางเครDงครัด - สDงเสริมให�เพิ่มปริมาณธุรกิจด�านการจัดหาสินค�ามาจําหนDาย

9.สหกรณ�การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค�า ธ.ก.ส.ประจวบคีรีขันธ� จํากัด ปBบัญชี 31 มีนาคม 2559 ทุนดําเนินงาน23114584.13บาท ปริมาณธุรกิจรวม380294583.75บาท ขาดทุนสุทธิ769470.85บาท

ธุรกิจจัดหาสินค�ามาจําหนDาย : มีลูกหนี้สินค�าขาดบัญชี จํานวน 1,557,192.04 บาท คDาปรับค�างรับ จํานวน 124,040.38 บาท มีการตั้งคDาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว�เต็มจํานวนแล�ว

- ติดตามการชําระหนี้อยDางเครDงครัด - สDงเสริมให�เพิ่มปริมาณธุรกิจด�านการจัดหาสินค�ามาจําหนDาย

Page 39: การจัดการองค ความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง การ ...km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_9406682893.pdf · การเกษตรปราณบุรี

36

10. สหกรณกองทุนสวนยางรDอนทองพัฒนา จํากัด บัญชี 31 มีนาคม 2558 ทุนดําเนินงาน23114584.13บาท ปริมาณธุรกิจรวม380294583.75บาท ขาดทุนสุทธิ769470.85บาท

- สหกรณรวบรวมผลิตผลยางพาราจากสมาชิกและบุคคลภายนอก เป2นเงิน 11,103,607 บาท แตDมีต�นทุนการซื้อมากกวDายอดขายและคDาใช�จDายเฉพาะธุรกิจเพิ่มขึ้น - สภาพแวดล�อมทางการเมืองและเศรษฐกิจ สDงผลกระทบตDอราคายางพาราและการตรวจสอบคุณภาพที่ไมDได�มาตรฐานทําให�ถูกตัดราคายางพาราแผDนดิบ - ธุรกิจจัดหาสินค�ามาจําหนDาย : จํานวน 63,825 บาท ลดลงจากป=กDอน60,950 บาท

- กํากับควบคุมการรวบรวมผลผลิตให�มีความโปรDงใส - สDงเสริมให�เพิ่มปริมาณธุรกิจด�านการจัดหาสินค�ามาจําหนDาย