ิทยำ นิพธ์้ีเป็ส่วห่ึงของกำร...

115
ปัจจัยทำนำยสัมพันธภำพระหว่ำงบิดำวัยรุ่นกับบุตรวัยทำรก อำรี ฉอ้อนโฉม วิทยำนิพนธ์นี ้เป็นส่วนหนึ ่งของกำรศึกษำตำมหลักสูตรพยำบำลศำสตรมหำบัณฑิต สำขำวิชำกำรพยำบำลเด็ก คณะพยำบำลศำสตร์ มหำวิทยำลัยบูรพำ สิงหำคม 2557 ลิขสิทธิ ์เป็นของมหำวิทยำลัยบูรพำ

Transcript of ิทยำ นิพธ์้ีเป็ส่วห่ึงของกำร...

  • ปัจจยัท ำนำยสัมพนัธภำพระหวำ่งบิดำวยัรุ่นกบับุตรวยัทำรก

    อำรี ฉออ้นโฉม

    วทิยำนิพนธ์น้ีเป็นส่วนหน่ึงของกำรศึกษำตำมหลกัสูตรพยำบำลศำสตรมหำบณัฑิต สำขำวชิำกำรพยำบำลเด็ก

    คณะพยำบำลศำสตร์ มหำวทิยำลยับูรพำ สิงหำคม 2557

    ลิขสิทธ์ิเป็นของมหำวทิยำลยับูรพำ

  • ประกาศคุณูปการ วทิยานิพนธ์ฉบบัน้ีส าเร็จลงไดด้ว้ยความเมตตาจากรองศาสตราจารย ์ดร.นุจรี ไชยมงคล ประธานกรรมการท่ีปรึกษาหลกั และผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.ยนีุ พงศจ์ตุรวทิย ์กรรมการท่ีปรึกษา ซ่ึงใหค้วามกรุณาช้ีแนะแนวทาง ขอ้คิดเห็นและขอ้บกพร่องต่าง ๆ ท่ีเป็นประโยชน์ในการท าวทิยานิพนธ์ทุกขั้นตอนดว้ยความเมตตาเอาใจใส่ ตลอดจนสนบัสนุนใหผู้ว้จิยัอดทนมุ่งมัน่ตั้งใจท่ีจะท าวทิยานิพนธ์ใหส้ าเร็จลุล่วง แมบ้างคร้ังท่ีผูว้จิยัเกิดความทอ้แท ้ท่านไดใ้หก้ าลงัใจและความเอ้ืออาทร ท าใหเ้กิดพลงัในการท่ีเดินกา้วไปขา้งหนา้เพื่อความส าเร็จของตนเอง ผูว้จิยัรู้สึกซาบซ้ึงเป็นอยา่งยิง่ จึงขอกราบขอบพระคุณท่านเป็นอยา่งสูงไว ้ณ โอกาสน้ี ขอขอบพระคุณคณาจารยใ์นสาขาวชิาการพยาบาลเด็ก คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิยาลยับูรพาทุกท่านท่ีใหค้วามรู้ ค าช้ีแนะ และใหก้ าลงัใจในการท าวทิยานิพนธ์คร้ังน้ี รวมถึงรุ่นพี่และเพื่อน ๆ ในสาขาการพยาบาลเด็กทุกคน ท่ีใหก้ าลงัใจจนกระทัง่วิทยานิพนธ์ฉบบัน้ีสมบูรณ์ ขอบพระคุณคณะพยาบาลศาสตร์ สาขาวชิาการพยาบาลเด็ก มหาวทิยาลยับูรพา ท่ีให้โอกาสผูว้จิยัไดเ้ขา้รับการศึกษาในหลกัสูตรพยาบาลศาสตรมหาบณัฑิต และคุณวฒันา เภทพอ่คา้ หวัหนา้งานกุมารเวชกรรม ท่ีเป็นผูจุ้ดประกายในการศึกษาต่อในคร้ังน้ี เพื่อประโยชน์ต่อผูว้จิยัและวชิาชีพพยาบาล ในการกา้วหนา้สู่การเป็นพยาบาลผูเ้ช่ียวชาญในการดูแลเด็ก ขอบพระคุณผูอ้ านวยการโรงพยาบาลเสนา กุมารแพทย ์หวัหนา้พยาบาล หวัหนา้สาธารณสุขอ าเภอเสนา หวัหนา้โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพต าบล ในเขตอ าเภอเสนา และพี่ ๆ นอ้ง ๆ สาธารณสุขในเขตอ าเภอเสนา รวมทั้งเจา้หนา้ท่ีท่ีเก่ียวขอ้งของทุกหน่วยงาน ท่ีใหค้วามกรุณา ตลอดจนกลุ่มตวัอยา่งทุกท่านท่ีใหค้วามร่วมมือ ตั้งใจ สนบัสนุน และเปิดโอกาสใหผู้ว้จิยัเขา้ไปท าวทิยานิพนธ์ในคร้ังน้ี สุดทา้ยน้ี ขอขอบคุณคู่สมรสและครอบครัวของขา้พเจา้ ท่ีใหโ้อกาสมาศึกษาต่อและเป็น ก าลงัใจในยามท่ีทอ้แท ้หรือเม่ือพบอุปสรรคต่าง ๆ ขอบใจลูก ๆ ท่ีเป็นเด็กดี ท าใหข้า้พเจา้ไม่เป็นห่วง ส่งผลใหป้ระสบความส าเร็จในการศึกษาคร้ังน้ี

    อารี ฉออ้นโฉม

  • 54921242: สาขาวชิา: การพยาบาลเด็ก; พย.ม. (การพยาบาลเด็ก) ค าส าคญั: สัมพนัธภาพ/ บิดาวยัรุ่น/ การรับรู้บทบาทการเป็นบิดา/ ความสัมพนัธ์ของคู่สมรส/ พื้นฐานอารมณ์/ ทารก อารี ฉออ้นโฉม: ปัจจยัท านายสัมพนัธภาพระหวา่งบิดาวยัรุ่นกบับุตรวยัทารก (PREDICTORS OF ATTACHMENTBETWEEN ADOLESCENT FATHERS AND THEIR INFANTS) คณะกรรมการควบคุมวทิยานิพนธ์: นุจรี ไชยมงคล, Ph.D., ยนีุ พงศจ์ตุรวิทย,์ Ph.D., 106 หนา้. พ.ศ. 2557. การวจิยัแบบหาความสัมพนัธ์เชิงท านายคร้ังน้ี มีวตัถุประสงคเ์พื่อศึกษาปัจจยัท านายสัมพนัธภาพระหวา่งบิดาวยัรุ่นกบับุตรวยัทารก กลุ่มตวัอยา่งใชว้ธีิการสุ่มอยา่งง่ายจากบิดาวยัรุ่นและบุตรวยัทารกจ านวน 96 คู่ มารับบริการท่ีคลินิกสุขภาพเด็กดี ในโรงพยาบาลเขตอ าเภอเสนา จงัหวดัพระนครศรีอยธุยา เก็บรวบรวมขอ้มูลระหวา่งเดือนตุลาคม ถึงเดือนธนัวาคม พ.ศ. 2556 เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการวจิยัเป็นแบบสอบถาม จ านวน 6 ชุด คือ สัมพนัธภาพระหวา่งบิดาวยัรุ่นกบับุตรวยัทารก การรับรู้บทบาทการเป็นบิดา ความสัมพนัธ์ของคู่สมรส พื้นฐานอารมณ์ของทารก การไดรั้บการสนบัสนุนทางสังคม มีค่าความเช่ือมัน่แอลฟ่าครอนบาค เท่ากบั .84, .92, .90, .89 และ .82 ตามล าดบั และแบบสังเกตลกัษณะส่ิงแวดลอ้มภายในบา้น มีค่าคูเดอร์ริชาร์ดสัน (KR-20) ไดเ้ท่ากบั .76 วเิคราะห์ขอ้มูลโดยใชค้่าความถ่ี ร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน พิสัย ค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพนัธ์ของเพียร์สัน และการวเิคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจยัพบวา่ คะแนนเฉล่ียสัมพนัธภาพระหวา่งบิดาวยัรุ่นกบับุตรวยัทารก เท่ากบั114.65 (S.D. = 6.16) ซ่ึงอยูใ่นระดบัสูง การรับรู้บทบาทการเป็นบิดา ความสัมพนัธ์ของคู่สมรส การไดรั้บการสนบัสนุนทางสังคม และพื้นฐานอารมณ์ของทารก มีความสัมพนัธ์กบัสัมพนัธภาพระหวา่งบิดาวยัรุ่นกบับุตรวยัทารก อยา่งมีนยัส าคญัทางสถิติ (r = .425, p < .01; r = .427, p < .01; r = .220, p < .05 และ r = .204, p < .05 ตามล าดบั) ความสัมพนัธ์ของคู่สมรสเป็นปัจจยัท านายท่ีดีท่ีสุด และการรับรู้บทบาทการเป็นบิดาเป็นปัจจยัท านายท่ีดีล าดบัท่ีสอง ปัจจยัท านายทั้งสองสามารถอธิบายความแปรปรวนของสัมพนัธภาพระหวา่งบิดาวยัรุ่นกบับุตรวยัทารก อยา่งมีนยัส าคญัทางสถิติไดร้้อยละ 24.9 (F2, 93 = 15.404, p < .001)

    จากผลการวจิยัมีขอ้เสนอแนะวา่ พยาบาลหรือผูท่ี้เก่ียวขอ้งกบัการดูแลสุขภาพเด็กและวยัรุ่นควรพฒันากิจกรรมหรือโปรแกรมการส่งเสริมความสัมพนัธ์ของคู่สมรส และการรับรู้บทบาทการเป็นบิดา เพื่อเพิ่มสัมพนัธภาพระหวา่งบิดาวยัรุ่นกบับุตรวยัทารก

  • 54921242 : MAJOR: PEDIATRIC NURSING; M.N.S. (PEDIATRIC NURSING) KEY WORDS: ATTACHMENT/ ADOLESCENT FATHERS/ PATERNAL ROLE’S PERCEPTION/ MARITAL RELATION/ TEMPERAMENT/ INFANTS AREE CHA-ON-CHOM: PREDICTORS OF ATTACHMENTBETWEEN ADOLESCENT FATHERS AND THEIR INFANTS. ADVISORY COMMITTEE: NUJJAREE CHAIMONGKOL, Ph.D., YUNEE PONGJATURAWIT, Ph. D., 106 P. 2014. The purpose of this correlational predictive research was to examine predictors of attachment between adolescent fathers and their infants. Simple random sampling was used to recruit the sample of 96 dyads of adolescent fathers and their infants receiving well care services in hospitals of Sena district, Ayutthaya province. Data were collected from October to December, 2013. Research instruments consisted of a demographic questionnaire, the scale of attachment between adolescent fathers and their infants, the paternal role’s perception questionnaire, the marital relation’s scale, the social support’s scale, the infant temperament’s scale and with their reliability of Cronbach’s alphas of .84, .92, .90, .96, .89, and .82, respectively, and the Home Observation for the Measurement of the Environment inventory with its KR-20 reliability of .76. Data were analyzed by using frequency, percent, mean, standard deviation, range, Pearson correlation coefficients, and multiple regression analyses. Results revealed that total mean score of the attachment between adolescent fathers and their infants was 114.65 (S.D. = 6.16), which was at high level. Paternal role’s perception, marital relation, social support and infant temperament were statistically significant correlated to attachment between adolescent fathers and their infants (r = .425, p < .01; r = .427, p < .01; r = .220, p < .05 and r = .204, p < .05, respectively). The best predictor was marital relations and the second best was paternal role’s perception. Both predictors were significantly accounted for 24.9% (F2, 93 = 15.404, p < .001) in the variance of the adolescent father-infant attachment.

    This findings have suggested that nurse or who pertaining to health child care and teen-age should develop the activity or push relation program of the spouse and paternal role’s perception for enhance the attachment between adolescent father and their infants.

  • สารบัญ

    หนา้ บทคดัยอ่ภาษาไทย ..................................................................................................................... ง บทคดัยอ่ภาษาองักฤษ ................................................................................................................ จ สารบญั ....................................................................................................................................... ฉ สารบญัตาราง ............................................................................................................................. ซ สารบญัภาพ ................................................................................................................................ ฌ บทท่ี 1 บทน า .................................................................................................................................. 1 ความเป็นมาและความส าคญัของปัญหา 1 .................................................................... วตัถุประสงคก์ารวจิยั 5 .................................................................................................. สมมติฐานการวจิยั และเหตุผลสนบัสนุน .................................................................. 5 กรอบแนวคิดในการวจิยั ............................................................................................ 7 ขอบเขตของการวิจยั .................................................................................................. 9 นิยามศพัทเ์ฉพาะ ....................................................................................................... 9 2 เอกสารและงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้ง ........................................................................................... 11

    สัมพนัธภาพ................................................................................................................ 11 บิดาวยัรุ่น ................................................................................................................... 17 เด็กวยัทารก ................................................................................................................ 18 ปัจจยัท่ีเก่ียวขอ้งกบัสัมพนัธภาพระหวา่งบิดาวยัรุ่นกบับุตรวยัทารก........................... 23

    3 วธีิด าเนินการวจิยั ................................................................................................................ 38 ประชากรและกลุ่มตวัอยา่ง ........................................................................................ 38 เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการวจิยั ............................................................................................ 41 การตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือการวิจยั ............................................................. 46 การพิทกัษสิ์ทธิของกลุ่มตวัอยา่ง ............................................................................... 46 การเก็บรวบรวมขอ้มูล ............................................................................................... 47 การวเิคราะห์ขอ้มูล .................................................................................................... 48 4 ผลการวจิยั ......................................................................................................................... 49 5 สรุปและอภิปรายผล ........................................................................................................... 58 สรุปผลการวจิยั .......................................................................................................... 58

  • สารบัญ (ต่อ)

    บทท่ี หนา้ อภิปรายผล ................................................................................................................ 59 ขอ้เสนอแนะ ............................................................................................................... 63 บรรณานุกรม .............................................................................................................................. 64 ภาคผนวก ................................................................................................................................... 74 ภาคผนวก ก ........................................................................................................................... 75 ภาคผนวก ข ........................................................................................................................... 90 ภาคผนวก ค ........................................................................................................................... 96 ภาคผนวก ง ........................................................................................................................... 105 ประวติัยอ่ของผูว้ิจยั ..................................................................................................................... 106

  • สารบัญตาราง

    ตารางท่ี หนา้ 1 จ านวน ร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และพิสัยของขอ้มูลทัว่ไปของ บิดาวยัรุ่น…..………………….………………………………………….………....... 50 2 จ านวน ร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และพิสัยของขอ้มูลทัว่ไปของ บุตรวยัทารก..………………………….………………………………….………....... 51 3 คะแนนเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และพิสัยของการรับรู้บทบาทการเป็นบิดาของ วยัรุ่นโดยรวมและแยกรายดา้น..…………………………………………………..…. 52 4 คะแนนเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และพิสัยของพื้นอารมณ์ของทารกโดยรวมและ แยกรายดา้น..………...…………………….…………….……………………….…. 52 5 คะแนนเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และพิสัยของการไดรั้บการสนบัสนุนทางสังคม โดยรวมและแยกรายดา้น.………………….…………….…………………….….…. 53 6 คะแนนเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และพิสัยของลกัษณะส่ิงแวดลอ้มภายในบา้น โดยรวมและแยกรายดา้น..……………………………….……………………….….. 54 7 ค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพนัธ์ระหวา่งสัมพนัธภาพระหวา่งบิดากบับุตรวยัทารกกบั ตวัแปรท านายท่ีศึกษา.…...………………….…………….……………………….…. 55 8 ผลการวเิคราะห์ดว้ยสถิติถดถอยพหุคูณแบบมาตรฐาน (Standard multiple regression analysis) เพื่อหาอ านาจการท านายร่วมของปัจจยัต่าง ๆ ต่อสัมพนัธภาพ ระหวา่งบิดากบับุตรวยัทารก ….…………….…………….…………………….….…. 56 8 ผลการวเิคราะห์ดว้ยสถิติถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) เพื่อหาปัจจยัท านายท่ีดีท่ีสุดของสัมพนัธภาพระหวา่งบิดากบับุตรวยัทารก… 57

  • สารบัญภาพ

    ภาพท่ี หนา้ 1 กรอบแนวคิดในการวจิยั …………………………………………………………….….. 8 2 ขั้นตอนการสุ่มตวัอยา่ง ……………………………………………………………….… 40

  • บทที ่1 บทน ำ

    ควำมเป็นมำและควำมส ำคญัของปัญหำ สัมพนัธภาพหรือความผกูพนัระหวา่งผูเ้ล้ียงดูกบัทารกเป็นสายสัมพนัธ์ทางอารมณ์ท่ีส่ง ผลใหท้ารกเจริญเติบโตข้ึนเป็นผูท่ี้มีความมัน่คงทางอารมณ์ มีบุคลิกภาพท่ีเหมาะสม สามารถท า งานและอยูร่่วมในสังคมกบัผูอ่ื้นได ้สัมพนัธภาพระหวา่งผูเ้ล้ียงดูกบัทารกเกิดข้ึนเม่ือบิดามารดาหรือผูเ้ล้ียงดูใหค้วามรักความผกูพนั เขา้ใจอารมณ์ความรู้สึกของทารก และตอบสนองความตอ้งการทางดา้นร่างกายและจิตใจทารกไดอ้ยา่งเหมาะสม (Bowlby, 1969) เป็นกระบวนการท่ีเกิดข้ึนอยา่งต่อเน่ืองทีละเล็กทีละนอ้ยตามระยะเวลาท่ีผา่นไป สัมพนัธภาพระหวา่งมารดาและทารกน้ีมิไดเ้กิด ข้ึนจากสัญชาตญาณ แต่เกิดจากการเรียนรู้และพฒันามาโดยล าดบั โดยทัว่ไปมารดาเป็นผูท่ี้ใหก้ารเล้ียงดูทารกและมีความใกลชิ้ดกบัทารก จึงเป็นผูท่ี้สร้างสัมพนัธภาพกบัทารกไดม้ากท่ีสุดตั้งแต่ทารกเกิดมา ทั้งน้ีมีงานวจิยัจ านวนมากท่ีศึกษาสัมพนัธภาพระหวา่งมารดาและทารกทั้งในและต่างประเทศ (จริยา วทิยะศุภร, 2548; นุจรี ไชยมงคล, 2554; มนตต์รา พนัธุฟัก,ศรีสมร ภูมนสกุล และอรพินธ์เจริญผล, 2552; วราภรณ์ แสงทวสิีน, 2552; สุรีย ์ล่าร้อง, 2552; Chimongkol, 2006; George, Cummings, & Davies, 2011) นอกจากมารดาแลว้บุคคลท่ีมีความใกลชิ้ดและช่วยเล้ียงดูทารกตั้งแต่แรกเกิดดว้ยเช่นกนัคือบิดา ซ่ึงในปัจจุบนัน้ีบิดามีส่วนร่วมในการเล้ียงดูทารกมากข้ึน ดว้ยเหตุท่ีลกัษณะของสภาพสังคมและครอบครัวมีการเปล่ียนแปลงไปจากเดิม ครอบครัวมีลกัษณะเป็นครอบครัวเด่ียวมากข้ึน ซ่ึงประกอบดว้ยบิดา มารดา และบุตร บิดามีส่วนช่วยเหลือและใหก้ารเล้ียงดูทารกเพิ่มมากข้ึน เช่น การเล่นกบับุตร อาบน ้า เปล่ียนเส้ือผา้ใหบุ้ตร พาบุตรเขา้นอน และการดูแลสุขภาพของบุตร (Barnes, 2009; Cabrera, Hoffert, & Chae, 2011; Gaertner, Spinrad, Eisenberg, & Greving, 2007; Garfield & Isacco, 2006; Jia & Sullivan, 2011) สัมพนัธภาพระหวา่งบิดาและทารกจึงเป็นปรากฏการณ์ท่ีมีการสนใจศึกษามากข้ึนในต่าง ประเทศ แต่พบการศึกษาสัมพนัธภาพระหวา่งบิดากบัทารกไม่มากในประเทศไทย วยัรุ่นซ่ึงเป็นวยัท่ีมีการเปล่ียนแปลงเขา้สู่วฒิุภาวะทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม จึงนบัวา่เป็นวกิฤติช่วงหน่ึงของชีวติเน่ืองจากเป็นช่วงต่อของวยัเด็กและวยัผูใ้หญ่ โดย เฉพาะอยา่งยิง่ในระยะตน้ของวยัจะมีการเปล่ียนแปลงมากมายเกิดข้ึน เช่น อารมณ์ท่ีไม่มัน่คงและรุนแรง มีการคบเพื่อนต่างเพศ และรักความสนุกสนาน (วนิดัดา ปิยะศิลป์ และพนม เกตุมาน, 2550; สงวน ธานี, อาภรณ์ ดีนาน และสุภาภรณ์ ดว้งแพง, 2554; สุรางค ์โคว้ตระกลู, 2552) จากสถิติพบเด็กอายตุ ่ากวา่ 18 ปี ทัว่ประเทศ 15 ลา้นคน มีแสนคนประสบปัญหาทอ้งในวยัเรียน และมีแนวโนม้เพิ่มร้อยละ 3.6

  • 2

    ต่อปี และสถิติในแถบเอเชียพบวยัเรียนของเด็กไทยมีการตั้งครรภเ์ป็นอนัดบั 1 และอนัดบั 2 ของโลก (สถิติขอ้มูลการตั้งครรภข์องเด็กวยัรุ่น, 2556) โดยบิดาเป็นวยัรุ่นเช่นกนั เม่ือวยัรุ่นชายมารับบทบาทเป็นบิดาจะสามารถปฏิบติัหนา้ท่ีไดดี้เพียงใด และมีสัมพนัธภาพกบับุตรไดเ้ช่นเดียวกบับิดาท่ีอยูใ่นวยัผูใ้หญ่ บุตรท่ีมาจากครอบครัวของบิดามารดาวยัรุ่นจะไดรั้บการดูแลจากเครือญาติของบิดามารดาวยัรุ่น ดงันั้นการท่ีจะใหท้ารกท่ีมีบิดาวยัรุ่นเป็นเด็กท่ีมีพฒันาการสมวยั เติบโตเป็นผูใ้หญ่ท่ีมีคุณภาพ ทารกตอ้งไดรั้บการเล้ียงดูและมีสัมพนัธภาพท่ีดีกบับิดา สัมพนัธภาพ (Attachment) เป็นความผกูพนัทางอารมณ์ท่ีมีลกัษณะเฉพาะคือเป็นความ สัมพนัธ์หรือความผกูพนัทางอารมณ์ของทารกต่อผูเ้ล้ียงดูวา่สามารถปกป้องคุม้ครองตนเองให้ปลอดภยัไดท้ารกจะตอ้งการอยูใ่กลชิ้ดเพราะท าใหรู้้สึกวา่มีความมัน่คงปลอดภยั สัมพนัธภาพมีผลต่อการพฒันาการทางจิตใจ ทารกท่ีผูเ้ล้ียงดูใหค้วามรักความเขา้ใจ เอาใจใส่และไวต่อสัญญาณท่ีทารกส่ือถึงความตอ้งการทั้งดา้นร่างกายและอารมณ์ และตอบสนองไดส้อดคลอ้งกบัความตอ้งการอยา่งทนัที และสม ่าเสมอจะมีความผกูพนัทางอารมณ์ท่ีมัน่คงต่อผูเ้ล้ียงดู มีการพฒันาต่อตนเองวา่เป็นคนท่ีมีคุณค่าและต่อคนอ่ืนวา่น่าไวว้างใจทฤษฎีสัมพนัธภาพ (Attachment theory: Bowlby, 1969) ไดอ้ธิบายวา่ สัมพนัธภาพเป็นสายใยแห่งรักท่ีแทจ้ริงระหวา่งผูดู้แลกบัทารก ซ่ึงโดยมากคือมารดาหรือบิดา และจะพฒันาต่อเน่ืองอยา่งมากในระยะแรกเกิดจนถึง 2 ปีแรก ถา้ขาดหายไปก็สามารถสร้างทดแทนไดใ้นช่วงต่อมา แต่สัมพนัธภาพนั้นจะไม่ลึกซ้ึงเหมือนในช่วงวยัแรกเกิดทารกตอ้งการท่ีจะอยูใ่กลชิ้ดบิดามารดาเพื่อความมัน่ใจและปลอดภยัในตนเอง ในการส่งเสริมสัมพนัธภาพระหวา่งผูเ้ล้ียงดูกบัทารกเป็นบทบาทของพยาบาลท่ีจะให้ความรู้กบัผูเ้ล้ียงดู โดยเร่ิมตั้งแต่เม่ือมีครอบครัวและรู้วา่มีการตั้งครรภ ์บิดามารดาตอ้งปฏิบติัตนอยา่งไรท่ีจะส่งผลถึงสัมพนัธภาพต่อทารกท่ีอยูใ่นครรภ ์จนกระทัง่ทารกเกิดและเติบโต การศึกษาเก่ียวกบับทบาทของพยาบาลในดา้นการส่งเสริมสัมพนัธภาพระหวา่งผูเ้ล้ียงดูกบัทารก ส่วนใหญ่เป็นการศึกษาในมารดาหลงัคลอดโดยใหบิ้ดามีส่วนร่วมในการดูแลบุตร (จริยา วทิยะศุภร, 2548) บทบาทอีกดา้นคือ การเป็นแหล่งสนบัสนุนดา้นความรู้ ขอ้มูลข่าวสารต่าง ๆ การคน้หาแนวทางท่ีจะใหบิ้ดามีส่วนร่วมในการเล้ียงดูบุตรมากข้ึน (Maas, Vreeswijk, Cock, Rijk, & Bakel, 2012) ซ่ึงพบปัจจยัหลกั 3 ประการ ท่ีเก่ียวขอ้งกบัสัมพนัธภาพระหวา่งผูเ้ล้ียงดูกบัทารกไดแ้ก่ ดา้นผูเ้ล้ียงดู ดา้นทารก และดา้นสังคมส่ิงแวดลอ้ม (Bowlby, 1969)

    ปัจจยัดา้นผูเ้ล้ียงดูท่ีเป็นบิดา จากการทบทวนวรรณกรรมพบวา่ การรับรู้บทบาทการเป็นบิดา (วลยัลกัษณ์ พรมทอง, 2550; สุธิดา ยาทองไชย, 2550 ) และความสัมพนัธ์ของคู่สมรส (นวพร มามาก, ศรีสมร ภูมนสกุล และอรพินธ์ เจริญผล, 2551; Goodman, 2005; King, 2006) เป็นปัจจยัท่ีส าคญัและมีความสัมพนัธ์กบัสัมพนัธภาพระหวา่งบิดามารดาและทารก การรับรู้บทบาทการเป็นบิดา เร่ิมจากเม่ือผูช้ายมีการแต่งงานและวางแผนในการมีบุตร เม่ือรู้วา่ภรรยาตั้งครรภ ์บทบาทใน

    http://tdc.thailis.or.th/tdc/basic.php?query=นวพร%20มามาก&field=1003&institute_code=0&option=showindex_creator&doc_type=0http://tdc.thailis.or.th/tdc/basic.php?query=นวพร%20มามาก&field=1003&institute_code=0&option=showindex_creator&doc_type=0

  • 3

    การเป็นสามีตอ้งดูแลภรรยาในการพาไปพบแพทย ์การแสดงความรักและห่วงใยตั้งแต่ทารกแรกเกิด บิดามีส่วนช่วยดูแลทั้งมารดาและมีส่วนร่วมในการดูแลบุตรเม่ือกลบัไปอยูบ่า้น จนกระทัง่บุตรเติบโตตามวยัก่อใหเ้กิดสัมพนัธภาพท่ีดีต่อบิดาและทารกซ่ึงบิดาจ าเป็นตอ้งรับรู้บทบาทของตนเองในการเป็นสามีและผูดู้แลบุตร (ศรีสมร ภูมนสกุล, ชุลีพร วชิรธนากร และมณี อาภานนัทิกุล, 2549; Bogel & Perotti, 2011; Bowlby, 1969; Erlandsson, Christensson, & Fagerberg, 2008; Mollborn & Lovegrove, 2011) ในทางตรงกนัขา้มถา้บิดาไม่ตระหนกัถึงบทบาทการเป็นสามีและบิดา ส่ิงท่ีเป็นผลกระทบคือความสัมพนัธ์ระหวา่งสามีและภรรยา เช่น สามีท่ีติดสุราหรือยาเสพติด มกัไม่สนใจครอบครัวส่งผลใหเ้กิดความแตกแยกในครอบครัว โดยผูเ้ล้ียงดูบุตรจึงเป็นหนา้ท่ีของมารดาคนเดียว ท าใหไ้ม่มีสัมพนัธภาพระหวา่งบิดาและบุตรหรือมีสัมพนัธภาพไม่ดี เด็กท่ีมาจากครอบครัวดงักล่าวก็จะเป็นเด็กท่ีมีปัญหาต่อไปเม่ือเติบโต (Barnes, 2009; Edwards, Daseiden, & Leonard, 2006) ดงันั้นบิดาจ าเป็นตอ้งรู้บทบาทของตนเองและจะตอ้งปฏิบติัอยา่งไรท่ีส่งผลท่ีดีกบัความ สัมพนัธ์ของตนเองและภรรยาน าไปสู่การมีสัมพนัธภาพท่ีดีกบับุตร

    เม่ือวยัรุ่นมาเป็นบิดาตอ้งมีส่วนร่วมในการดูแลบุตรมากข้ึน มีความผกูพนัและสร้าง เสริมสัมพนัธภาพกบัทารก (Garfield & Isacco, 2006; Kochanska, Woodard, Kim, Koenig, & Barry, 2010; Lauren, Kim, & Capaldi, 2008) ส่ิงส าคญัท่ีสุดเม่ือวยัรุ่นตอ้งปรับบทบาทมาเป็นบิดา จ าเป็นตอ้งมีความรักใคร่กบัคู่สมรสท่ีดี หากกระบวนการเปล่ียนแปลงดงักล่าวเป็นไปอยา่งถูกตอ้ง โดยไดรั้บการดูแลเอาใจใส่อยา่งใกลชิ้ด จะช่วยใหว้ยัรุ่นสามารถปรับตวัไดเ้หมาะสม บรรเทาปัญหาต่าง ๆ ท่ีอาจจะเกิดข้ึน ความสัมพนัธ์ของคู่สมรสเป็นรากฐานท่ีส าคญัของครอบครัว และเป็นปัจจยัท่ีส าคญัต่อการแสดงบทบาทการเป็นบิดาดว้ย (เกศสุดา เกษรสุคนธ์, 2549) สามีและภรรยาท่ีมีความ สัมพนัธ์ท่ีดีต่อกนั และยนิดีต่อการมีสมาชิกใหม่จะท าใหค้รอบครัวมีความสุข ส่งผลถึงการเป็นบิดามารดาท่ีดี แต่ถา้หากความสัมพนัธ์ระหวา่งคู่สมรสไม่ดี ชีวิตสมรสไม่ราบร่ืน สามีปฏิเสธการรับรู้และความรับผดิชอบ ส่งผลใหค้รอบครัวไม่มีความสุขและสัมพนัธภาพกบับุตรนอ้ยหรือไม่มี ในปัจจุบนัพบวา่ เดก็ไทยท่ีอาศยัอยูใ่นครอบครัวเล้ียงเด่ียวมีสัดส่วนท่ีสูง (สถาบนัแห่งชาติเพื่อการพฒันาเด็กและครอบครัว, 2551) การมีความสัมพนัธ์ท่ีดีต่อกนัของสามีและภรรยาเป็นปัจจยัท่ีเก้ือ หนุนใหเ้กิดความรัก ความผกูพนั มีความเขา้ใจ อภยัใหก้นั และการช่วยเหลือเก้ือกลูกนัจะก่อใหเ้กิดเป็นครอบครัวท่ีอบอุ่น ดงันั้นความสัมพนัธ์ระหวา่งคู่สมรสจึงมีความส าคญัอยา่งยิง่ของครอบครัว เช่น การส่ือสาร พดูคุย การหาเวลาหรือโอกาสท ากิจกรรมร่วมกนั และอยูด่ว้ยกนัตามล าพงั เพื่อเสริมสร้างความรู้สึกใหม่ ๆ ท่ีดีงามต่อกนั การสนทนาแลกเปล่ียนความคิดเห็นเม่ือมีเวลาวา่ง (พนูสุข ช่วยทอง, 2548) จากการท่ีสามีไดดู้แลภรรยาและมีความสัมพนัธ์กนัดี ยอ่มส่งผลใหบุ้ตรมีสุขภาพกายและจิตใจดี เน่ืองจากผูเ้ล้ียงดูมีสัมพนัธภาพท่ีดีกบับุตร (Allen & Miga, 2010)

  • 4

    ปัจจยัดา้นทารกท่ีเก่ียวขอ้งกบัสัมพนัธภาพระหวา่งบิดากบัทารก ไดแ้ก่ พื้นฐานอารมณ์(Temperament: ทศันี ประสบกิตติคุณ, ฟองค า ติลกสกุลชยั และนฤมล วปุิโร, 2553; สุภาณี ไกรกุล, นุจรี ไชยมงคล และมณีรัตน์ ภาคธูป, 2552) และเพศ (Gender: Jia & Sullivan , 2011) ทารกแรกเกิดทุกคนเกิดมาพร้อมกบัพื้นฐานอารมณ์นัน่คือ ลกัษณะอารมณ์ต่อการปรับตวั ข้ีหงุดหงิด หรืออารมณ์ดี ซ่ึงพื้นฐานอารมณ์เหล่าน้ีเด็กไดรั้บการถ่ายทอดมาจากผูดู้แลคือบิดามารดา ถึงแมพ้ื้นฐานอารมณ์จะเป็นส่ิงท่ีติดตวัมาตั้งแต่เกิดแต่ก็สามารถปรับเปล่ียนไดใ้นระดบัหน่ึงผา่นการเล้ียงดูท่ีดีของผูดู้แลนกัจิตวทิยาแบ่งพื้นฐานอารมณ์ของเด็กไดเ้ป็น 3 กลุ่ม คือ เด็กเล้ียงง่าย เด็กเล้ียงยาก และเด็กปรับตวัชา้ จากงานวจิยัศึกษาพบวา่ ลกัษณะเด็กท่ีเล้ียงง่ายและเล้ียงยาก มีผลต่อสัมพนัธภาพระหวา่งบิดามารดา คือ ทารกท่ีเล้ียงยากส่งผลใหส้ัมพนัธภาพระหวา่งบิดามารดาลดลง (ทศันี ประสบกิตติคุณ และคณะ, 2553; สุภาณี ไกรกุล และคณะ, 2551) ส่ิงส าคญับิดาและมารดาตอ้งมีความเขา้ใจในพื้น ฐานอารมณ์ของเด็กจะท าใหเ้กิดสัมพนัธภาพท่ีดีกบับิดามารดา (Burney & Leerkes, 2010; Ramchandani, Jzendoorn, & Kranenburg, 2010; Saracho, 2008) และส่งผลใหท้ารกเติบโตและมีภาวะสุขภาพท่ีดีมีสัมพนัธภาพท่ีดีกบัคนอ่ืน ๆ ปัจจยัอีกประการหน่ึงเก่ียวกบัสัมพนัธภาพระหวา่งบิดากบัทารก คือ เพศของทารก โดยจะประเมินไดจ้ากการแสดงออกทางพฤติกรรมของทารก มีรายงานการวิจยัพบวา่ บิดาจะมีความเอน็ดูบุตรชายมาก กวา่บุตรผูห้ญิง และเม่ือเติบโตข้ึนเด็กเพศชายจะยกยอ่งบิดาใหเ้ป็นบุคคลตวั อยา่งส าหรับตนเอง มีการเลียนแบบพฤติกรรมต่าง ๆ ของบิดา นอกจากน้ียงัพบวา่ บิดามีความ สัมพนัธ์กบับุตรชายมากกวา่บุตรหญิงในดา้นการเล่นและการออกก าลงักาย (Jia & Sullivan, 2011; Scott, 2004; Williams, 2000) แต่อยา่งไรก็ดีมีรายงานการศึกษาในประเทศไทยพบวา่ เพศของทารกไม่มีความสัมพนัธ์กบัสัมพนัธภาพระหวา่งบิดามารดา (สุภาณี ไกรกุล และคณะ, 2551) ปัจจยัทางดา้นสังคมและส่ิงแวดลอ้ม เป็นส่ิงท่ีช่วยใหบิ้ดามีความมัน่ใจในการดูแลทารกคือการไดรั้บช่วยเหลือหรือการสนบัสนุนทางสังคม (Social support) ซ่ึงมาจากแหล่งต่าง ๆ เช่น คู่สมรส สมาชิกในครอบครัว เพื่อน บุคลากรในทีมสุขภาพ ส่งผลใหบิ้ดามีความเช่ือมัน่ในการมีส่วนร่วมในการดูแลบุตร ท าใหบิ้ดาสามารถท าหนา้ท่ีตามบทบาทของตนเองไดจ้นมีสัมพนัธภาพท่ีดีกบับุตร (สุมจัฉรา มานะชีวกุล, ทศันี ประสบกิตติคุณ และพรรณรัตน์ แสงเพิ่ม, 2555; Garfield & Isacco, 2006; Kochanska et al., 2010) ลกัษณะส่ิงแวดลอ้มภายในบา้นถือวา่เป็นส่ิงท่ีสร้างลกัษณะนิสัยและบุคลิกภาพของทารกได ้เช่น การจดัสภาพแวดลอ้มบา้นท่ีปลอดภยั ส่ิงแวดลอ้มของเล่น และอุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ีเหมาะสมกบัวยัทารก รวมทั้งการแสดงพฤติกรรม การกระท า และกิจกรรมของผูเ้ล้ียงดู จะเป็นปัจจยัท่ีใหเ้กิดสัมพนัธภาพกบัทารกซ่ึงส่งเสริมและขดัขวางการเจริญเติบโต และพฒันาการดา้นสังคม อารมณ์ และสติปัญญาของทารก (นาตยา แสงใส, นุจรี ไชยมงคล และมณีรัตน์ ภาคธูป, 2553; นุจรี ไชยมงคล, 2554; ยวุดี พงษส์าระนนัทกุล, 2549 )

  • 5

    ดงักล่าวมาแลว้ขา้งตน้พบวา่ สัมพนัธภาพระหวา่งบิดาวยัรุ่นกบับุตรวยัทารกมีความ ส าคญัยิง่ต่อพฒันาการของทารกในทุก ๆ ดา้น สัมพนัธภาพท่ีดีระหวา่งบิดาวยัรุ่นกบับุตรจะส่งผลต่อการเจริญเติบโตของทารก ครอบครัวในสังคมไทยมีบิดาท่ีอยูใ่นวยัรุ่นเพิ่มมากข้ึน เน่ืองจากบิดาวยัน้ีอยูใ่นวยัท่ีชอบความสนุกสนาน ขาดความรับผดิชอบต่อการเป็นบิดา ส่งผลต่อการสัมพนัธภาพระหวา่งบิดากบับุตร ท าใหเ้กิดผลกระทบต่อบุตรในดา้นพฒันาการต่าง ๆ และการมีสัมพนัธภาพกบับุคคลอ่ืน ๆ จากการทบทวนงานวจิยัพบปัจจยัทางดา้นบิดา ทารก และสังคมส่ิงแวดลอ้มท่ีส าคญั ส่งผลต่อสัมพนัธภาพระหวา่งบิดาวยั รุ่นกบับุตรวยัทารก ไดแ้ก่ การรับรู้บทบาทการเป็นบิดา ความสัมพนัธ์ของคู่สมรส พื้นฐานอารมณ์และเพศของทารก การไดรั้บการสนบัสนุนทางสังคม และลกัษณะส่ิงแวดลอ้มภายในบา้น ผูว้จิยัคาดหวงัวา่ผลของการศึกษาคร้ังน้ีจะสามารถให้บุคลากรทางการพยาบาล ตลอดจนบุคลากรท่ีเก่ียวขอ้งในสังคม สามารถน าไปเป็นแนวทางในการส่งเสริมใหบิ้ดาวยัรุ่นเขา้มามีส่วนร่วมในการเล้ียงดูบุตรมากยิง่ข้ึน อนัจะเป็นการท าให้เกิดสายสัมพนัธ์ท่ีดีภายในครอบครัวส่งผลใหเ้ด็กและครอบครัวมีความมัน่คง เกิดความสมดุลข้ึนในครอบครัว

    วตัถุประสงค์ของกำรวจิัย 1. เพื่อศึกษาความสัมพนัธ์ระหวา่งปัจจยัต่าง ๆ ไดแ้ก่ การรับรู้บทบาทการเป็นบิดา ความสัมพนัธ์ของคู่สมรส พื้นฐานอารมณ์ของทารก เพศของทารก การไดรั้บการสนบัสนุนทางสังคม และลกัษณะส่ิงแวดลอ้มภายในบา้น กบัสัมพนัธภาพระหวา่งบิดาวยัรุ่นกบับุตรวยัทารก 2. เพื่อศึกษาปัจจยัท านายต่าง ๆ ไดแ้ก่ การรับรู้บทบาทการเป็นบิดา ความสัมพนัธ์ของคู่สมรส พื้นฐานอารมณ์ของทารก เพศของทารก การไดรั้บการสนบัสนุนทางสังคม และลกัษณะส่ิง แวดลอ้มภายในบา้น ต่อการท านายสัมพนัธภาพระหวา่งบิดาวยัรุ่นกบับุตรวยัทารก และปัจจยัท า นายท่ีมีความส าคญัท่ีดีต่อสัมพนัธภาพระหวา่งบิดาวยัรุ่นกบับุตรวยัทารก

    สมมติฐำนกำรวจิัยและเหตุผลสนับสนุน การวจิยัคร้ังน้ีเป็นการศึกษาปัจจยัท านายสัมพนัธภาพของบิดาวยัรุ่นกบับุตรวยัทารก โดย

    ใชก้รอบทฤษฎีสัมพนัธภาพ (Attachment Theory) ของ Bowlby (1969) อธิบายไวว้า่ สัมพนัธภาพเป็นสายสัมพนัธ์ทางอารมณ์ท่ีมัน่คงมนุษยทุ์กคนแสวงหาและตอ้งการไปตลอดชีวิต โดยเร่ิมจากการก่อเกิดความสัมพนัธ์ระหวา่งผูเ้ล้ียงดูกบัเด็ก ซ่ึงลกัษณะความสัมพนัธ์น้ีจะถูกถ่ายทอดไปยงัความสัมพนัธ์ระหวา่งเด็กกบัคนอ่ืน ๆ ทั้งน้ีเด็กจะสามารถสร้างสัมพนัธภาพไดต้ั้งแต่แรกเกิด และส่ือสารความรู้สึกความตอ้งการภายในไดช่้วงขวบปีแรก มีการพฒันาสัมพนัธภาพกบัผูเ้ล้ียงดูมาก

  • 6

    ข้ึน เรียนรู้ส่ิงแวดลอ้ม ภาษาพดู ความเป็นตวัของตวัเอง และการแสดงอารมณ์ความรู้สึกจากผูเ้ล้ียงดูเป็นหลกั จากการศึกษางานวิจยัพบปัจจยัหลกั 3 ประการ ท่ีเก่ียวขอ้งกบัสัมพนัธภาพระหวา่งผูเ้ล้ียงดูกบัทารก ไดแ้ก่ ดา้นผูเ้ล้ียงดู ดา้นทารก และดา้นสังคมส่ิงแวดลอ้ม

    ปัจจยัดา้นผูเ้ล้ียงดูท่ีเป็นบิดา พบวา่ การรับรู้บทบาทการเป็นบิดาและความสัมพนัธ์ของคู่สมรส เป็นปัจจยัท่ีส าคญัและมีความสัมพนัธ์กบัสัมพนัธภาพระหวา่งบิดามารดาและทารก การรับรู้บทบาทการเป็นบิดา เร่ิมตั้งแต่เม่ือผูช้ายมีการแต่งงานและวางแผนในการมีบุตร จะตอ้งรู้บทบาทในการเป็นสามีเม่ือรู้วา่ภรรยาตั้งครรภ ์สามีตอ้งดูแลภรรยาในการพาไปฝากครรภ ์การดูแลเอาใจใส่ต่อภรรยา ท าให้เกิดความรักใคร่กนั เกิดความสัมพนัธ์ท่ีดีต่อกนัส่งผลถึงบุตร ถา้บิดาและมารดามีความ สัมพนัธ์ท่ีดีต่อกนั จะแสดงความรักและห่วงใยบุตรตั้งแต่ทารกแรกเกิด บิดามีส่วนช่วยดูแลมารดาและมีส่วนร่วมในการดูแลบุตรเม่ือกลบัไปอยูบ่า้น เป็นการแบ่งเบาภาระของมารดาแลครอบครัว ท าใหเ้ป็นครอบครัวท่ีอบอุ่นก่อใหเ้กิดสัมพนัธภาพท่ีดีต่อบิดาและทารก (นวพร มามาก และคณะ, 2551; วลยัลกัษณ์ พรมทอง, 2550; Bogel & Perotti, 2011; Mollborn & Lovegrove, 2011) ปัจจยัดา้นทารกไดแ้ก่ พื้นฐานอารมณ์และเพศของทารก พื้นฐานอารมณ์ของทารกเป็นส่ิงท่ีติดตวัมาตั้งแต่เกิด และไดรั้บการถ่ายทอดมาจากผูดู้แลคือ บิดามารดา ซ่ึงสามารถปรับเปล่ียนไดโ้ดยผา่นการเล้ียงดู ทารกท่ีบิดามารดามีความสัมพนัธ์กนัดี มกัแสดงความรักและสัมพนัธภาพท่ีดีต่อทารกท าใหท้ารกเป็นเด็กท่ีเล้ียงง่าย (Mehall, Spinrad, Eisenberg, & Gaertner, 2009) จากงาน วจิยัท่ีศึกษาพบวา่ เด็กท่ีเล้ียงยากท าใหส้ัมพนัธภาพระหวา่งบิดามารดาลดลง (ทศันี ประสบกิตติคุณ และคณะ, 2553; สุภาณี ไกรกุล และคณะ, 2551) ส่ิงส าคญับิดาและมารดาตอ้งมีความเขา้ใจใน พื้นฐานดา้นอารมณ์ของเด็ก จะท าใหเ้กิดสัมพนัธภาพท่ีดีกบับิดามารดา (นนัทพร ปรากฎช่ือ, นุจรี ไชยมงคล และยนีุ พงศจ์ตุรวิทย ์, 2554; Burney & Leerkes, 2010; Ramchandani et al., 2010) และส่งผลใหท้ารกเติบโตและมีภาวะสุขภาพท่ีดี มีสัมพนัธภาพท่ีดีกบัคนอ่ืน ๆ และพบทารกเพศชายจะมีความสัมพนัธ์ ยกยอ่งบิดาใหเ้ป็นบุคคลท่ีมีความสามารถ และมกัจะมีการเลียนแบบบิดา เม่ือเติบ โตจะเป็นเด็กท่ีชอบเป็นผูน้ า กลา้แสดงออก (Jia & Sullivan, 2011; Williams, 2000) ปัจจยัท่ีเก่ียวขอ้งอีกประการคือ ปัจจยัทางดา้นสังคมและส่ิงแวดลอ้ม เป็นส่ิงท่ีช่วยให้บิดามีความมัน่ใจในการดูแลทารก คือ การไดรั้บช่วยเหลือหรือการสนบัสนุนทางสังคม (Social support) ซ่ึงมาจากแหล่งต่าง ๆ เช่น คู่สมรส สมาชิกในครอบครัว เพื่อน บุคลากรในทีมสุขภาพ ส่งผลใหบิ้ดามีความเช่ือมัน่ในการดูแลบุตรและเกิดสัมพนัธภาพท่ีดีกบับุตร (สุมจัฉรา มานะชีวกุล และคณะ, 2555; Garfield & Isacco, 2006; Kochanska et al., 2010) นอกจากน้ีในการดูแลบุตรลกัษณะส่ิงแวดลอ้มภายในบา้นถือวา่เป็นส่ิงท่ีสร้างลกัษณะนิสัยและบุคลิกภาพของบุตรได ้เช่น การจดัสภาพแวดลอ้มบา้นท่ีปลอดภยั ส่งเสริมพฒันาการท่ีเหมาะสมกบัวยั รวมทั้งการแสดงพฤติกรรม การกระท า และกิจกรรมของผูเ้ล้ียงดู เป็นปัจจยัท่ีใหเ้กิดสัมพนัธภาพท่ีดีใหก้บับุตรได ้

    http://tdc.thailis.or.th/tdc/basic.php?query=นวพร%20มามาก&field=1003&institute_code=0&option=showindex_creator&doc_type=0

  • 7

    (นาตยา แสงใส และคณะ, 2553; นุจรี ไชยมงคล, 2554; ยวุดี พงษส์าระนนัทกุล, 2549; Martin, Ryan, & Gunn, 2010 ) จากการศึกษาปัจจยัต่าง ๆ ผูว้จิยัจึงตั้งสมมติฐานการวจิยั ดงัน้ี 1. การรับรู้บทบาทการเป็นบิดา มีความสัมพนัธ์ทางบวกกบัสัมพนัธภาพระหวา่งบิดาวยัรุ่นกบับุตรวยัทารก 2. ความสัมพนัธ์ของคู่สมรส มีความสัมพนัธ์ทางบวกกบัสัมพนัธภาพระหวา่งบิดาวยัรุ่นกบับุตรวยัทารก 3. พื้นฐานอารมณ์ของทารก มีความสัมพนัธ์ทางบวกกบัสมัพนัธภาพระหวา่งบิดาวยัรุ่นกบับุตรวยัทารก 4. ทารกเพศชาย มีความสัมพนัธ์กบัสัมพนัธภาพระหวา่งบิดาวยัรุ่นกบับุตรวยัทารก

    5. การไดรั้บการสนบัสนุนทางสังคม มีความสัมพนัธ์ทางบวกกบัสัมพนัธภาพระหวา่งบิดาวยัรุ่นกบับุตรวยัทารก 6. ลกัษณะส่ิงแวดลอ้มภายในบา้น มีความสัมพนัธ์ทางบวกกบัสัมพนัธภาพระหวา่งบิดาวยัรุ่นกบับุตรวยัทารก

    7. การรับรู้บทบาทการเป็นบิดา ความสัมพนัธ์ของคู่สมรส พื้นฐานอารมณ์ของทารก เพศของทารก การไดรั้บการสนบัสนุนทางสังคม และลกัษณะส่ิงแวดลอ้มภายในบา้น สามารถท านายสัมพนัธภาพระหวา่งบิดาวยัรุ่นกบับุตรวยัทารกได ้

    กรอบแนวคดิกำรวจิัย

    การวจิยัคร้ังน้ีใชก้รอบทฤษฎีสัมพนัธภาพ (Attachment Theory) ของ Bowlby (1969) และมีการพฒันาอยา่งต่อเน่ืองร่วมกบั Ainsworth, Blehar and Wall (1978) ซ่ึงมีพื้นฐานมาจากทฤษฎีท่ีเก่ียวกบัความสัมพนัธ์ของมนุษยแ์ละครอบครัว เร่ิมจากการศึกษาสัมพนัธภาพระหวา่งทารกกบัมารดา ทฤษฎีน้ีอธิบายวา่ สัมพนัธภาพเป็นสายสมัพนัธ์ทางอารมณ์ท่ีมัน่คงซ่ึงมนุษย์แสวงหาและตอ้งการไปตลอดชีวติ และมีตอ้งการมากข้ึนเม่ือไดรั้บความ เครียดหรือความกดดนั หวัใจส าคญัของทฤษฎีสัมพนัธภาพคือ การก่อเกิดความสัมพนัธ์ระหวา่งผูเ้ล้ียงดูกบัเด็ก ซ่ึงลกัษณะความสัมพนัธ์น้ีจะถูกถ่ายทอดไปยงัความสัมพนัธ์ระหวา่งเด็กกบัคนอ่ืน ๆ ในสังคมต่อไป ทั้งน้ีเด็กทุกคนสามารถจะสร้างสัมพนัธภาพไดต้ั้งแต่แรกเกิด เน่ืองจากเด็กมีกลไกดา้นประสาทวทิยาและชีววทิยา มีโปรแกรมในสมองสามารถรับรู้อารมณ์ของผูอ่ื้นได ้และส่ือสารความรู้สึกความตอ้งการภายในไดช่้วงขวบปีแรก เด็กเรียนรู้วา่ใครคือบิดามารดาของเขา และพฒันาสัมพนัธภาพกบับิดามารดา หรือผูเ้ล้ียงดูมากข้ึนต่อมาเด็กเรียนรู้ส่ิงแวดลอ้ม ภาษาพดู ความเป็นตวัของตวัเอง และการแสดงอารมณ์ความรู้สึกจากผูเ้ล้ียงดูเป็นหลกั ระยะน้ีมีการพฒันาสัมพนัธภาพอยา่งสมบูรณ์ข้ึนและ

  • 8

    มีเป้าหมายชดัเจนข้ึน สามารถรู้ไดว้า่เด็กคนใดมีความมัน่คงทางอารมณ์หรือขาดความมัน่คงทางอารมณ์ เช่น ถา้เด็กมัน่ใจวา่คนท่ีเขารักและผกูพนัไม่หายไปไหน เขาก็กลา้ออกสู่โลกกวา้งเพื่อส ารวจส่ิงต่าง ๆ และเรียนรู้ท่ีจะควบคุมอารมณ์ตวัเอง ทั้งนั้นปัจจยัท่ีมีอิทธิพลต่อการสร้างสัมพนัธภาพระหวา่งผูเ้ล้ียงดูและทารกประกอบดว้ย 3 ประการ คือ ปัจจยัดา้นผูเ้ล้ียงดู ดา้นทารก และดา้นสังคมส่ิงแวดลอ้ม ในการศึกษาคร้ังน้ีปัจจยัดา้นผูเ้ล้ียงดู ไดแ้ก่ ความสัมพนัธ์ของคู่สมรส การรับรู้บทบาทการเป็นบิดา ปัจจยัดา้นทารก ไดแ้ก่ พื้นฐานอารมณ์ของทารก เพศของทารก และปัจจยัดา้นสังคมส่ิงแวดลอ้ม ไดแ้ก่ การไดรั้บการสนบัสนุนทางสังคม และลกัษณะส่ิงแวดลอ้มภายในบา้น ดงัแสดงในภาพท่ี 1

    ภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดการวิจยั

    ดา้นสังคมและส่ิงแวดลอ้ม 1. การไดรั้บการสนบัสนุนทางสังคม 2. ลกัษณะส่ิงแวดลอ้มภายในบา้น

    สัมพนัธภาพระหวา่งบิดาวยัรุ่น กบับุตรวยัทารก

    ดา้นผูเ้ล้ียงดู 1. การรับรู้บทบาทการเป็นบิดา 2. ความสัมพนัธ์ของคู่สมรส

    ดา้นทารก 1. พื้นฐานอารมณ์ของทารก 2. เพศของทารก

  • 9

    ขอบเขตของกำรวจิัย การวจิยัคร้ังน้ีเป็นแบบหาความสัมพนัธ์เชิงท านาย (Correlational predictive research) โดยมีวตัถุประสงคเ์พื่อศึกษาปัจจยัท านายสัมพนัธภาพระหวา่งบิดาวยัรุ่นและบุตรวยัทารกกลุ่มตวัอยา่งเป็นบิดาวยัรุ่นท่ีมีบุตรวยัทารก จ านวนทั้งหมด 96 ราย ท่ีน าบุตรมารับบริการในคลินิกสุขภาพเด็กดี โรงพยาบาลเสนา และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล ในเขตอ าเภอเสนา จงัหวดัพระนครศรีอยธุยา ตวัแปรท่ีศึกษา ประกอบดว้ย ตวัแปรตน้ ไดแ้ก่ การรับรู้บทบาทการเป็นบิดา ความ สัมพนัธ์ของคู่สมรส พื้นฐานอารมณ์ของทารก เพศของทารก การไดรั้บการสนบัสนุนทางสังคม และลกัษณะส่ิงแวดลอ้มภายในบา้น และตวัแปรตาม คือ สัมพนัธภาพระหวา่งบิดาวยัรุ่นและบุตรวยัทารก

    นิยำมศัพท์เฉพำะ บิดาวยัรุ่น หมายถึง บุคคลเพศชาย ท่ีมีอายตุั้งแต่ 13 ปี และไม่เกิน 18 ปี อยูก่บัภรรยา และมีบุตรอยูใ่นวยัทารก ท่ีมารับบริการในคลินิกสุขภาพเด็กดี โรงพยาบาลเสนา และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล ในเขตอ าเภอเสนา จงัหวดัพระนครศรีอยธุยา ในปี พ.ศ.2556

    บุตรวยัทารก หมายถึง เด็กเพศชายและเพศหญิงท่ีมีอายตุั้งแต่แรกเกิดถึง 2 ปี ท่ีมีบิดาอายุตั้งแต่ 13 ปี และไม่เกิน 18 ปี และไม่มีความพิการแต่ก าเนิด

    สัมพนัธภาพระหวา่งบิดาวยัรุ่นกบับุตรวยัทารก หมายถึง ความรักใคร่ผกูพนัระหวา่งบิดาวยัรุ่นกบับุตรวยัทารก เป็นกระบวนการท่ีเกิดข้ึนทีละเล็กทีนอ้ย แสดงออกตามความรู้สึกนึกคิด หรือการกระท าท่ีบ่งบอกถึงความรัก ความห่วงใย ตั้งแต่แรกเกิดและพฒันาอยา่งต่อเน่ือง บิดาแสดงออกโดยการโอบกอด พดูคุย หยอกลอ้ เป็นตน้ และบุตรมีพฤติกรรมตอบสนองต่อการแสดง ออกของบิดา ประเมินโดยใชแ้บบประเมินสัมพนัธภาพระหวา่งบิดามารดาและทารกของสุภาณี ไกรกุล (2551) การรับรู้บทบาทการเป็นบิดา หมายถึง การท่ีบิดาวยัรุ่นมีความเขา้ใจ ความรู้สึก หรือพฤติกรรมการแสดงออก ต่อหนา้ท่ีของตนเอง เร่ิมตั้งแต่ภรรยาเร่ิมตั้งครรภ ์ขณะคลอด และหลงัคลอด รวมทั้งการเล้ียงดูแลบุตรวยัทารกในกิจวตัรประจ าวนั การอุม้ โอบกอด และปกป้องอนัตรายท่ีจะเกิดข้ึนกบับุตร ประเมินโดยใชแ้บบวดัการปฏิบติัพฒันกิจบิดาของสุธิดา ยาทองไชย (2550) ความสัมพนัธ์ของคู่สมรส หมายถึง สัมพนัธภาพระหวา่งสามีภรรยาในการปรับตวัเขา้หากนัหลงัจากอยูด่ว้ยกนั เผชิญปัญหาและร่วมแกไ้ขปัญหาความขดัแยง้ ส่งผลใหเ้กิดความพึงพอใจในคู่สมรส ท าใหมี้ความรักใคร่กนั การดูแลเอาใจใส่ ประเมินโดยใชแ้บบประเมินความสัมพนัธ์

  • 10

    ของคู่สมรสของนวพร มามาก และคณะ (2551) พื้นฐานอารมณ์ของทารก หมายถึง พฤติกรรม และลกัษณะการตอบสนองของทารกท่ีมี

    ต่อส่ิงแวดลอ้มและส่ิงเร้าต่าง ๆ ทางกายภาพ ซ่ึงเป็นลกัษณะเฉพาะของทารกท่ีเป็นทารกเล้ียงยาก เล้ียงง่ายปรับตวัชา้ ตามการรับรู้ของผูเ้ล้ียงดู โดยประเมินการรับรู้ภาพรวมต่อความเป็นทารกท่ีเล้ียงยากเล้ียงง่าย และปรับตวัชา้ ประเมินโดยใชแ้บบสอบถามพื้นฐานอารมณ์ทารกของนนัทพร ปรากฏช่ือ (2554)

    การไดรั้บการสนบัสนุนทางสังคม หมายถึง การท่ีบิดาวยัรุ่นไดรั้บความช่วยเหลือหรือสนบัสนุนจากบุคคลต่าง ๆ ในกลุ่ม เช่น บุคลากรทางการแพทย ์ เครือญาติ เพื่อน ประกอบดว้ย 4 ดา้น คือ ดา้นอารมณ์ การประเมินเปรียบเทียบ ขอ้มูลข่าวสาร และดา้นทรัพยากร โดยใชแ้บบประเมินพฤติกรรมการสนบัสนุนทางสังคมของสุมจัฉรา มานะชีวกุล และคณะ (2555)

    ลกัษณะส่ิงแวดลอ้มภายในบา้น หมายถึง การจดัส่ิงต่าง ๆ ท่ีอยูร่อบตวัเด็ก เช่น การจดับา้น ของเล่น หรืออุปกรณ์ท่ีมีผลต่อการเรียนรู้และส่งเสริมพฒันาการของบุตรวยัทารก กิจกรรมต่าง ๆ รวมทั้งกิจวตัรประจ าวนัท่ีเก่ียวขอ้งกบัการด าเนินชีวติของบุตรวยัทารกท่ีบิดามีส่วนร่วมในการดูแล ประเมินโดยการใชแ้บบประเมินลกัษณะส่ิงแวดลอ้มภายในบา้นส าหรับเด็กวยัทารกของ นุจรี ไชยมงคล (2554)

    http://tdc.thailis.or.th/tdc/basic.php?query=นวพร%20มามาก&field=1003&institute_code=0&option=showindex_creator&doc_type=0

  • บทที ่2 เอกสารและงานวจิยัที่เกีย่วข้อง

    การวจิยัแบบหาความสัมพนัธ์เชิงท านายคร้ังน้ี มีวตัถุประสงคเ์พื่อศึกษาปัจจยัท านายสัมพนัธภาพของบิดาวยัรุ่นกบับุตรวยัทารก ไดแ้ก่ การรับรู้บทบาทการเป็นบิดา ความสัมพนัธ์ของคู่สมรส พื้นฐานอารมณ์ของทารก เพศของทารก การไดรั้บการสนบัสนุนทางสังคม และลกัษณะส่ิง แวดลอ้มภายในบา้น ผูว้จิยัไดท้บทวนวรรณกรรมจากเอกสารและงานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้ง ดงัต่อไปน้ี 1. สัมพนัธภาพ 2. บิดาวยัรุ่น 3. เด็กวยัทารก 4. ปัจจยัท่ีเก่ียวขอ้งกบัสัมพนัธภาพระหวา่งบิดาวยัรุ่นกบับุตรวยัทารก

    สัมพนัธภาพ สัมพนัธภาพ หรือ Attachment หมายถึง ความผกูพนัทางอารมณ์ท่ีมีลกัษณะเฉพาะคือเป็นความผกูพนัทางอารมณ์ของเด็กต่อผูเ้ล้ียงดูท่ีเด็กรับรู้วา่เป็นผูท่ี้สามารถปกป้องคุม้ครองเขาให้ปลอดภยัไดเ้ด็กจะตอ้งการอยูใ่กลชิ้ดเพราะท าใหรู้้สึกวา่มีความมัน่คงปลอดภยั (Anisworth, Blehar & Wall, 1978; Bowlby, 1969; Klaus & Kennell, 1982; Mercer, 1995) มีผูใ้หค้วามหมายของสัมพนัธภาพไวต่้าง ๆ ดงัน้ี Bowlby (1969) and Anisworth et al. (1978) กล่าววา่ สัมพนัธภาพเป็นกระบวนการท่ีเกิดข้ึนระหวา่งบุคคล 2 คน ท่ีเก่ียวขอ้งผกูพนักนัตลอดเวลา จากการสร้างความพึงพอใจ และมีปฏิสัมพนัธ์ตอบสนองซ่ึงกนัและกนั สัมพนัธภาพหรือความผกูพนัระหวา่งผูเ้ล้ียงดูกบัทารก เป็นสายสัมพนัธ์ทางอารมณ์ท่ีส่งผลใหท้ารกเจริญเติบโตข้ึน เป็นผูท่ี้มีความมัน่คงทางอารมณ์มีบุคลิก ภาพท่ีเหมาะสม สามารถท างานและอยูร่่วมในสังคมกบัผูอ่ื้นได ้

    Klaus and Kennell (1982) กล่าววา่ สัมพนัธภาพเป็นความสัมพนัธ์ท่ีเกิดข้ึนเฉพาะเจาะจงระหวา่งบุคคลสองคน ซ่ึงเกิดข้ึนทีละเล็กทีละนอ้ยอยา่งต่อเน่ืองเป็นอนัหน่ึงอนัเดียวกนัตามระยะ เวลาท่ีผา่นไปและคงทนตลอดไป เร่ิมจากสัมพนัธภาพระหวา่งมารดาและทารก (Maternal-Infant Attachment) วา่เป็นความผกูพนัท่ีมีการพฒันาเป็นล าดบัขั้นตอน ตั้งแต่มารดามีการวางแผนการตั้ง ครรภจ์นกระทัง่หลงัคลอดและจะมีความผกูพนัเพิ่มมากข้ึนเม่ือมารดาและทารกมีปฏิสัมพนัธ์ซ่ึงกนัและกนั (Interaction) ซ่ึงสัมพนัธภาพระหวา่งมารดาระหวา่งมารดาและทารกน้ีจะมีความคงทนถาวรต่อไป

  • 12

    Mercer (1995) กล่าววา่ สัมพนัธภาพเป็นกระบวนการรับรู้ และกระบวนการทางสังคมท่ีพฒันามาจากความรู้สึกดีท่ีมีต่อกนัและมีความพึงพอใจในประสบการณ์ร่วมกนัระหวา่งบุคคล 2 คน

    กล่าวโดยสรุปไดว้า่ สัมพนัธภาพ คือกระบวนการท่ีเกิดข้ึนระหวา่งบุคคล 2 คน ท่ีเก่ียว ขอ้งมีความผกูพนักนัตลอดเวลาและพฒันาอยา่งต่อเน่ือง

    ทฤษฎีสัมพนัธภาพ (Attachment Theory) ของ Bowlby (1969) อธิบายวา่ สัมพน�