Sc

6
รศ.ดร. สุมาลี ชัยเจริญ และ ดร.อิศรา กานจักร สาขาวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ฐานการชวยเหลือมีพื้นฐานมาจากทฤษฎี Social Constructivism ซึ่งเปนทฤษฎีที่มีรากฐานมาจาก Vygotsky ซึ่งมีแนวคิดเกี่ยวกับศักยภาพในการพัฒนาดานพุทธิปญญาที่อาจมีขอจํากัดเกี่ยวกับชวงของการ พัฒนาที่เรียกวา Zone of Proximal Development ถาผูเรียนอยูต่ํากวา Zone of Proximal Development จําเปนที่จะตองไดรับการชวยเหลือในการเรียนรูที่เรียกวา Scaffolding (สุมาลี ชัยเจริญ, 2545) จากวิธีการของ Zo-ped ที่มีการสนับสนุนเพื่อใหการชวยเหลือและการสนับสนุนนี้ เรียกวา Scaffolding(การใหความชวยเหลือ โดยไมหวังผลตอบแทน)อันที่จริง Zo-ped คือการอธิบายเกี่ยวกับเรื่อง ของ scaffolding หรือ affordance (การให) สิ่งแวดลอม การใหความชวยเหลือ รวมทั้งการสนับสนุนเฉพาะ ทางดานอื่น ๆ ดวยและหมายรวมถึงสิ่งที่สรางขึ้นในสิ่งแวดลอมอันเปนการใหความสนับสนุนที่ดีเหมือนกับ บริบททางดานวัฒนธรรมและ ประวัติศาสตร สิ่งแวดลอมทางการศึกษา สวนบุคคลที่นํา Zo-ped ไปใชใน บริบทการเรียนการสอนนั้น เปน บทบาทของครู ในรายละเอียดที่มากขึ้น ครูอาจใชวิธีการนี้เพื่อใหงายในการ ดูแลความคิดความเขาใจทั่วไปของนักเรียน Zone of Proximal Development ผูเรียนอยูเหนือ Zo-ped ผูเรียนอยูต่ํากวา Zo-ped ผูเรียนจําเปนตองไดรับการชวยเหลือ ในการเรียนรู ผูเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง Scaffolding (การใหความชวยเหลือ)

description

การออกแบบฐานการช่วยเหลือ

Transcript of Sc

Page 1: Sc

รศ.ดร. สุมาลี ชัยเจริญ และ ดร.อิศรา กานจักร

สาขาวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา

คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

ฐานการชวยเหลือมีพื้นฐานมาจากทฤษฎี Social Constructivism ซึ่งเปนทฤษฎีที่มีรากฐานมาจาก

Vygotsky ซึ่งมีแนวคิดเกี่ยวกับศักยภาพในการพัฒนาดานพุทธิปญญาที่อาจมีขอจํากัดเกี่ยวกับชวงของการ

พัฒนาที่เรียกวา Zone of Proximal Development ถาผูเรียนอยูตํ่ากวา Zone of Proximal

Development จําเปนที่จะตองไดรับการชวยเหลือในการเรียนรูที่เรียกวา Scaffolding (สุมาลี ชัยเจริญ,

2545)

จากวิธีการของ Zo-ped ที่มีการสนับสนุนเพื่อใหการชวยเหลือและการสนับสนุนน้ี เรียกวา

Scaffolding(การใหความชวยเหลือ โดยไมหวังผลตอบแทน)อันที่จริง Zo-ped คือการอธิบายเกี่ยวกับเรื่อง

ของ scaffolding หรือ affordance (การให) สิ่งแวดลอม การใหความชวยเหลือ รวมทั้งการสนับสนุนเฉพาะ

ทางดานอื่น ๆ ดวยและหมายรวมถึงสิ่งที่สรางข้ึนในสิ่งแวดลอมอันเปนการใหความสนับสนุนที่ดีเหมือนกับ

บริบททางดานวัฒนธรรมและ ประวัติศาสตร สิ่งแวดลอมทางการศึกษา สวนบุคคลที่นํา Zo-ped ไปใชใน

บริบทการเรียนการสอนน้ัน เปน บทบาทของครู ในรายละเอียดทีม่ากข้ึน ครอูาจใชวิธีการน้ีเพื่อใหงายในการ

ดูแลความคิดความเขาใจทั่วไปของนักเรียน

Zone of Proximal Development

ผูเรียนอยูเหนือ Zo-ped

ผูเรียนอยูต่ํากวา Zo-ped ผูเรียนจําเปนตองไดรับการชวยเหลือ

ในการเรียนรู

ผูเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง

Scaffolding (การใหความชวยเหลือ)

Page 2: Sc

จากแนวคิดดังกลาว Scaffolding เปนเหมือนสิ่งแวดลอมในการเรียนรูและใหการสงเสริมสนับสนุนให

ผูเรียนเจริญเติบโตทางดานความคิดซึ่งเปนยุทธวิธีในการจัดการเรียนการสอนซึ่งมีตนกําเนิดมาจาก Vygotsky

ที่เช่ือวาผูเรียนสามารถมคีวามอิสระในการใช สิ่งที่อยูภายใตความสามารถของพวกเขา เมื่อใช Scaffolding

ที่มีการเตรียมการใหความชวยเหลือและสนับสนุนตามลักษณะของโครงสรางความรูที่จะใหผูเรียนไดสราง

ความรูน้ัน Scaffolding จะเปนโครงสรางทางความรูที่แข็งแกรงและเปนพื้นฐาน เมื่อผูเรียนใช Scaffolding

ผูเรียนจะไดรับการสงเสริมสนับสนุนระหวางการเรียนรูเพราะ Scaffoldingจะเปนการใหทางเลือกที่

หลากหลายใหกับผูเรียนในการแสวงหาความรู Scaffolding ไดนํามาใชในการนําทางการจัดการเรียนการ

สอนของผูเรียนไปจนจบการเรียนรู เพื่อใหตรงกับจุดประสงคของการสอนซึ่งครูตองจัดสภาพแวดลอม(รวมถึง

กิจกรรมที่สอน) เพื่อชวยผูเรียนใหเกิดการเรียนรู

Griffin & Cole (1984) ไดใหแนวความคิดเกี่ยวกับการใหความชวยเหลือ Scaffolding วาคือบท

สนทนาระหวางเด็กกับตัวเขาเองในอนาคต ซึ่งไมใชบทสนทนาระหวางเด็กและอดีตของผูใหญที่ผานมาแลว ซึ่ง

Greenfield(1989) กลาววา คุณลักษณะที่สําคัญของฐานใหความชวยเหลือ(Scaffolding) ที่ชวยสงเสริมให

ผูเรียนเกิดโครงสรางความรูมีอยู 5 ลักษณะ ดังน้ี

1. เปนสิ่งที่ชวยสนับสนุน

2. เปรียบเสมือนเครื่องมือในการเรียนรู

3. เปนสิ่งชวยขยายฐานความรูของผูเรียน

4. อนุญาตใหผูเรียนทําภารกิจงานใหสําเร็จเทาที่เปนไปได

5. ผูเรียนสามารถเลือกสิ่งที่ตนเองตองการจะรูไดตรงเปาหมาย

การสอนเกิดข้ึนโดยการมีปฏิสัมพันธกันระหวางผูที่เปนมือสมัครเลน(Novice)กับผูที่เช่ียวชาญ

(Expert) ซึ่งทั้งสองจะตองมีการสื่อสารรวมกัน มือสมัครเลนสามารถที่จะพัฒนามาเปนผูเช่ียวชาญไดเมื่อเขา

เจอปญหาแลวสามารถแกไขหรือทําความเขาใจกับปญหาน้ันไดผูที่เช่ียวชาญจะคอยเปนฐานใหความชวยเหลือ

เพื่อทําใหความสามารถของคนที่เปนมือสมัครเลนไดรับการพัฒนาและปรับปรุงแกไขใหเหมาะสม สงเสริมใหผู

ที่เปนมือสมัครเลนเรียนรูไดดวยตนเองไดอยางอิสระ(Rogoff & Gardner,1984) สิ่งน้ีเปนผลมาจาก Zo-ped

ของ Vygotsky ที่เช่ือวาคนที่อยูตํ่ากวาระดับที่จะสามารถเรียนรูไดดวยตนเองน้ันตองการการชวยเหลอืจากผูที่

เช่ียวชาญไมวาจะเปนคนหรือเทคโนโลยีตางๆ เพราะความสําเร็จของพวกเขาไมสามารถเกิดข้ึนไดโดยตนเอง

เพียงลําพัง (สุมาลี ชัยเจริญ, 2545)

ฐานการชวยเหลือ (Scaffolding) ตามหลักการของ Hannafin

ฐานการชวยเหลือ เปนกระบวนการซึ่ง ความพยายามในการเรียนรูจะไดรับการสนับสนุนในขณะที่เขา

สู OLEs ฐานความชวยเหลือสามารถที่จะแยกความแตกตางโดยกลไกการทํางานและระบบการทํางาน

ทางดานกลไกจะเนนวิธีการหรือหลักการ ซึ่งฐานความชวยเหลือนําเสนอในขณะที่ระบบการทํางานจะเนน

วัตถุประสงค แตละคนพยายามแกปญหาทั้งที่เปนปญหาที่เหมาะสมหรือความตองการในการเรียนรูของแตละ

Page 3: Sc

คน สะทอนใหเห็นไดจากการเขาสูบริบท ดังที่แสดงในตารางที่ 1 OLEs ความซับซอนของ Scaffolding จะ

แปรผันตามการกําหนดหรือสรางปญหา

ตารางที่ 1 แสดงการจําแนกประเภทของฐานความชวยเหลือของ OLEs

รูปแบบของฐานความชวยเหลือ หลักการท่ีเก่ียวของ และ กลไก

ฐานความชวยเหลือการสรางความคิดรวบยอด

(Conceptual)

แนะแนวสําหรับสิ่งท่ีตองพิจารณา ขอควร

พิจารณา เม่ือระบุภารกิจของปญหา

ฐานความชวยเหลือดานกลยุทธ (Strategic)

แนะแนวในการวิเคราะหและวิธีการเรียนรู

ภารกิจและปญหา

เสนอแนะเก่ียวกับการใชเคร่ืองมือในขั้นตอนท่ี

เฉพาะในการแกปญหา

นําเสนอผูเรียนโดยใชการบอกท่ีชัดเจนและการ

บอกใบท่ีจําเปน(การชวยเหลือของ Vygotsky)

นําเสนอแผนท่ีโครงสรางและตนไมความรู

กระตุนการตอบสนองอยางสมองกลตอการใช

ระบบ แนะนําหลักการท่ีเปนทางเลือกหรือ

กระบวนการ

พิจารณาเก่ียวกับจัดเตรียมคําถามท่ีเร่ิมคน

จัดหาคําแนะนําจากผูเชี่ยวชาญ

1. ฐานความชวยเหลือการสรางความคิดรวบยอด (Conceptual Scaffolding)

Conceptual Scaffolding จะจัดหามาใหผูเรียนเมื่อปญหาที่กําลังศึกษาไดถูกกําหนดข้ึน น่ันก็คือ

Externally impose หรือการนําเขาสูบริบท เมื่อปญหาและขอบขายถูกกําหนดข้ึนน้ัน อาจเปนไปไดที่ตองใช

หลักการที่ตองเรียนรูมากอนเปนสิ่งจําเปนในขอบเขตเน้ือหาที่ตองการศึกษา การเกิดความเขาใจที่

คลาดเคลื่อน (Misconception) ในหลักการทางวิทยาศาสตร และจึงมีความจําเปนที่จะตองใหพื้นฐานที่

แข็งแกรงสําหรับการคาดคะเน เชน ความยากในการสรางเปนความคิดรวบยอด ดังน้ัน Conceptual

Scaffolding เปนสิ่งท่ีออกแบบมาเพ่ือชวยผูเรียนในการใหเหตุผล โดยผานทางปญหาท่ีซับซอนและยัง

สงสัย เชนเดียวกับความคิดรวบยอดท่ีมักจะเกิดความเขาใจท่ีคลาดเคลื่อน การบอกใบ (Hint) สามารถ

แนะแนวทางใหผูเรียนสามารถเขาสูแหลงทรัพยากร การใชเครื่องมือจะไดรับการเสนอแนะเพื่อใหสามารถ

ทําความเขาใจสถานการณที่เปนปญหา

Conceptual Scaffolding จะแนะแนวผูเรียนเก่ียวกับสิ่งท่ีควรจะนํามาพิจารณา นั่นคือสิ่งท่ี

จะตองแยกแยะ ความรูท่ีเปนความคิดรวบยอดท่ีสําคัญ ท่ีเก่ียวของกับปญหา หรือการสรางโครงสรางท่ีจะ

ทําโดยแยกไปสูการจัดหมวกหมูของความคิดรวบยอด โครงสรางน้ีอาจทําไดเปน กลไก การจัดลําดับ

Page 4: Sc

ความสัมพันธ โดยใชภาพกราฟกแสดงความคิดเห็น หรือเปนการแสดงเปนเคาโครงของลักษณะที่แยกเปนสวย

ยอย หรืออาจเปนสารสนเทศหรือการบอกใบโดยผูเช่ียวชาญ

ใน OLEs Conceptual Scaffolding จะจัดเตรียมแนวคิดที่หลากหลายที่เปนปญหาที่เกี่ยวของกับ

ความคิดรวบยอดที่จะศึกษา อาจไมไดเปนการแนะนําเกี่ยวกับแหลงทรัพยากรอยางชัดเจน ตัวอยางเชน

สิ่งแวดลอมทางการเรียนรู Jasper ไดใชวีดิโอในการนําเสนอ ซึ่งอาจไมไดแยกเสียงออกตางหากจากความคิด

รวบยอดที่เฉพาะเจาะจง แตอาจเปนการนําเสนอตัวอยางของสิ่งท่ีควรจะตองพิจารณาเก่ียวกับการ

แกปญหาดังกลาว

2. ฐานความชวยเหลือดานกลยุทธ (Strategic Scaffolding)

เปนวิธีการที่เนนเกี่ยวกับวิธีการที่เปนทางเลือก ที่อาจเปนสิ่งที่พิสูจนวาเปนสิ่งที่มีประโยชน

Strategic Scaffoldingจะสนับสนุนการคิดวิเคราะห การวางแผนยุทธศาสตร กลยุทธ การตัดสินใจ

ระหวางการเรียนรูแบบเปด จะเนนเก่ียวกับวิธีการสําหรับ แยกแยะและเลือกสารสนเทศท่ีตองการ

ประเมินแหลงทรัพยากรท่ีจัดหาได และเชื่อมความเก่ียวพันธระหวางความรูความรูท่ีมีมากอนและ

ประสบการณ ดังเชนตัวอยาง เรื่อง Great Solar System Rescue (1992) ไดเสนอทางเลือกที่จะเขาถึง

ปญหาในทางปฏิบัติ จัดหาระดับของขอแนะนํา คําถามที่ตองการพิสูจน สามารถเปนกลยุทธที่นํามาใช ซึ่งจะ

พยายามใหไดเช่ือมความเกี่ยวของสิ่งตางๆ ในการแกปญหา แตไมใชการประนีประนอมในการแกปญหา

กลยุทธอื่นๆ ของ Strategic Scaffolding จะไปกระตุนใหผูเรียนต่ืนตัวกับ เครื่องมือและแหลง

ทรัพยากรที่อาจจะมีประโยชนภายใตสถานการณน้ัน และแนะแนวทางการใช อาจเปนการจัดขอคําถามที่จะ

ชวยในการพิจารณา ในขณะที่ทําการประเมินปญหาเชนเดียวกับการ บอกใบวา เครื่องมือหรือแหลงทรัพยากร

ใดมีสารสนเทศที่ตองการในการแกปญหา

Page 5: Sc

หลักการออกแบบ Scaffolding (การใหความชวยเหลือ)

ตามหลักการของ Hannafin

1. การออกแบบฐานความชวยเหลือการสรางความคิดรวบยอด (Conceptual Scaffolding)

Conceptual Scaffolding

เปนสิ่งที่ชวยทําใหผูเรียนสรางความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน

แยกแยะความรูที่เปนความคิดรวบยอดที่สําคัญ ที่เกี่ยวของกับปญหา

การสรางโครงสรางที่จะทําโดยแยกไปสูการจัดหมวดหมูของความคิดรวบยอด เชน

- กลไกการจัดลําดับความสัมพันธ โดยใชภาพกราฟกแสดงความคิดเห็น

- การแสดงเปนเคาโครงของลักษณะที่แยกเปนสวยยอย

- สารสนเทศหรือการบอกใบโดยผูเช่ียวชาญ

ตัวอยาง

สมมติวาตอนน้ีทานเปนนักโภชนาการ ประจําศูนยสุขภาพซึ่งมหีนาที่ในการใหคําแนะนําเกี่ยวกับการ

ดูแลสุขอนามัยของประชาชน ในวันน้ีมีผูปวยรายหน่ึง ช่ือ นายสมชาย เปนคนที่มีกลามเน้ือไมแข็งแรง ผอม

แหง แรงนอย แคระแกรน เหน่ือยงาย เขาเปนคนที่ชอบกินผักและผลไม แตไมชอบกินเน้ือสัตว ในฐานะที่

ทานเปนนักโภชนาการจะมีวิธีการชวยเหลือนายสมชายอยางไร เพื่อใหกลับมามีสุขภาพที่แข็งแรงและมีรูปราง

ที่สงางามสมชายเหมือนช่ือ

ภารกิจ

คุณตองชวยนายศรรามในการเลือกซื้ออาหารกลับไปรับประทานที่บาน โดยคุณจะตองสามารถ

• ทําการวิเคราะหวานายสมชายมีปญหาเรื่องสุขภาพเน่ืองมาจากสาเหตุใดพรอมใหเหตุผล

• อธิบายแนวทางในการแกปญหาสุขภาพของนายสมชายพรอมใหเหตุผล

• บอกวิธีการปฏิบัติตนเพื่อปองกันการเกิดปญหาดังกลาว

Page 6: Sc

Conceptual Scaffolding

2. การออกแบบฐานการชวยเหลือดานกลยุทธในการแกปญหา Strategic Scaffolding

Strategic Scaffolding จะสนับสนุนการคิดวิเคราะห การวางแผนยุทธศาสตร กลยุทธ การ

ตัดสินใจระหวางการเรียนรู จะเนนเกี่ยวกับวิธีการสําหรับจําแนกและเลือกสารสนเทศที่ตองการ ประเมินแหลง

ทรัพยากรที่จัดหาได และเช่ือมความเกี่ยวพันธระหวางความรูที่มีมากอนและประสบการณ อาจเปนการจัดขอ

คําถามที่จะชวยในการพิจารณา ในขณะที่ทําการประเมินปญหาเชนเดียวกับการ บอกใบวา เครื่องมือหรือ

แหลงทรัพยากรใดมีสารสนเทศที่ตองการในการแกปญหา

Key word ท่ีสําคัญเก่ียวกับ Strategic Scaffolding

แนะนําเกี่ยวกับการวิเคราะหสถานการณที่เปนปญหา เชน คนหา Key word ที่เกี่ยวของ

วิเคราะหประเด็นหลักหรือ Key word ที่สําคัญของปญหาน้ันๆ

วิเคราะหแนวทางใหไดซึ่งแหลงขอมูลที่ใชในการแกปญหา

เช่ือมโยงความสัมพันธระหวาง Key word ของปญหากับ Key word ในแหลงขอมูล ที่จะ

นําไปใชในการแกปญหา

ตองเปนการแนะนํา หรือบอกใบ แนวทางการแกปญหา และกระตุนใหเกิดการคิดใน ระดับสูง

(Higher-order thinking) ไมใชเปนการบอกคําตอบ

Strategic Scaffolding

• วิเคราะหหา Key Concept ของปญหาวาคืออะไร

• พิจารณาหา Key Word ของปญหาแลวนําไปเช่ือมโยงกับ Key Word

ในแหลงขอมูลที่จะใชแกปญหา

• จากสถานการณ ตองการหาวิธีการแกไขปญหาสุขภาพของนาย

สมชาย ที่กลามเน้ือไมแข็งแรง เหน่ือยงาย รางกายผายผอม และที่

สําคัญไมชอบกินเน้ือสัตว จากสภาพดังกลาวทานตองพิจาณาวา

สาเหตุที่นาจะเปนไปไดนาจะมาจากอะไร

โปรตีน

สัตว ์

พืช

แหล่งทีมา ประโยชน์

เป็นสารอาหารทีมากในเนือสัตว์

ช่ ว ย ใ น ก า ร เ ส ริ ม ส ร้ า ง แ ล ะ

ซ่อมแซมส่วนทีสึกหรอ