Organizational Commitment of the Employees : A Case Study ...

24
1 ความผูกพันตอองคการของพนักงาน : กรณีศึกษา บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด Organizational Commitment of the Employees : A Case Study of Lee Pattana Animal-Feed Mill Co. Ltd. นายกัมพล วรชัยยุทธ 1 (Mr.Kumpoln Vorachaiyut) อาจารย ดร.จินตนา กาศมณี 2 ศาสตราจารย ดร.พรรณี บัวเล็ก (Prof. Dr. Punnee Bualek) บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาระดับความผูกพันตอองคการของพนักงาน บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด และปจจัยที่มีความสัมพันธตอความผูกพันตอองคการของ พนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด จําแนกตามปจจัยสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม และปจจัยดานองคการ เปนการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใชแบบสอบถามเก็บรวบรวมขอมูลกับ พนักงาน บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด และกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย คือ พนักงานบริษัท ลี พัฒนาอาหารสัตว จํากัด จํานวนทั้งสิ้น 186 คน วิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ โดยคํานวณหาคาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติ Crosstabs หาความสัมพันธกันระหวางปจจัยสวนบุคคลและ ปจจัยดานองคการที่มีผลตอพนักงาน บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด แสดงผลเปนคารอยละ ผลการวิจัยพบวาสวนใหญเปนเพศชายมีอายุ 41 ป ขึ้นไป มีสถานภาพสมรสโดยผูที่มี อายุนอยที่สุดคือ 23 ป อายุมากที่สุดคือ 58 ป และการศึกษาอยูในระดับปริญญาตรี รายไดเฉลี่ย ตอเดือนประมาณ 10,001-20,000 บาท และระยะเวลาในการปฏิบัติงานที่ บริษัท ลีพัฒนาอาหาร สัตว จํากัด อายุงานระหวาง 10 20 ป สําหรับความผูกพันตอองคการของพนักงาน บริษัท ลี พัฒนาอาหารสัตว จํากัด วัดจากความผูกพัน 3 ดาน พบวา ภาพรวมอยูในระดับมาก อันดับแรก 1 นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารจัดการองคการ คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก 2 อาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก

Transcript of Organizational Commitment of the Employees : A Case Study ...

1

ความผูกพันตอองคการของพนักงาน :กรณีศึกษา บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด

Organizational Commitment of the Employees : A Case Study of Lee Pattana Animal-Feed Mill Co. Ltd.

นายกัมพล วรชัยยุทธ1

(Mr.Kumpoln Vorachaiyut)อาจารย ดร.จินตนา กาศมณี 2

ศาสตราจารย ดร.พรรณี บัวเล็ก

(Prof. Dr. Punnee Bualek)

บทคัดยอการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาระดับความผูกพันตอองคการของพนักงาน

บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด และปจจัยที่มีความสัมพันธตอความผูกพันตอองคการของ

พนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด จําแนกตามปจจัยสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม

และปจจัยดานองคการ เปนการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใชแบบสอบถามเก็บรวบรวมขอมูลกับ

พนักงาน บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด และกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย คือ พนักงานบริษัท ลี

พัฒนาอาหารสัตว จํากัด จํานวนทั้งสิ้น 186 คน วิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ

โดยคํานวณหาคาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติ Crosstabs

หาความสัมพันธกันระหวางปจจัยสวนบุคคลและ ปจจัยดานองคการที่มีผลตอพนักงาน บริษัท

ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด แสดงผลเปนคารอยละ

ผลการวิจัยพบวาสวนใหญเปนเพศชายมีอายุ 41 ป ขึ้นไป มีสถานภาพสมรสโดยผูที่มี

อายุนอยที่สุดคือ 23 ป อายุมากที่สุดคือ 58 ป และการศึกษาอยูในระดับปริญญาตรี รายไดเฉลี่ย

ตอเดือนประมาณ 10,001-20,000 บาท และระยะเวลาในการปฏิบัติงานที่ บริษัท ลีพัฒนาอาหาร

สัตว จํากัด อายุงานระหวาง 10 ป– 20 ป สําหรับความผูกพันตอองคการของพนักงาน บริษัท ลี

พัฒนาอาหารสัตว จํากัด วัดจากความผูกพัน 3 ดาน พบวา ภาพรวมอยูในระดับมาก อันดับแรก

1 นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารจัดการองคการ คณะศิลปศาสตร

มหาวิทยาลัยเกริก2 อาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก

ความปรารถนาอยางแรงกลาที่จะคงความเปนสมาชิกขององคกร รองลงมาความเต็มใจที่จะทุมเท

ความพยายามที่จะปฏิบัติงานเพื่อองคกร และความเชื่อมั่นและยอมรับในเปาหมายและคานิยม

ขององคการ สวนปจจัยดานองคการที่สงผลตอความผูกพันตอองคการของพนักงาน บริษัท ลี

พัฒนาอาหารสัตว จํากัด ในภาพรวมและรายดานอยูในระดับมาก และดานการยอมรับนับถือ ดาน

ความรับผิดชอบ ดานความมั่นคงในการปฏิบัติงาน ดานชีวิตความเปนอยูสวนตัว และดานลักษณะ

งานอยูในระดับปานกลาง อันอับแรกดานความสัมพันธระหวางบุคคล รองลงมาดานสถานภาพ

ของวิชาชีพ ดานการปกครองบังคับบัญชา ดานสภาพการปฏิบัติงาน ดานเงินเดือน ดาน

ความกาวหนาในตําแหนง ดานความสําเร็จในการทํางาน ดานนโยบายและการบริหาร ดานความ

รับผิดชอบ ดานการยอมรับนับถือ ดานความมั่นคงในการปฏิบัติงาน ดานชีวิตความเปนอยูสวนตัว

และดานลักษณะงาน ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา ปจจัยสวนบุคคล ไดแก เพศ อายุ

สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายไดเฉลี่ยตอเดือน ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน และปจจัยดาน

องคการไดแก ดานความสัมพันธระหวางบุคคล ดานสถานภาพของวิชาชีพ ดานการปกครอง

บังคับบัญชา ดานสภาพการปฏิบัติงาน ดานเงินเดือน ดานความกาวหนาในตําแหนง ดาน

ความสําเร็จในการทํางาน ดานนโยบายและการบริหาร ดานความรับผิดชอบ ดานการยอมรับนับ

ถือ ดานความมั่นคงในการปฏิบัติงาน ดานชีวิตความเปนอยูสวนตัว และดานลักษณะงาน มี

ความสัมพันธกับความผูกพันตอองคการของพนักงาน บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด

คําสําคัญ : ความผูกพัน องคการ พนักงาน

AbstractThe objectives of this research were to 1) determine the level of organizational

commitment of the employees of Lee Pattana Animal-Feed Mill Co. Ltd., and 2)

investigate the factors associated with the organizational commitment of the employees

of Lee Pattana Animal-Feed Mill Co. Ltd., classifying according to the personal

background of the respondents. The questionnaire was used as the research tool. The

samples were 186 employees of Lee Pattana Animal-Feed Mill Co. Ltd. The data

received were processed by statistical package for frequency, percentage, arithmetic

mean (µ), standard deviation (σ), and crosstabs.

The results revealed that the majority of the respondents were male, 41 years old

and up, married, received Bachelor’s Degrees, earned average monthly income between

10,001 – 20,000 baht, and worked at Lee Pattana animal-Feed Mill Co. Ltd. between 10-

20 years. In terms of the overall organizational commitment, it was found at high level.

The factor that received the highest mean was the intention to remain in the organization.

Next on down were the willingness to exert extra effort on its behalf, and the identification

with the organizational goals and values, respectively. As for the overall and each of

organizational factors influencing the organizational commitment, they were found at high

level. The factors of recognition, responsibility, job security, personal life, and job

characteristics, respectively, were at moderate level. Considering at each factor, the

factor of interpersonal relationship received the highest mean. Next on down were:

professional status, supervision, work condition, salary, career path advancement, work

achievement, policy and administration, responsibility, recognition, job security, personal

life and work condition, respectively. In terms of the hypothetical testing results, it was

found that gender, age group, marital status, educational background, average monthly

income, and years of working in the company, together with the organizational factors -

interpersonal relationship, professional status, supervision, work condition, salary, career

path advancement, work achievement, policy and administration, responsibility,

recognition, job security, personal life and work characteristics - were associated with

organizational commitment of the respondents.

Key words: Organizational Commitment Employees

บทนําปจจุบันสภาพสังคมไทยไดมีการเปลี่ยนแปลงจากสังคมเกษตรกรรมไปสูสังคม

อุตสาหกรรมมากยิ่งขึ้น เนื่องจากการพัฒนาทางดานวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและระบบขอมูล

สารสนเทศสงผลใหกระแสการแขงขันมีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นทั้งภายในและภายนอกประเทศ ซึ่ง

เปนการแขงขันอยางเสรีในระดับโลก ทําใหทุกธุรกิจตองเผชิญกับการแขงขันที่กดดัน และรุนแรง

มากกวาในอดีต ทรัพยากรมนุษยจึงถือเปนพื้นฐานที่สําคัญ แมปจจุบันมีการนําเทคโนโลยี

เครื่องจักรกลเขามาใชแทนแรงงาน แตก็ไมสามารถเขามาทดแทนไดทั้งหมด งานในหลายอยาง

ยังคงตองอาศัยการควบคุมดูแลโดยมนุษย ดังนั้นองคการจึงตองสรรหาบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ

รวมทั้งสงเสริมและพัฒนาศักยภาพของบุคลากรอยางตอเนื่องโดยองคการตองเขาใจธรรมชาติของ

มนุษยวามนุษยมีความรักในงานและรักความกาวหนาอยูในตนเอง แตการที่จะใชความสามารถให

ปรากฏเปนผลงานที่ดีออกมาไดเพียงใดนั้น จะขึ้นอยูกับเงื่อนไขภายนอกตางๆ เชน ลักษณะการ

ปกครองบังคับบัญชาของหัวหนางานที่ดี ยอมทําใหเกิดขวัญและกําลังใจแกพนักงาน และพนักงาน

จะพรอมทุมเทความรูความสามารถและความภักดีใหกับองคการใหปรากฏผลงานมากกวาปกติที่

ควรจะเปน อีกประการหนึ่งที่สงผลใหองคการมีการดําเนินงานไดอยางตอเนื่องและมีประสิทธิภาพ

มากยิ่งขึ้น เปนเพราะวาองคการมีพนักงานที่มีประสบการณในการทํางาน พนักงานเหลานี้ยอมมี

ความรูความชํานาญในการปฏิบัติงานที่ดีกวาพนักงานใหม ดังนั้นจึงจําเปนตองคํานึงถึงความ

ผูกพันของพนักงานที่มีตอองคการเปนสําคัญดวย

ความผูกพันตอองคการ ถือเปนสิ่งสําคัญที่จะชวยรักษาทรัพยากรมนุษยที่มีคาใหคงอยูใน

องคการ โดยองคการตองสรรสรางใหทรัพยากรมนุษยเหลานั้นมีความสุขในการทํางาน เต็มใจที่จะ

ทํางานใหองคการอยางสุดความสามารถ เมื่อพนักงานมีความสุขและเต็มใจในการทํางานแลว

พนักงานเหลานั้นยอมทุมเทแรงกาย แรงใจสรางสรรคงานที่มีคุณภาพ เพื่อประโยชนสูงสุดในการ

สรางศักยภาพการแขงขันใหแกองคการตอไป ในปจจุบันคงตองยอมรับวาความตองการแรงงานมี

มากขึ้นอยางตอเนื่อง ดังนั้นองคการตางๆ จึงใหความสําคัญกับการรักษาพนักงานไวเปน

ความสําคัญอันดับตนๆจึงจําเปนตองคํานึงถึงความผูกพันของพนักงานที่มีตอองคการ เพื่อสราง

ทีมงานที่มีศักยภาพและสงผลใหการดําเนินงานไดบรรลุตามเปาหมาย แตหลีกเลี่ยงไมไดวาปจจัย

สําคัญที่สงผลกระทบกับการดําเนินงานขององคการ คือความผูกพัน (Engagement) ในองคการที่

เริ่มลดลง

บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด ต้ังอยูเลขที่ 33/137 ถนนสุรวงศบางรัก กรุงเทพฯ 10500

สถานที่ตั้งโรงงานผลิตอาหารสัตว 33/1 หมูที่ 7 ถนนพหลโยธิน ตําบลดาวเรือง อําเภอเมือง จังหวัด

สระบุรี โดยดําเนินธุรกิจผลิตอาหารสัตว เพื่อการสงออกและจําหนายภายในประเทศเปนบริษัท

ใหญดําเนินธุรกิจดานการผลิตและจําหนายอาหารสัตวสําเร็จรูปสําหรับสัตวบกและสัตวน้ํา ชนิด

เม็ด ชนิดผง และหัวอาหาร ไดแก อาหารสุกร ไก เปด วัว ปลา และกุง เปนตน ภายใตเครื่องหมาย

การคา “ ลี ” “ วิน ” “ แมกซ ” และ “โปร-เกรด” โดยมีโรงงานตั้งอยูที่จังหวัดเพชรบุรี นอกจากนี้ยัง

ดําเนินธุรกิจดานฟารมเลี้ยงสัตวที่อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรีและการผลิตลูกไกเนื้อ โดยมีฟารม

พอแมพันธุไกเนื้อและโรงฟกลูกไกเนื้อ ที่จังหวัดเพชรบูรณ แตเนื่องจากภาวการณไขหวัดนกที่

เกิดขึ้นในชวงป 2547 บริษัทจึงไดหยุดดําเนินกิจการโรงฟกลูกไกเนื้อเปนการชั่วคราวตั้งแตวันที่ 1

ตุลาคม 2547 และปจจุบันไดเปลี่ยนมาดําเนินกิจการฟารมเพาะพันธุไมยางพารา ซึ่งอยูระหวาง

การเริ่มตนของโครงการ

บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด เปนบริษัทยอย ดําเนินธุรกิจดานการผลิตและจําหนาย

อาหารสัตวสําเร็จรูปเชนเดียวกับบริษัทใหญ ไดแก อาหารสุกร ไก เปด วัว ปลา และกุง เปนตน

ภายใตเครื่องหมายการคา “ ลี ” “ วิน ” “ แมกซ ” และ “โปร-เกรด” รวมทั้งอาหารสัตวเลี้ยง เชน

อาหารสุนัข เปนตน ภายใตเครื่องหมายการคา “PETTO” โดยมีโรงงานตั้งอยูที่จังหวัดสระบุรี

ปจจุบันมีพนักงาน สวนการผลิต และการขนสง ซึ่งเปนพนักงานรายเดือน รวมทั้งสิ้น 186 คน

(บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด , ฝายทรัพยากรบุคคล, 2559)

ผูศึกษามีความสนใจที่จะมุงศึกษาถึงระดับความผูกพันตอองคการของพนักงาน

กรณีศึกษา บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด ตลอดจนปจจัยที่มีความสัมพันธตอความผูกพันตอ

องคการของพนักงาน กรณีศึกษา บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด เพื่อนําผลการศึกษามาเปน

แนวทางสําหรับผูบริหารเพื่อการจัดการใหสอดคลองกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นใน บริษัท ลี

พัฒนาอาหารสัตว จํากัด และนําไปเปนแนวทางชวยใหพนักงาน สามารถปฏิบัติงานไดอยางมี

ประสิทธิภาพ มีความตั้งใจทุมเทในการทํางานเพื่อความสําเร็จของบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว

จํากัด และใหเกิดความรักความผูกพันตอบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด ที่จะสามารถธํารงรักษา

พนักงานของ บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด ใหคงอยูกับองคการใหยาวนานที่สุด

วัตถุประสงคของการศึกษา1.เพื่อศึกษาระดับความผูกพันตอองคการของพนักงาน บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด

2. เพื่อศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธตอความผูกพันตอองคการของพนักงาน บริษัท ลี

พัฒนาอาหารสัตว จํากัด

ขอบเขตของการศึกษา1.ดานเนื้อหา ศึกษาระดับความผูกพันของพนักงาน บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด

และปจจัยที่มีความสัมพันธตอความผูกพันตอองคการของพนักงาน บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว

จํากัด

2. ดานประชากร ประชากรที่ใชในการศึกษาไดแก พนักงาน บริษัท ลีพัฒนาอาหาร

สัตว จํากัด ประกอบดวย แผนกการผลิต และแผนกขนสงสินคา ทั้งหมด 186 คน

3. ระยะเวลาที่ดําเนินการศึกษา การศึกษาวิจัยใชเวลาประมาณ 1 ภาคการศึกษาและ

เก็บรวบรวมขอมูลระหวาง เดือน ตุลาคม – ธันวาคม พ.ศ. 2559

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับทราบถึงระดับความผูกพัน ตลอดจนปจจัยที่มีความสัมพันธตอความผูกพันตอ

องคการโดยสามารถนําไปสูการกําหนดแนวทางในการวางแผนงานการบริหารจัดการทรัพยากร

มนุษย และแนวทางในการสรางความผูกพันตอองคการของพนักงาน บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว

จํากัด

กรอบแนวคิดในการศึกษาการศึกษานี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา ความผูกพันตอองคการของพนักงานบริษัท ลี

พัฒนาอาหารสัตว จํากัดโดยใชแนวคิดทฤษฎี ของ ทฤษฎีสองปจจัยของ Herzberg ซึ่งกลาวไววา

ความรูสึกที่ดีนั้นโดยทั่วไปแลวมักจะเกิดขึ้นควบคูไปกับลักษณะในเนื้องาน (Job Content) สวน

ความรูสึกที่ไมดีนั้นมักจะเกิดขึ้นควบคูไปกับสภาพที่อยูลอมรอบงาน จึงสรุปไดวา ปจจัยที่

กอใหเกิดความพึงพอใจในงานนั้นจะสัมพันธกับลักษณะในเนื้องานจึงเรียกปจจัยที่ทําใหเกิดความ

พึงพอใจนี้วา ปจจัยจูงใจ ประกอบดวย ความสําเร็จในการทํางาน การยอมรับนับถือ ลักษณะงาน

ความรับผิดชอบ และความกาวหนาในตําแหนง สวนปจจัยที่ทําใหเกิดความไมพึงพอใจในงานนั้น

จะสัมพันธกับสภาพแวดลอมที่อยูนอกเนื้องาน ซึ่งเรียกปจจัยที่กอใหเกิดความไมพึงพอใจนี้วา

ปจจัยค้ําจุน ไดแก เงินเดือน ความสัมพันธระหวางบุคคล การปกครองบังคับบัญชา นโยบายและ

การบริหาร สภาพการปฏิบัติงาน สถานภาพของวิชาชีพ ความมั่นคงในการปฏิบัติงาน และชีวิต

ความเปนอยูสวนตัว และเมื่อนําเอาประเด็นปจจัยจูงใจและปจจัยค้ําจุนมารวมกัน จึงเรียกวา

ทฤษฎีสอง ปจจัยของ Herzberg เปนแนวคิดทฤษฎีที่ทําใหผูบริหารไดทราบวาปจจัยใดที่เปน

แรงจูงใจในการทํางานของบุคคลเพื่อที่จะใหบุคคลทํางานอยางมีประสิทธิภาพและทํางานให

องคการอยางเต็มที่และทราบวาปจจัยใดเปนปจจัยที่สงเสริมความพึงพอใจในการทํางานเพื่อชวย

ใหพนักงานไมคิดที่จะลาออกจากงาน

สําหรับตัวแปรตาม โดยใชทฤษฎีของ Porter, L.W. and R.M.Steers (1983:11) ได

กลาวถึง ความรูสึกของผูปฏิบัติงานที่มีตอองคการ ซึ่งมีลักษณะของความสัมพันธอันแนนแฟนและ

เปนไปในทิศทางที่ดี โดยแสดงออกมาในรูปของ ความเชื่อและยอมรับในเปาหมายและคานิยมของ

องคกร ความเต็มใจที่จะทุมเทความพยายามที่จะปฏิบัติงานเพื่อองคกร และความปรารถนาอยาง

แรงกลาที่จะคงความเปนสมาชิกขององคกรและ บุคคลที่มีความผูกพันตอองคการจะมีพฤติกรรมที่

สอดคลองกับความตองการขององคการเสมอ มากําหนดตัวแปร ดังแผนภาพที่ 2.2

ตัวแปรตน ตัวแปรตาม

ภาพที่ 2.3 กรอบแนวคิดในการศึกษา

ปจจัยสวนบุคคล

1) เพศ

2) อายุ

3) สถานภาพสมรส

4) ระดับการศึกษา

5) รายไดเฉลี่ยตอเดือน

6) ระยะเวลาการปฏิบัติงาน

ปจจัยดานองคการ

ปจจัยจูงใจ1) ความสําเร็จในการทํางาน

2) การยอมรับนับถือ

3) ลักษณะงาน

4) ความรับผิดชอบ

5) ความกาวหนาในตําแหนง

ปจจัยค้ําจุน1) เงินเดือน

2) ความสัมพันธระหวางบุคคล

3) การปกครองบังคับบัญชา

4) นโยบายและการบริหาร

5) สภาพการปฏิบัติงาน

6) สถานภาพของวิชาชีพ

7) ความมั่นคงในการปฏิบัติงาน

8) ชีวิตความเปนอยูสวนตัว

ความผูกพันของพนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด

1)ความเชื่อและยอมรับในเปาหมาย

และคานิยมขององคกร

2)ความเต็มใจที่จะทุมเทความ

พยายามที่จะปฏิบัติงานเพื่อองคกร

3) ความปรารถนาอยางแรงกลาที่จะ

คงความเปนสมาชิกขององคกร

สมมติฐานในการศึกษาจากแนวคิดทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวของกับความผูกพันตอองคการของพนักงาน

บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด ผูศึกษาไดกําหนดสมมติฐานเพื่อการศึกษา มีดังตอไปนี้

สมมติฐานที่ 1 ปจจัยสวนบุคคล ไดแก เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา

รายไดเฉลี่ยตอเดือน และระยะเวลาในการปฏิบัติงานมีความสัมพันธกับความผูกพันตอองคการ

ของพนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด แตกตางกัน

สมมติฐานที่ 2 ปจจัยดานองคการมีความสัมพันธกับความผูกพันตอองคการของ

พนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด แตกตางกัน

ประชากรและกลุมตัวอยางประชากรที่ใชในการศึกษา คือ พนักงาน บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด แผนกการ

ผลิต และแผนกขนสงสินคา จํานวน 186 คน

การเก็บรวบรวมขอมูลผูศึกษาไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล แบงเปน 2 วิธี ดังนี้

1) ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เปนการรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับ แนวคิดหลักการ

และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับเรื่องปจจัยที่สงผลตอความผูกพันตอองคการของพนักงานบริษัท ลี

พัฒนาอาหารสัตว จํากัด โดยศึกษาจากหนังสือ บทความในวารสาร เอกสารทางวิชาการ

วิทยานิพนธ/สารนิพนธ และขอมูลอางอิงที่เกี่ยวของผานเครือขายอินเตอรเน็ต

2) ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ใชแบบสอบถามความผูกพันตอองคการของ

พนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด โดยเก็บขอมูลกับกลุมพนักงาน บริษัท ลีพัฒนาอาหาร

สัตว จํากัด จํานวน 186 คน

การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใชในการศึกษาผูศึกษาไดดําเนินการวิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ ดังตอไปนี้

1) คารอยละ (Percentage) และคาเฉลี่ย (Mean) ใชสําหรับอธิบายลักษณะขอมูล

ทั่วไปเกี่ยวกับปจจัยสวนบุคคล

2) คาเฉลี่ย (Mean) คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard Deviation) ใชอธิบายขอมูล

เกี่ยวกับความผูกพันตอองคการของพนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด ทั้ง 3 ดาน และใช

วิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับปจจัยดานองคการทั้ง 2 ดาน

3) ใชสถิติ Crosstabs หาความสัมพันธกันระหวางปจจัยสวนบุคคลและปจจัยดาน

องคการ กับความความผูกพันตอองคการของพนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด โดย

พิจารณาจากแนวโนมคารอยละ (Percentage)

สรุปผลการศึกษาผูตอบแบบสอบถามเปนประชากรที่ศึกษา ไดแก พนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว

จํากัด แผนกการผลิต และแผนกขนสงสินคา จํานวน 186 คน พบวาสวนใหญเปนเพศชาย มีอายุ

41 ป ขึ้นไป มีสถานภาพสมรสโดยผูที่มีอายุนอยที่สุดคือ 23 ป อายุมากที่สุดคือ 58 ป และ

การศึกษาอยูในระดับปริญญาตรี รายไดเฉลี่ยตอเดือนประมาณ 10,001-20,000 บาท และ

ระยะเวลาในการปฏิบัติงานที่ บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด อายุงานระหวาง 10 ป – 20 ป

สําหรับความผูกพันตอองคการของพนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด โดยวัด

จากความผูกพัน 3 ดาน ในภาพรวมอยูในระดับมาก (μ = 3.54) สามารถเรียงลําดับความผูกพัน

ตอองคการ จากมากไปหานอย คือ ความปรารถนาอยางแรงกลาที่จะคงความเปนสมาชิกของ

องคกรความเต็มใจที่จะทุมเทความพยายามที่จะปฏิบัติงานเพื่อองคกร และความเชื่อมั่นและ

ยอมรับในเปาหมายและคานิยมขององคการ ซึ่งสรุปรายละเอียดแตละดานได ดังนี้

ดานความเชื่อมั่นและยอมรับในเปาหมายและคานิยมขององคการ สรุปไดวา พนักงาน

บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด มีความผูกพันตอองคการ ดานความเชื่อมั่นและยอมรับใน

เปาหมายและคานิยมขององคการ ในภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายขอ

พบวา พนักงานสวนมาก (รอยละ 55.91 รอยละ 54.84รอยละ 53.23 รอยละ52.69 และรอยละ

50.54) มีความผูกพันตอองคการทุกดานอยูในระดับปานกลาง ซึ่งสามารถเรียงลําดับตามสัดสวน

ของพนักงานจากสัดสวนที่สูงที่สุดไปต่ําที่สุด คือ มีทัศนคติตอการทํางานที่สอดคลองกับวิสัยทัศน

ของบริษัท รูสึกวาบริษัทนี้เปนบริษัทที่ดีที่สุด ที่อยากรวมงานดวย จะเขาไปชวยเหลือและสนับสนุน

กิจกรรมตาง ๆ ของบริษัททุกครั้ง มีความภาคภูมิใจที่ไดกาวเขามาเปนสวนหนึ่งของบริษัทนี้ และจะ

ทําตามเปาหมายของทานที่วางไวใหสอดคลองกับเปาหมายของบริษัท ตามลําดับ

ดานความตองการที่จะคงอยูเปนสมาชิกขององคกรตอไป สรุปไดวา พนักงานบริษัท

ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด มีความผูกพันตอองคการ ดานความตองการที่จะคงอยูเปนสมาชิกของ

องคกรตอไปความเต็มใจที่จะทุมเทความพยายามที่จะปฏิบัติงานเพื่อองคกร ในภาพรวมอยูใน

ระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา พนักงานสวนมาก (รอยละ 55.91 รอยละ 36.56

และรอยละ 36.02) หากบริษัทประสบปญหาทานจะรวมตอสูโดยไมคิดที่จะโอนยายไปไหน ทํางาน

ใหกับบริษัทของทานอยางเต็มกําลังความสามารถเพื่อใหบริษัทประสบความสําเร็จ และจะปฏิบัติ

ปฏิบัติงานตามนโยบายของบริษัท เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของบริษัท อยูในระดับปานกลาง แตมี

ความผูกพันตอองคการใน ระดับมาก ตามลําดับ ในขณะที่พนักงานสวนมาก (รอยละ 53.76 และ

รอยละ 48.92) เต็มใจที่จะทํางานตอใหเสร็จแมวางานที่ทําอยูนั้นจะเลยเวลาในการทํางานปกติ

และมีความกระตือรือรนในการทํางาน และมุงมั่นที่จะทํางานใหสําเร็จลุลวงดวยดี อยูในระดับปาน

กลาง มีความผูกพันตอองคการใน ระดับปานกลาง ตามลําดับ

ดานความปรารถนาอยางแรงกลาที่จะคงความเปนสมาชิกขององคกร สรุปไดวา

พนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด มีความผูกพันตอองคการ ดานความปรารถนาอยางแรง

กลาที่จะคงความเปนสมาชิกขององคกร ในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ

พบวา พนักงานสวนมาก (รอยละ 54.84 รอยละ 52.15 รอยละ 44.62 รอยละ43.01 และรอยละ

34.41) มีความผูกพันตอองคการทุกดานอยูในระดับมาก ซึ่งสามารถเรียงลําดับตามสัดสวนของ

พนักงานจากสัดสวนที่สูงที่สุดไปต่ําที่สุด คือ จะทํางานกับบริษัทนี้ตลอดไป แมวาที่อื่นจะเสนอ

ผลตอบแทนที่มากกวา ตั้งใจปฏิบัติหนาที่ที่ไดรับมอบหมายใหบรรลุเปาหมายสูงสุดของบริษัท จะ

ปฏิบัติงานดวยความจงรักภักดีกับบริษัท ตองการบอกกับบุคคลภายนอกวาทานเปนพนักงานของ

บริษัทนี้ และรูสึกภาคภูมิใจที่ไดเปนพนักงานของบริษัทนี้ ตามลําดับ

สวนระดับปจจัยที่สงผลตอความผูกพันของพนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด

โดยวัดจากปจจัยจูงใจดานองคการ 13 ดาน ในภาพรวมอยูในระดับมาก (μ = 3.59) โดยสามารถ

เรียงลําดับ จากมากไปหานอย คือ ดานความสัมพันธระหวางบุคคล ดานสถานภาพของวิชาชีพ

ดานการปกครองบังคับบัญชา ดานสภาพการปฏิบัติงาน ดานเงินเดือน ดานความกาวหนาใน

ตําแหนง ดานความสําเร็จในการทํางาน ดานนโยบายและการบริหาร ดานความรับผิดชอบ ดาน

การยอมรับนับถือ ดานความมั่นคงในการปฏิบัติงาน ดานชีวิตความเปนอยูสวนตัว ดานลักษณะ

งาน ซึ่งสรุปรายละเอียดแตละดานได ดังนี้

ดานความสําเร็จในการทํางานในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ

พบวา พนักงานสวนมาก (รอยละ 50.54 และรอยละ 40.86) สามารถทํางานใหสําเร็จตามที่หัวหนา

งานกําหนด และผลงานเปนที่หนาพอใจของหัวหนางาน สงผลตอความผูกพันอยูในระดับ มาก

ในขณะที่พนักงาน รอยละ 43.01 สามารถแกปญหาตางๆจากการทํางานไดสําเร็จทุกครั้ง อยูใน

ระดับปานกลาง เทานั้น

ดานการยอมรับนับถือ ในภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายขอ

พบวา พนักงานสวนมาก (รอยละ 47.85) ไดรับการยกยองจากผูรวมงาน ซึ่งเปนปจจัยที่สงผลตอ

ความผูกพันอยูในระดับ มาก ประเด็นถัดมา (รอยละ 39.78 และรอยละ33.87) คือผูบังคับบัญชา

กลาวชื่นชมในความสําเร็จ และผลงานไดรับการยกยองจากหนวยงาน เชน ไดรับรางวัลชมเชย อยู

ในระดับปานกลาง เทานั้น

ดานลักษณะงาน ในภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา

พนักงานสวนมาก (รอยละ 47.85 รอยละ 39.78 และรอยละ 33.87) สงผลตอความผูกพันตอ

องคการทุกดานอยูในระดับปานกลาง ซึ่งสามารถเรียงลําดับตามสัดสวนของพนักงานจากสัดสวนที่

สูงที่สุดไปต่ําที่สุด คือ งานที่ทานไดรับมอบหมายมีความนาสนใจ งานที่ทําในปจจุบันมีวิธีและ

ขั้นตอนการทํางานที่ชัดเจน และไดรับมอบหมายใหทํางานที่ตรงกับความสมารถ ตามลําดับ

ดานความรับผิดชอบ ในภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายขอ

พบวา พนักงานสวนมาก (รอยละ 45.61 และรอยละ 45.61) สงผลตอความผูกพันตอองคการทุก

ดานอยูในระดับปานกลาง ซึ่งมีสัดสวนของพนักงานที่เทากัน คือ งานที่ไดรับมอบหมายตั้งใจและ

เอาใจตอการทํางาน และหัวหนางานมีการกําหนดขอบเขตและหนาที่ที่รับผิดชอบไวอยางชัดเจน

ในขณะที่สัดสวนต่ําสุด(รอยละ 37.63) หัวหนามักจะมอบหมายใหทํางานที่สําคัญๆ อยูในระดับ

ปานกลาง เหมือนกัน

ดานความกาวหนาในตําแหนง ในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ

พบวา พนักงานสวนมาก (รอยละ 47.85 และรอยละ 44.62) บริษัทมีนโยบายที่จะสนับสนุนให

พนักงานมีการปรับเปลี่ยนงานภายในหนวยงานใหเหมาะสมกับความสามารถ และมีโอกาสที่จะ

ไดรับการสนับสนุนใหเลื่อนตําแหนงไดตามความสามารถ อยูในระดับ มาก ในขณะที่สัดสวน

พนักงานต่ําสุด (รอยละ 32.26) มักจะไดรับการคัดเลือกใหเขารับการฝกอบรมเพื่อพัฒนา

ความสามารถในการทํางาน อยูในระดับปานกลาง เทานั้น

ดานเงินเดือน ในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา พนักงาน

สวนมาก (รอยละ 51.08 รอยละ 41.40 และรอยละ 32.26) สงผลตอความผูกพันตอองคการทุก

ดานอยูในระดับมาก ซึ่งสามารถเรียงลําดับตามสัดสวนของพนักงานจากสัดสวนที่สูงที่สุดไปต่ํา

ที่สุด คือ ไดรับการพิจารณาในการปรับขั้นเงินเดือนอยางเปนธรรมไดรับเงินเดือนที่เหมาะสมกับวุฒิ

การศึกษาและประสบการณการทํางาน และไดรับเงินเดือนทุกเดือนเพียงพอตอการใช

ชีวิตประจําวัน ตามลําดับ

ดานสัมพันธระหวางบุคคล ในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ

พบวา พนักงานสวนมาก (รอยละ 51.08 รอยละ 49.46 และรอยละ 46.77) สงผลตอความผูกพัน

ตอองคการทุกดานอยูในระดับมาก ซึ่งสามารถเรียงลําดับตามสัดสวนของพนักงานจากสัดสวนที่สูง

ที่สุดไปต่ําที่สุด คือ หัวหนางาน และเพื่อนรวมงานของสามารถใหคําปรึกษาไดทั้งเรื่องงาน และ

เรื่องครอบครัว หัวหนางานดูแลและเอาใจใสพนักงานเปนอยางดี และสามารถทํางานรวมกับ

หัวหนางาน และเพื่อนรวมงานไดเปนอยางดี ตามลําดับ

ดานการปกครองบังคับบัญชา ในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ

พบวา พนักงานสวนมาก (รอยละ 55.38 รอยละ 48.92 และรอยละ 39.25) สงผลตอความผูกพัน

ตอองคการทุกดานอยูในระดับมาก ซึ่งสามารถเรียงลําดับตามสัดสวนของพนักงานจากสัดสวนที่สูง

ที่สุดไปต่ําที่สุด คือ หนวยงานมีกฎและระเบียบที่เหมาะสมกับตอการลงโทษพนักงาน หนวยงานมี

การปกครองบังคับบัญชาอยางยุติธรรม และเทาเทียมกันเกื้อกูลกัน และ ภายในหนวยงานมีกฎและ

ระเบียบขั้นตอนการปกครองที่ชัดเจน ตามลําดับ

ดานนโยบายและการบริหาร ในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ

พบวา พนักงานสวนมาก (รอยละ 54.84 และรอยละ 53.76) บริษัทมีการติดตอสื่อสารใหขอมูลใน

การปฏิบัติงานอยางสม่ําเสมอและทันเวลา และบริษัทมีการกําหนดนโยบายของบริษัทฯที่ชัดเจน

สามารถนําไปปฏิบัติได อยูในระดับ มาก ในขณะที่สัดสวนพนักงานต่ําสุด (รอยละ 22.58) บริษัทมี

การชี้แจงนโยบายใหไดรับทราบอยางตอเนื่องทุกครั้งเมื่อมีการปรับเปลี่ยนนโยบายบริษัท อยูใน

ระดับปานกลาง เทานั้น

ดานการปกครองบังคับบัญชา ในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ

พบวา พนักงานสวนมาก (รอยละ 44.62 รอยละ 43.01 และรอยละ 34.41) สงผลตอความผูกพัน

ตอองคการทุกดานอยูในระดับมาก ซึ่งสามารถเรียงลําดับตามสัดสวนของพนักงานจากสัดสวนที่สูง

ที่สุดไปต่ําที่สุด คือ บริษัทมีการดูแลเรื่องความปลอดภัยในการทํางานเปนอยางดี สถานที่ทํางานมี

ความสะอาด เปนระเบียบ มีแสงสวางเพียงพอ มีการถายเทอากาศ และปราศจากเสียงดังรบกวน

เหมาะสมกับการทํางาน และบริษัทมีอุปกรณ เครื่องมือในการทํางานที่มีสภาพดี และพรอมใชงาน

ตามลําดับ

ดานสถานภาพของวิชาชีพ ในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ

พบวา พนักงานสวนมาก (รอยละ 57.53 รอยละ 55.38 และรอยละ 52.15) สงผลตอความผูกพัน

ตอองคการทุกดานอยูในระดับมาก ซึ่งสามารถเรียงลําดับตามสัดสวนของพนักงานจากสัดสวนที่สูง

ที่สุดไปต่ําที่สุด คือ จะไดยินบุคคลภายนอกกลาวชื่นชมบริษัทอยูเสมอ จะไดรับเกียรติจาก

บุคคลภายนอกทุกครั้งในฐานะที่เปนพนักงานของบริษัท และมีความภูมิใจที่ไดรับหนาที่ในการ

ทํางานจากบริษัทตามลําดับ

ดานความมั่นคงในการปฏิบัติงาน ในภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปน

รายขอ พบวา สวนมาก (รอยละ 47.31) บริษัทมีกิจการที่มั่นคงในการดําเนินงาน ซึ่งเปนปจจัยที่

สงผลตอความผูกพันอยูในระดับ มาก ประเด็นถัดมา (รอยละ 36.56 และรอยละ26.88) คืองานที่

ทําอยูในปจจุบันมีความมั่นคง และตองการที่จะทํางานตอไปหากทานไดรับการสนับสนุนจาก

หัวหนางาน อยูในระดับปานกลาง เทานั้น

ดานชีวิตความเปนอยูสวนตัว ในภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนราย

ขอ พบวา พนักงานสวนมาก (รอยละ 53.38 รอยละ 46.24 และรอยละ 40.86) สงผลตอความ

ผูกพันตอองคการทุกดานอยูในระดับปานกลาง ซึ่งสามารถเรียงลําดับตามสัดสวนของพนักงาน

จากสัดสวนที่สูงที่สุดไปต่ําที่สุด คือ บริษัทมีนโยบายที่จะสงเสริมคุณภาพชีวิตความเปนอยู

ครอบครัวของพนักงาน บริษัทใหความเคารพในสิทธิเสรีและความเปนสวนตัวในระดับที่เหมาะสม

และบริษัทใหความสําคัญกับสภาพการทํางานที่ปลอดภัย และสงเสริมสุขภาพพนักงาน ตามลําดับ

ผลการทดสมมติฐานในการศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคลกับความผูกพันตอองคการของพนักงานบริษัท

ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด พบวา

เพศ ตางกันมีความสัมพันธกับความผูกพันตอองคการของพนักงานบริษัท ลีพัฒนา

อาหารสัตว จํากัด ไมแตกตางกัน

อายุมี ตางกันความสัมพันธกับความผูกพันตอองคการของพนักงานบริษัท ลีพัฒนา

อาหารสัตว จํากัด ไมแตกตางกัน

สถานภาพสมรส ตางกันมีความสัมพันธกับความผูกพันตอองคการของพนักงานบริษัท

ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด แตกตางกัน

ระดับการศึกษา ตางกันมีความสัมพันธกับความผูกพันตอองคการของพนักงานบริษัท

ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด แตกตางกัน

รายไดเฉลี่ยตอเดือน ตางกันมีความสัมพันธกับความผูกพันตอองคการของพนักงาน

บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด แตกตางกัน

ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ตางกันมีความสัมพันธกับความผูกพันตอองคการของ

พนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด ไมแตกตางกัน

ความสัมพันธระหวางปจจัยดานองคการกับความผูกพันตอองคการของพนักงาน

บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด พบวา

ดานความสําเร็จในการทํางาน ตางกันมีความสัมพันธกับความผูกพันตอองคการของ

พนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด แตกตางกัน

ดานการยอมรับนับถือ ตางกันมีความสัมพันธกับความผูกพันตอองคการของพนักงาน

บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด ไมแตกตางกัน

ดานลักษณะงาน ตางกันมีความสัมพันธกับความผูกพันตอองคการของพนักงาน

บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด ไมแตกตางกัน

ดานความรับผิดชอบ ตางกันมีความสัมพันธกับความผูกพันตอองคการของพนักงาน

บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด ไมแตกตางกัน

ดานความกาวหนาในตําแหนง ตางกัน มีความสัมพันธ กับ ความผูกพันตอองคการ

ของพนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด ไมแตกตางกัน

ดานเงินเดือน ตางกัน มีความสัมพันธกับความผูกพันตอองคการของพนักงานบริษัท ลี

พัฒนาอาหารสัตว จํากัด แตกตางกัน

ดานความสัมพันธระหวางบุคคล ตางกันมีความสัมพันธกับความผูกพันตอองคการ

ของพนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด ไมแตกตางกัน

ดานการปกครองบังคับบัญชา ตางกัน มีความสัมพันธ กับ ความผูกพันตอองคการ

ของพนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด แตกตางกัน

ดานนโยบายและการบริหาร ตางกัน มีความสัมพันธ กับ ความผูกพันตอองคการของ

พนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด ไมแตกตางกัน

ดานสภาพการปฏิบัติงาน ตางกัน มีความสัมพันธ กับ ความผูกพันตอองคการของ

พนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด แตกตางกัน

ดานสถานภาพของวิชาชีพ ตางกันมีความสัมพันธกับความผูกพันตอองคการของ

พนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด ไมแตกตางกัน

ดานความมั่นคงในการปฏิบัติงาน ตางกันมีความสัมพันธกับความผูกพันตอองคการ

ของพนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด แตกตางกัน

ดานชีวิตความเปนอยูสวนตัว ตางกันมีความสัมพันธกับความผูกพันตอองคการของ

พนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด แตกตางกัน

อภิปรายผลความผูกพันตอองคการของพนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด สามารถนําผล

มาอภิปรายในประเด็นที่นาสนใจ ดังนี้

ความผูกพันตอองคการของพนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด

ดานความเชื่อมั่นและยอมรับในเปาหมายและคานิยมขององคการ พบวา ในภาพรวม

อยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ประเด็นที่มีสัดสวนสูงสุด คือ มีทัศนคติตอ

การทํางานที่สอดคลองกับวิสัยทัศนของบริษัท ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ อารยา วลัญไชย

(2546 : บทคัดยอ) ศึกษาปจจัยที่สงผลตอความผูกพันของพนักงานธนาคารทหารไทย จํากัด

(มหาชน) ศึกษาเฉพาะกรณีสํานักงานใหญ เปนงานวิจัยเชิงปริมาณโดยใชเครื่องมือเปน

แบบสอบถามกับกลุมตัวอยาง จํานวน 150 คน ผลการศึกษาสรุปไดวาพนักงานของธนาคารทหาร

ไทย จํากัด (มหาชน) นั้นมีความผูกพันตอองคการในระดับปานกลาง โดยหากแยกพิจารณาเปน

รายดาน มีเพียงดานความเต็มใจที่จะทุมเทเพื่อองคการที่อยูในระดับสูง สวนอีก 3 ดานที่เหลืออยู

ในระดับปานกลาง ไดแก ดานความภาคภูมิใจที่รูสึกเปนสวนหนึ่งขององคการ ดานความภาคภูมิใน

ที่ไดรับการยอมรับจากองคการ และดานความเชื่อมั่นศรัทธาในนโยบายขององคการ

ดานความเต็มใจที่จะทุมเทความพยายามที่จะปฏิบัติงานเพื่อองคกร พบวา ใน

ภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ประเด็นที่มีสัดสวนสูงสุด คือ หาก

บริษัทประสบปญหาทานจะรวมตอสูโดยไมคิดที่จะโอนยายไปไหน ซึ่งสอดคลองงานวิจัยของ กฤ

ศวรรณ นวกุล และนิภาภรณ วีระสกุลทอง (2547 : บทคัดยอ) ศึกษาความผูกพันของพนักงาน

ศึกษาเฉพาะกรณีพนักงาน บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอร (ประเทศไทย) จํากัด เปนงานวิจัยเชิงปริมาณ

โดยใชเครื่องมือเปนแบบสอบถามกับกลุมตัวอยาง จํานวน 222 คน ผลการวิจัยสรุปไดวาพนักงาน

ของบริษัท มิตซูบิชิ มอเตอร (ประเทศไทย) จํากัด นั้นมีความผูกพันตอองคการในระดับปานกลาง

สรุปรายดาน พบวา ความผูกพันในระดับสูงมีเพียงดานความภูมิใจในงานเทานั้น สวนความผูกพัน

อีกสองดานอยูในระดับปานกลาง ไดแก ความปรารถนาที่จะอยูกับองคการ และดานการนึกถึง

บริษัทในทางที่ดี

ดานความปรารถนาอยางแรงกลาที่จะคงความเปนสมาชิกขององคกร นภาพรวมอยูใน

ระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ประเด็นที่มีสัดสวนสูงสุด คือ จะทํางานกับบริษัทนี้

ตลอดไป แมวาที่อื่นจะเสนอผลตอบแทนที่มากกวา ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ อัญชุลี สมัครการ

(2548 : 60) ศึกษาความผูกพันตอองคการของพนักงานการทองเที่ยวแหงประเทศไทย สํานักงาน

ใหญ พบวา ระดับความผูกพันตอองคการของพนักงานการทองเที่ยวแหงประเทศไทย สํานักงาน

ใหญ รวม 6 ดาน ได แก ดานความทุมเท/ ความพยายามในการปฏิบัติงาน ดานความเสียสละเพื่อ

องคการ ดานความจงรักภักดีตอองคการ ดานความตั้งใจและเต็มใจที่จะปฏิบัติงาน ดาน

ความสามารถในการปฏิบัติงานใหกับองคการ และดานการยอมรับคานิยมเปาหมายขององคการ

โดยรวม พบวา พนักงานมีความผูกพันตอองคการอยูในระดับมาก โดยในดานความตั้งใจและเต็ม

ใจที่จะปฏิบัติงานมีความผูกพันตอองคการอยูในระดับมากที่สุด

ปจจัยดานองคการดานความสําเร็จในการทํางานในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ

พบวา พบวา ประเด็นที่มีสัดสวนสูงสุด คือ สามารถทํางานใหสําเร็จตามที่หัวหนางานกําหนด ซึ่ง

สอดคลองงานวิจัย อัญชุลี สมัครการ (2548, หนา 60) ศึกษาความผูกพันตอองคการของพนักงาน

การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ส านักงานใหญพบวา ระดับความผูกพันตอองคการของพนักงาน

การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ส านักงานใหญรวม 6ดาน ไดแกดานความทุมเท/ ความพยายามใน

การปฏิบัติงาน ดานความเสียสละเพื่อองคการดานความจงรักภักดีตอองคการดานความตั้งใจและ

เต็มใจที่จะปฏิบัติงาน ดานความสามารถในการปฏิบัติงานใหกับองคการและดานการยอมรับ

คานิยมเปาหมายขององคการ โดยรวม พบวา พนักงานมีความผูกพันตอองคการอยูในระดับมาก

โดยในดานความตั้งใจและเต็มใจที่จะปฏิบัติงานมีความผูกพันตอองคการอยูในระดับมากที่สุด

ดานการยอมรับนับถือ ในภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายขอ

พบวา ประเด็นที่มีสัดสวนสูงสุด คือ ไดรับการยกยองจากผูรวมงาน ซึ่งสอดคลองงานวิจัย สิริอําไพ

พิพัฒนพงศ (2552: บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่องความสัมพันธระหวางการปฏิบัติงานกับความผูกพัน

ตอองคการของพนักงานราชการกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการกระทรวงการพัฒนาสังคมและ

ความมั่นคงของมนุษย การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงสํารวจ มีวัตถุประสงค (1) เพื่อศึกษาระดับ

การปฏิบัติงานของพนักงานราชการ กับความผูกพันตอองคกรของพนักงานราชการกรมพัฒนา

สังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย (2) เพื่อเปรียบเทียบการ

ปฏิบัติงานของพนักงานราชการกับความผูกพันตอองคกรของพนักงานราชการกรมพัฒนาสังคม

และสวัสดิการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจําแนกตามปจจัยพื้นฐานสวน

บุคคล (3) เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางการปฏิบัติงานของพนักงานราชการกับความผูกพันตอ

องคกรของพนักงานราชการกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ

มั่นคงของมนุษย ผูวิจัยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยาง

พนักงานราชการ จํานวน 187 คน นําขอมูลมาวิเคราะห และประมวลผลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป

ทางสถิติเพื่อคํานวณคาความถี่ รอยละ (Percentage) คาเฉลี่ย (Mean) และสวนเบี่ยงเบน

มาตรฐาน (Standard Deviation) เปรียบเทียบความแตกตางโดยใชคาสถิติทดสอบที t-test และ

คาสถิติทดสอบเอฟ F-testหากพบวาความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จึงทํา

การทดสอบรายคูโดยวิธีของLSD และวิเคราะหความสัมพันธโดยใชคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบ

เพียรสัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) ผลการวิจัยพบวา พนักงาน

ราชการมีความคิดเห็นในภาพรวมอยูในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวาอยูใน ระดับ

มาก 3 ดาน ปานกลาง 2 ดาน คือ ดานความสําเร็จในงาน ดานความรับผิดชอบของงาน และ ดาน

ลักษณะงาน สวนดานความกาวหนาในงาน และดานการยอมรับนับถืออยูในระดับปานกลาง

ดานลักษณะงาน ในภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา

ประเด็นที่มีสัดสวนสูงสุด คือ งานที่ทานไดรับมอบหมายมีความนาสนใจ ซึ่งสอดคลองงานวิจัย

Farr และ Mathieu (1991 : 127-133) ศึกษาองคประกอบที่เกี่ยวของกับความผูกพันตอองคการ

ของพนักงานขับรถประจําทางจํานวน 194 คน และวิศวกรจํานวน 311 คน โดยใชแบบสอบถาม

เปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลและศึกษาองคประกอบดานตางๆ คือ (อางถึงในนงลักษณ

โกมารกุล ณ นคร, จรัสศรี จินดาวงศ.2548:30)ผลการศึกษาพบวา สําหรับกลุมพนักงานขับรถ

ประจําทาง องคประกอบหรือตัวแปรที่มีความสัมพันธทางบวกกับความผูกพันตอองคการ ไดแก

ลักษณะงานที่พัฒนาศักยภาพ ความภูมิใจในองคการ อายุงาน และลักษณะการบริหารงาน

ดานความรับผิดชอบ ในภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายขอ

พบวา ประเด็นที่มีสัดสวนสูงสุด คือ ไดรับการยกยองจากผูรวมงาน ซึ่งไมสอดคลองงานวิจัย

กาญจนา คลายจริง (2551, หนา 68-69) ศึกษาเรื่องความผูกพันตอองคการของพนักงานบริษัท

สยามกลการอุตสาหกรรม จํากัด พบวา พนักงานบริษัทสยามกลการอุตสาหกรรม จํากัด มีความ

คิดเห็นตอปจจัยที่มีผลตอความผูกพันตอองคการในดานปจจัยจูงใจในภาพรวมอยูในระดับมาก

ปจจัยที่มีผลตอความผูกพันตอองคการโดยรวมอยูในระดับมาก พนักงาน บริษัทสยามกลการ

อุตสาหกรรม จํากัด มีความเห็นวาดานการไดรับการยอมรับนับถือมีผลตอความผูกพันตอองคการ

นอยที่สุด

ดานความกาวหนาในตําแหนง ในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ

พบวา ประเด็นที่มีสัดสวนสูงสุด คือ บริษัทมีนโยบายที่จะสนับสนุนใหพนักงานมีการปรับเปลี่ยน

งานภายในหนวยงานใหเหมาะสมกับความสามารถ ซึ่งสอดคลองงานวิจัย สายพิณ สวางจิต (2548

: บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาเรื่อง “ปจจัยที่มีความสําคัญตอความผูกพันตอองคการของพนักงาน

กรณีศึกษา บริษัท มหพันธ ไฟเบอร ซี เมนต จํากัด (มหาชน) กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคือ

พนักงานบริษัท มหพันธ ไฟเบอร ซี เมนต จํากัด (มหาชน) ซึ่งมีจํานวนทั้งหมด 394 ราย ซึ่งไดจาก

การสุมแบบโควตา ทําการเก็บรวบรวมขอมูลโดยใช แบบสอบถาม สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

ไดแก คาความถี่ รอยละ และคาเฉลี่ย โดยไดทําการศึกษาเกี่ยวกับปจจัย 3 ประเภทที่มีผลตอความ

ผูกพันของพนักงาน พบวา พนักงานใหความสําคัญกับทุกปจจัยโดยรวมในระดับมาก ซึ่งประกอบ

ไปดวยดานปจจัยที่เกี่ยวกับลักษณะงาน โดยใหความสําคัญตองานที่ทําเปนงานที่ตรงกับความ

ถนัด งานที่รับผิดชอบเปนงานที่ทําใหมีโอกาสใชความคิดริเริ่มสรางสรรค การไดรับความเชื่อถือ

และไววางใจในงานที่รับผิดชอบโดยไมตองควบคุมใกลชิด ดานปจจัยที่เกี่ยวกับลักษณะของ

องคการ ใหความสําคัญตอความชัดเจนในการกําหนดหนาที่และความรับผิดชอบ บรรยากาศใน

การทํางานที่มีความไววางใจซึ่งกันและกัน ความยุติธรรมของระบบพิจารณาผลการปฏิบัติงาน และ

ดานปจจัยที่เกี่ยวกับประสบการณในการทํางานใหความสําคัญตอการไดรับความยุติธรรมในการ

พิจารณาผลงาน การชวยเหลือกันในการทํางานการไดรับการยอมรับยกยองชมเชยจาก

ผูบังคับบัญชา

ดานเงินเดือน ในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ประเด็นที่มี

สัดสวนสูงสุด คือ ไดรับการพิจารณาในการปรับขั้นเงินเดือนอยางเปนธรรม ซึ่งสอดคลองงานวิจัย ธี

ราภัทร ขัติยะหลา (2555: บทคัดยอ) เรื่องคุณภาพชีวิตการทํางานกับความผูกพันตอองคการของ

บุคลากร องคการบริหารสวนตําบลปาสัก อําเภอเมืองลําพูนการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา

คุณภาพชีวิตการทํางาน และแนวทางการเสริมสรางคุณภาพชีวิตการทํางานเพื่อใหเกิดความผูกพัน

ตอองคการของบุคลากรขององคการบริหารสวนตําบลปาสัก อําเภอเมืองลําพูน รวบรวมขอมูลโดย

ใชแบบสอบถามจากกลุมตัวอยาง จํานวน 74 คนวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติเชิงพรรณนาไดแก

คาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชกรอบแนวคิดของ Richard E.

Waltonผลการวิจัยพบวาคุณภาพชีวิตการทํางานของบุคลากรองคการบริหารสวนตําบลปาสัก

อําเภอเมืองลําพูน มีคุณภาพชีวิตในการทํางานโดยรวมอยูในระดับสูงเมื่อพิจารณาจากแนว

ทางการเสริมสรางคุณภาพชีวิตการทํางานเพื่อใหเกิดความผูกพันตอองคการพบวาตองการให

หนวยงานจัดสวัสดิการเพิ่มขึ้นและพิจารณาขั้นเงินเดือนอยางยุติธรรม รวมถึงการจัดกิจกรรมการ

ออกกําลังกายเพื่อสงเสริมสุขภาพและความสามัคคีของบุคลากรเพื่อเสริมสรางคุณภาพชีวิตการ

ทํางานใหเกิดความผูกพันตอองคการตอไป

ดานสัมพันธระหวางบุคคล ในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ

พบวา ประเด็นที่มีสัดสวนสูงสุด คือ หัวหนางาน และเพื่อนรวมงานของสามารถใหคําปรึกษาไดทั้ง

เรื่องงาน และเรื่องครอบครัว ซึ่งสอดคลองงานวิจัย กาญจนา คลายจริง (2551, หนา 68-69) ศึกษา

เรื่องความผูกพันตอองคการของพนักงานบริษัทสยามกลการอุตสาหกรรม จํากัด พบวา พนักงาน

บริษัทสยามกลการอุตสาหกรรม จํากัด มีความคิดเห็นตอปจจัยที่มีผลตอความผูกพันตอองคการใน

ดานปจจัยจูงใจในภาพรวมอยูในระดับมากปจจัยที่มีผลตอความผูกพันตอองคการโดยรวมอยูใน

ระดับมาก และความสัมพันธระหวางบุคคลภายในองคการ มีผลตอความผูกพันตอองคการมาก

ที่สุด

ดานการปกครองบังคับบัญชา ในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ

พบวา ประเด็นที่มีสัดสวนสูงสุด คือ หนวยงานมีกฎและระเบียบที่เหมาะสมกับตอการลงโทษ

พนักงาน ซึ่งสอดคลองทฤษฎี ของMcGregor (อางถึงใน สมยศ นาวีการ, 2539, หนา 131) ได

ศึกษาเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีการจูงใจที่รวมการจูงใจภายนอกและภายในไวดวยกัน

ดานนโยบายและการบริหาร ในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ

พบวา ประเด็นที่มีสัดสวนสูงสุด คือ บริษัทมีการติดตอสื่อสารใหขอมูลในการปฏิบัติงานอยาง

สม่ําเสมอและทันเวลา ซึ่งสอดคลองงานวิจัย จิระชัย ยมเกิด (2549 : บทคัดยอ) ทําการศึกษาเรื่อง

“ความผูกพันของพนักงานตอ บริษัท ลานนาเกษตรอุตสาหกรรม จํากัด” ผลการศึกษาพบวา

พนักงาน บริษัทลานนาเกษตรอุตสาหกรรม จํากัด มีความผูกพันตอองคกรโดยรวมอยูในระดับสูง

สาหรับปจจัยที่มีผลตอความผูกพันตอองคกรในดานลักษณะสวนบุคคล ไดแก ระดับการศึกษา มี

ความสัมพันธกับระดับความผูกพันตอองคกร สวนเพศ อายุ ระยะเวลาที่ปฏิบัติงานในบริษัท รายได

หรือเงินเดือนที่ไดรับ และตําแหนงงานไมมีความสัมพันธกับระดับความผูกพันตอองคกร ปจจัยดาน

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ไดแก ความมีอิสระในการทางาน ความหลากหลายของงาน ความมี

เอกลักษณของงาน ผลปอนกลับ ของงาน และงานที่ทํามีโอกาสปฏิสัมพันธกับบุคคลอื่น มี

ความสัมพันธทางบวกกับความผูกพันตอองคกร

ดานสภาพการปฏิบัติงาน ในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา

ประเด็นที่มีสัดสวนสูงสุด คือ บริษัทมีการดูแลเรื่องความปลอดภัยในการทํางานเปนอยางดี ซึ่ง

สอดคลองทฤษฎีของ Abraham H.Maslow เปนนักจิตวิทยาอยูที่มหาวิทยาลับแบรนดีสไดพัฒนา

ทฤษฎีการจูงใจที่รูจักกันมากที่สุดทฤษฎีหนึ่งขึ้นมา Maslow ระบุวาบุคคลจะมีความตองการที่

เรียงลําดับจากระดับพื้นฐานมากที่สุดไปยังระดับสูงสุด

ดานสถานภาพของวิชาชีพ ในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ

พบวา ประเด็นที่มีสัดสวนสูงสุด คือ จะไดยินบุคคลภายนอกกลาวชื่นชมบริษัทอยูเสมอ ซึ่ง

สอดคลองงานวิจัย กฤศวรรณ นวกุล และนิภาภรณ วีระสกุลทอง (2547 : บทคัดยอ) ศึกษาความ

ผูกพันของพนักงานศึกษาเฉพาะกรณีพนักงาน บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอร (ประเทศไทย) จํากัด เปน

งานวิจัยเชิงปริมาณโดยใชเครื่องมือเปนแบบสอบถามกับกลุมตัวอยาง จํานวน 222 คน ผลการวิจัย

สรุปไดวาพนักงานของบริษัท มิตซูบิชิ มอเตอร (ประเทศไทย) จํากัด นั้นมีความผูกพันตอองคการ

ในระดับปานกลางสรุปรายดาน พบวา ความผูกพันในระดับสูงมีเพียงดานความภูมิใจในงาน

เทานั้น

ดานความมั่นคงในการปฏิบัติงาน ในภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปน

รายขอ พบวา ประเด็นที่มีสัดสวนสูงสุด คือ บริษัทมีกิจการที่มั่นคงในการดําเนินงาน ซึ่งสอดคลอง

งานวิจัย ณัฏฐชุดา หรั่งเพชร (2548) ศึกษาความสัมพันธระหวางการรับรูสวัสดิการที่ไดรับกับความ

ผูกพันตอองคการของพนักงานระดับปฏิบัติการ การศึกษาครั้งนี้ศึกษาจากพนักงานระดับ

ปฏิบัติการของ บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) จํานวน 255 คน ผลการวิจัยพบวา 1) การรับรู

สวัสดิการดานความมั่นคงในการทํางาน สวัสดิการดานการศึกษา และสวัสดิการดานนันทนาการ มี

ความสัมพันธทางบวกกับความผูกพันตอองคการอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2)

พนักงานมีการรับรูสวัสดิการดานสุขภาพอยูในระดับสูง และพนักงานมีการรับรูสวัสดิการดานความ

มั่นคงในงาน สวัสดิการเศรษฐกิจ สวัสดิการดานการศึกษา สวัสดิการดานนันทนาการ และ

สวัสดิการดานความสะดวกสบายอยูในระดับปานกลาง

ดานชีวิตความเปนอยูสวนตัว ในภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนราย

ขอ พบวา ประเด็นที่มีสัดสวนสูงสุด คือ บริษัทมีนโยบายที่จะสงเสริมคุณภาพชีวิตความเปนอยู

ครอบครัวของพนักงาน ซึ่งสอดคลองงานวิจัย อิทธิศาสตร อินทรโชติ (2551 : บทคัดยอ) ศึกษา

ความผูกพันของพนักงานตอ องคการในนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือจังหวัดลําพูน ผลของ

การศึกษาพบวาพนักงานมีความผูกพันตอองคการ โดยรวม ในระดับปานกลางสําหรับปจจัยสวน

บุคคลที่มีอิทธิพลตอระดับความผูกพันตอองคการ ไดแก อายุ รายไดตอเดือน ตําแหนงงานและอายุ

ในการทํางาน สวนเพศ สถานภาพ และระดับการศึกษาไมมีผลตอระดับความผูกพันตอองคการ

สําหรับปจจัยสาเหตุที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงงานของพนักงานไดแก ดานองคการ ดาน

สภาพแวดลอมในการทํางาน และดานเนื้อหาของงาน สําหรับปจจัยที่มีผลตอความผูกพันของ

พนักงาน ตอองคการ ไดแก ความเชื่อมั่นในองคการ ความปรารถนาที่จะทํางานเพื่อใหเกิดสิ่งที่ดีขึ้น

เขาใจลักษณะของธุรกิจและมองในภาพใหญ ความตั้งใจและมุงมั่น การพัฒนาอยูเสมอ การมีสวน

รวมในการตัดสินใจ โอกาสที่ไดแสดงความคิดเห็นโอกาสในการพัฒนาในงานและองคการใหความ

สนใจความเปนอยูของพนักงาน

ความสัมพันธระหวางปจจัยที่สงผลตอความผูกพันตอองคการ ของพนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด

ผลการศึกษา ความสัมพันธระหวางปจจัยดานองคการที่สงผลตอความผูกพันตอ

องคการ ของพนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด พบวามีความ แตกตางกับผลงานวิจัยที่

ผานมา ทั้งนี้อาจเปนเพราะมีพนักงานทั้งเกาและใหมที่เขาและลาออกในแผนกตางๆ ในบริษัท

พัฒนาอาหารสัตว จํากัด ที่ผูวิจัยไดทําการศึกษา ความผูกพันตอองคการของพนักงานบริษัท ลี

พัฒนาอาหารสัตว จํากัด ของทั้งองคการ และเปนการวัดปจจัยดานองคการ 13 ดาน ไดแก

ความสําเร็จในการทํางาน การยอมรับนับถือ ลักษณะงาน ความรับผิดชอบ ความกาวหนาใน

ตําแหนง เงินเดือน ความสัมพันธระหวางบุคคล การปกครองบังคับบัญชา นโยบายและการบริหาร

สภาพการปฏิบัติงาน สถานภาพของวิชาชีพ ความมั่นคงในการปฏิบัติงาน และชีวิตความเปนอยู

สวนตัว ในขณะที่งานวิจัยอื่นจะศึกษาปจจัยดานอื่นๆ และศึกษาความผูกพันตอองคการ เฉพาะ

บางแผนก หรือเฉพาะสายอาชีพ ซึ่งจะสอดคลองตอปจจัยดานองคการในภาพรวมในบางดาน

ดังนั้นผูศึกษาจึงอภิปรายผลความสัมพันธปจจัยดานองคการที่สงผลตอความผูกพัน

ของพนักงานในองคการภาพรวมโดยการศึกษานี้พบวา พนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด

ที่เปนประชากรเห็นวาปจจัยดานองคการแตกตางกัน ความสัมพันธของความผูกพันพนักงานใน

องคการ แตกตางกัน ซึ่งสอดคลองงานวิจัยของ ประนอม ละอองนวล (2542) ศึกษาเรื่องปจจัยจูง

ใจที่มีอิทธิพลตอความผูกพันตอ องคกรและผลการปฏิบัติงาน ศึกษากรณีเฉพาะมหาวิทยาลัยหัว

เฉียวเฉลิมพระเกียรติ ผลการวิจัยพบวาบุคลากรมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มีความพึง

พอใจในภาพรวมอยูในระดับปานกลาง และสามารถจัดลําดับความพึงพอใจในปจจัยตาง ๆ จาก

ความพึงพอใจมากที่สุดจนถึงนอยที่สุดได ดังนี้

1) การไดรับการยอมรับนับถือ

2) สภาพแวดลอมในการทํางาน

3) ความกาวหนาในการทํางาน (การพัฒนาเสนทางสายอาชีพ)

4) ความสัมพันธระหวางบุคลากรกับเพื่อนรวมงาน

5) ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน (เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน)

6) การติดตอสื่อสารในหนวยงาน

7) ความสัมพันธระหวางบุคลากรกับผูบังคับบัญชา

8) การมีสวนรวมในการปฏิบัติงาน

9) นโยบายในการบริหารงาน

10) ลักษณะงาน

11) เงินเดือน/ ผลตอบแทน/ สวัสดิการ

12) ความมั่นคงในหนาที่การงาน และบุคลากรมีความทุมเทใหกับงานจะสูงกวาระดับ

ความผูกพันตอองคการ

ตัวแปรดานลักษณะบุคคลของบุคลากรไดแก จํานวนปที่ทํางานที่มหาวิทยาลัยหัว

เฉียวเฉลิมพระเกียรติ และระดับการศึกษา มีความสัมพันธกับระดับความพึงพอใจในการทํางาน

ดังนั้นสรุปไดวา ลักษณะสวนบุคคล ปจจัยจูงใจตางมีอิทธิพลตอความพึงพอใจ ความ

ผูกพันตอองคกร อันจะสงผลตอความทุมเทใหกับการทํางาน ความกระตือรือรนในการทํางาน

ปจจัยสวนบุคคล ของพนักงานบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด พบวา เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายไดเฉลี่ยตอเดือน และ

ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ตางกัน มีความผูกพันตอองคการ แตกตางกัน ซึ่งสอดคลองงานวิจัย

ของ ศิริพร ไทยกรณ (2554 : บทคัดยอ) ไดทําการวิจัยเกี่ยวกับความผูกพันตอองคการของ

พนักงานธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม วัตถุประสงค

เพื่อ (1) ศึกษาปจจัยสวนบุคคลและ (2) ความผูกพันตอองคการ ปจจัยเกี่ยวกับงานและปจจัย

ภายนอกที่มีผลตอความผูกพันของพนักงานธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ในเขตอําเภอ

เมือง จังหวัดเชียงใหม กลุมตัวอยาง 125 คน โดยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวม

ขอมูล ผลการศึกษาพบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศหญิง อายุระหวาง 36 – 40 ป

สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาสูงสุดระดับปริญญาตรี อัตราเงินเดือน 15,001 – 25,000 บาท

ตําแหนงพนักงาน มีอายุงานในธนาคารโดยเฉลี่ย 7.32 ป อายุงานต่ําสุด 1 ป และอายุงานสูงสุด

25 ป และสวนใหญมีอายุงานในธนาคาร 1 – 5 ป สวนการศึกษาเกี่ยวกับความผูกพันตอองคการ

ของพนักงานพบวา ความผูกพันตอองคการอยูในระดับมาก

ขอเสนอแนะขอเสนอแนะในการนําผลการศึกษาไปใชจากผลการศึกษาพบวา ความสําเร็จในการทํางาน เงินเดือน การปกครองบังคับบัญชา

ดานการปกครองบังคับบัญชา ดานสภาพการปฏิบัติงาน ดานความมั่นคงในการปฏิบัติงาน และ

ดานชีวิตความเปนอยูสวนตัว พบวา ระดับความผูกพันในองคการมีทั้งสูงและต่ํา ซึ่งทําใหผูวิจัย

ทราบวาพนักงานของบริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว จํากัด มีความผูกพันตอองคการที่แตกตางกัน

ดังนั้น ผูวิจัยไดหาวิธีการหรือกลยุทธที่ชวยใหระดับความผูกพันตอองคการ และระดับความผูกพัน

ของพนักงาน ไมแตกตางกัน เพื่อนําไปเปนขอเสนอแนะใชวางแผลกลยุทธในการบริหารองคการ

ตอไป

ดานความสําเร็จในการทํางาน ทําการ Trainning Needs ใหกับพนักงานทราบวา

ตนเองขาดความรูความเขาใจเรื่องใด และองคการทราบวาพนักงานแตละบุคคลจะตองไดรบการ

ฝกอบรมเพิ่มเติมในเรื่องใดเพื่อที่จะสามารถกาวไปสูความกาวหนาทางอาชีพของตนเอง

ดานเงินเดือน การกําหนดนโยบายเรื่องคาตอบแทน และสวัสดิการ ผูบริหารควรให

ความสําคัญกับการ จายคาตอบแทนใหสอดคลองกับลักษณะของงานที่ปฏิบัติและมีการจาย

คาตอบแทนใหเหมาะสมกับแตละตําแหนงงานและพจิารณาการจายคาตอบแทนอื่นๆ เชน คา

ลวงเวลา เพื่อเปนขวัญและ กําลังใจในการทํางาน รวมทั้งการจัดสวัสดิการและผลประโยชนอื่นๆให

เพียงพอตอการครองชีพของพนักงาน

ดานการปกครองบังคับบัญชา ผูบริหารควรใหความสําคัญตอพนักงานทุกระดับเมื่อ

พนักงานประสบปญหาในการ ปฏิบัติงานผูบังคับบัญชามีสวนรวมในการแกปญหาไมทอดทิ้งให

พนักงานแกไขปญหาดวยตนเอง ตามลําพังมีการบังคับบัญชาดวยความยุติธรรม

ดานสภาพการปฏิบัติงาน ผูบริหารควรใหความสําคัญกับการจูงใจใหบุคลากรมี

แรงผลักดันและกระตุนใหเกิดความอยากทํางาน ทั้งเรื่องการปรับสถานที่ทํางานใหมีความสะดวก

และ เหมาะสมตอการปฏิบัติงาน หรือจัดสิ่งแวดลอมอื่นๆ ที่จรรโลงสุขภาพจิตของบุคลากร และ

กระตุนใหมีแรงจูงใจดานการทํางาน

ดานความมั่นคงในการปฏิบัติงาน ผูบริหารควรสรางความมั่นใจใหกับพนักงานวา

พนักงานทุกคนจะไดรับความเปนธรรม ไมถูกเอารัดเอาเปรียบ และจะมีความสุข และจะมีอนาคตที่

ดีโดยองคการจะไมทอดทิ้งและใหความชวยเหลือเมื่อพนักงานเกิดปญหา ตลอดจนเปดโอกาสให

พนักงานไดรับรูนโยบายหรือระเบียบตางๆ ขององคการเพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติ และเปน

หลักประกันที่มั่นคงในการทํางานของพนักงาน

ดานชีวิตความเปนอยูสวนตัว ผูบริหารควรทําใหพนักงานรูสึกถึงความมั่นคงทั้งทาง

รางกาย และจิตใจ เชน มีหลักประกันความมั่นคงวาจะไดรับการจางงานตลอดไป หรือมีบําเหน็จ

เมื่อออกจากงาน และควรใหความใสใจในเรื่องความเปนอยูของพนักงานใหมากยิ่งขึ้นเพื่อสุขภาพ

ชีวิตของพนักงานดีขึ้น รวมทั้งจัดสวัสดิการและผลประโยชนอื่นๆ ใหเพียงพอตอการครองชีพของ

พนักงาน

ขอเสนอแนะการศึกษาครั้งตอไป1) ศึกษาถึงปจจัยที่สงผลตอความผูกพันตอองคการของพนักงานองคการภาครัฐ

2) ศึกษาเปรียบเทียบปจจัยที่มีความสัมพันธกับความผูกพันตอองคการของพนักงาน

ภาครัฐกับภาคเอกชน

เอกสารอางอิงณัฏฐพันธ เขจรนันท. 2547. พฤติกรรมองคการ. กรุงเทพฯ :โอเดียนสโตร.

นวลจันทร ทัศนชัยกุล. 2541. อาชญากรรม. กรุงเทพฯ : พรทิพยการพิมพ.

ภรณี มหานนนท. 2539 การประเมินประสิทธิผลขององคกร. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร.

สมพงศ เกษมสิน. 2523 การบริหาร. (พิมพครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ. ไทยวัฒนาพานิช.

สมยศ นาวีการ.2543 ทฤษฎีองคการ. กรุงเทพฯ : อมรการพิมพ.

ณัฏฐชุดา หรั่งเพชร.2548. ความสัมพันธระหวางการรับรูเกี่ยวกับสวัสดิการที่ไดรับจากการปฏิบัติงานกับความผูกพันตอองคการของบริษัท ทีโอที จํากัด.วิทยานิพนธปริญญา

พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการพยาบาล บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย

ปาริชาต บัวเปง. 2554. ปจจัยที่มีผลตอความผูกพันตอองคกรของพนักงานบริษัท ไดกิ้นอินดัสทรีสประเทศไทย (จํากัด).วิทยานิพนธบธ.ม., มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคล

ธัญบุรี, ปทุมธานี

สมชื่น นาคพลั้ง.2547.ความมุงมั่นผูกพันตอองคกร : ศึกษากรณี บริษัทฮิวเลตต-แพคการด(ประเทศไทย) จํากัด. วิทยานิพนธ พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการพัฒนา

ทรัพยากรมนุษย, โครงการบัณฑิตศึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย , สถาบันบัณฑิต

พัฒน บริหารศาสตร

Kahn, W.A.1990 Psychological conditions of personal engagement and disengagement at work. Academy of Management Journal, 33, 692-724.

Maslow, Abraham.H.1970 Motivation and Personality. New York : Harpers and Row.

Mathieu, J., & Zajac, D. (1990). A review and meta-analysis of the antecedents, correlate and consequences of organizational commitment. Psychological Bulletin, 108(2),

171-194.

Miles, R. E., & Snow, C. C. 2003. Organizational Strategy, Structure, and Process. Stanford, California: Stanford University Press.

*******************