iNT Roadshow & Mobile clinic วิทยาเขตกาญจนบุรี ·...

66
นายพิเชษฐ์ ธนพงศ์จงรวย เจ้าหน้าที่ทรัพย์สินทางปัญญาและตัวแทนสิทธิบัตร ทรัพย์สินทางปัญญาในมหาวิทยาลัยiNT Roadshow & Mobile clinic@วิทยาเขตกาญจนบุรี

Transcript of iNT Roadshow & Mobile clinic วิทยาเขตกาญจนบุรี ·...

  • นายพิเชษฐ์ ธนพงศ์จงรวย

    เจ้าหน้าที่ทรัพย์สินทางปัญญาและตัวแทนสิทธิบัตร

    “ทรัพย์สินทางปัญญาในมหาวิทยาลัย”

    “iNT Roadshow & Mobile clinic”

    @วิทยาเขตกาญจนบุรี

  • Content

    ทรัพย์สินทางปัญญาในมหาวิทยาลัย 1. ลิขสิทธ์ิ2. สิทธิบัตร3. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล

    ว่าด้วยการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญาผลงานวิจัย และนวัตกรรมพ.ศ.2561

  • ทรัพย์สินทางปัญญา

    ทรัพย์สินทางปัญญา หมายถึง ผลอันเกิดจากการประดิษฐ์ คิดค้น หรือสร้างสรรค์ของมนุษย์ ซึ่งเน้นที่ผลผลิตของสติปัญญา และความช านาญ โดยไม่ค านึงถึงชนิดของการสร้างสรรค์ หรือวิธีการแสดงออก

    ทรัพย์สินทางปัญญา

    o แสดงออกในรูปแบบที่จับต้องได้ เช่น สินค้าต่างๆ หรือ

    oแสดงออกในรูปแบบสิ่งที่จับต้องไม่ได้ เช่น บริการ แนวคิดในการด าเนินธุรกิจ กรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม เป็นต้น

  • ประเภทของทรัพย์สินทางปัญญาไทย :ตามระบบจดทะเบียน

    ทรัพย์สินทางปัญญา

    Intellectual property

    สิทธิบัตรPatent

    แบบผังภูมิของวงจรรวม

    Layout-designs of integrated

    circuits

    เครื่องหมายการค้า

    Trademark

    สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์

    Geographical indications

    ภูมิปัญญาการแพทย์แผน

    ไทย Thai traditional medicine

    คุ้มครองพันธุ์พืช

    Plant Varieties Protection

    ความลับทางการค้า

    Trade secret

    ลิขสิทธิ์

    Copyright

    กรมวิชาการเกษตร

    กรมการพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอืก

  • 1. ลิขสิทธิ์

    5

    • สิทธิแต่เพียงผู้เดียวที่จะกระท าการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ไดร้ิเริ่มโดยการใช้สติปัญญาความรู้ ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะของตนเองในการสร้างสรรค์ โดยไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น โดยงานที่สร้างสรรค์ต้องเป็นงานตามประเภทที่กฎหมายลิขสิทธิ์ให้คุ้มครอง โดยผู้สร้างสรรค์จะได้รับความคุ้มครองทันทีที่สร้างสรรคโ์ดยไม่ต้องจดทะเบียน

  • เงื่อนไขทั่วไปในการคุ้มครองลิขสิทธิ์

    6

    คุ้มครองการแสดงออกซึ่งความคิด (Expression of Idea) ไม่คุ้มครองความคิด

    เกิดจากการริเริ่มขึ้นเอง (Originality) ไมล่อกเลียนแบบใคร

    เกิดจากความวิริยะ อุตสาหะ (Creative effort) ของผู้สร้างสรรค์ ซึ่งได้ทุ่มเทก าลัง สติปัญญา ความรู้ ความเช่ียวชาญ วิจารณญาณ มิใช่สักแต่ว่าท างานนั้นขึ้น หรืองานนั้นเกิดโดยบังเอิญ

    การคุ้มครองลิขสิทธิ์ไม่ครอบคลุมถึงความคิดขั้นตอน กรรมวิธีหรือระบบ หรือวิธีใช้ หรือวิธีท างาน หรือแนวความคิด หลักการ การค้นพบ หรือทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์

    ไม่เก่ียวกับคุณค่าของงานหรือคุณค่าของศิลปะ เพราะป็นเรื่องของความรู้สึกนึกคิดของคนแต่ละสมัย

    หากงานเกิดขึ้นโดยบังเบิญ แม้จะมีราคาหรือคุณค่าก็ไม่อาจถือได้เป็นงานอันมีลิขสิทธิ์

    ที่มา : กฎหมายลิขสิทธิ์ขั้นสูง, เอกสารประกอบการอบรมประกาศนียบัตรขั้นสูงว่าด้วยกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา, ดร.วรวงศ์ อัจฉราวงศ์ชัย, 2 มิถุนายน 2562.

  • ลิขสิทธิ์

    7

    กฎหมายคุ้มครองเจ้าของลิขสทิธิ์มิให้ผู้อื่นลอกเลียนแบบหรือท าซ้ า ตลอดจนห้ามมิให้มีการใช้ประโยชน์จากรูปแบบของการแสดงออกของความคิดของผู้สร้างสรรค์โดยไม่ได้รับอนุญาต

  • งานลิขสิทธิ์ท่ีกฎหมายก าหนดมี 9 สาขา

    8

    1. งานวรรณกรรม (Literary Work) เช่น หนังสือ หรือสิ่งเขียน สิ่งพิมพ์ต่างๆ สุนทรพจน์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Software) ฯลฯ2. งานนาฏกรรม (Dramatic Work) เช่น ท่าร า ท่าเต้น การแสดงโดยวิธใีบ้ ฯลฯ3. งานศิลปกรรม (Artistic Work) เช่น ภาพเขียน ภาพวาด ภาพถ่าย รูปปั้น สิ่งปลูกสร้าง เป็นต้น4. งานดนตรีกรรม (Musical Work) ได้แก่ งานเพลงต่างๆ ค าร้อง ท านอง และการเรียบเรียงเสยีงประสาน 5. งานโสตทัศนวัสดุ (Audio-Visual Work) เช่น วิดีโอเทป วีซีดี6. งานภาพยนตร์ (Cinematography Work) ได้แก่ ภาพยนตร์และเสยีงประกอบของภาพยนตร์7. งานสิ่งบันทึกเสียง (Sound Recording Work) เช่น แผ่นเสียง เทป แผ่นซีดี เป็นต้น 8. งานแพร่เสียงแพรภ่าพ (Sound and Video Broadcasting Work) เช่น การกระจายเสยีงทางวิทยกุระจายเสยีง

    และการกระจายภาพ และเสียงทางวิทยุโทรทัศน์9. งานอ่ืนใดอันเป็นงานในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ (Any Other Work in the Literary, Scientific or Artistic Domain)

  • ลิขสิทธิ์: ประเภทงานวรรณกรรม

    9

    Publication: 28 - 29 ตุลาคม 2556

  • สิทธิบัตร คือ หนังสือส าคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ (Invention) หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Industrial design) หรือผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์ (Utilitymodel) ที่มีลักษณะตามกฎหมายก าหนด ได้แก่

    • สิทธิบัตรการประดิษฐ์ (Invention patent) • สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Design patent) และ• อนุสิทธิบัตร (Petty patent, Utility model)

    ผู้ทรงสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร มีสิทธิเด็ดขาด หรือสิทธิแต่เพียงผู้เดียวในการแสวงหาผลประโยชน์จากการประดิษฐ์ หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการจดทะเบียนสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตรนั้น ภายในระยะเวลาตามที่กฎหมายก าหนด

    10

    2. สิทธิบัตร (Patent)

  • สิทธิในการผลิต ใช้ ขาย มีไว้เพื่อขาย เสนอขายหรือน าเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งผลิตภัณฑ์ตามสิทธิบัตร (กรรมวิธี : ใช้กรรมวิธีเพื่อการผลิต)

    ข้อยกเว้นไม่ละเมิดสิทธิของผู้ทรงสิทธิบัตร ไม่ใช้เพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์ ไม่กระทบสิทธิของเจ้าของสิทธิเกินสมควร เช่น การศึกษาวิจัยทางวิชาการ

    สิทธิในการอนุญาตให้ผู้อื่นใช้สิทธิ

    11รูปhttps://fbombmedia.com/wp-content/uploads/2014/10/IP.png

    ??การวิจัยทางวิชาการเพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์??

    สิทธิของผู้ทรงสิทธิบัตร

  • “Innovation”IP Utilization

    (Commercialization)

    “R&D”IP creation

    “Invention”IP Protection

    Innovation = Invention × Commercialization

    Invention = Creation × Protection

    Technology-Entrepreneur = Invention × Finance

    Market Needs

    “แผนภาพโอกาส” ข้อมูลจาก เอกสารประกอบการอบรม “การพัฒนากระบวนการและเครื่องมือเพ่ือส่งเสริมการสร้างผู้ประกอบการธุรกิจนวัตกรรมเกิดใหม่ (Innovative Startup) และการจัดฝึกอบรมค่ายสร้างสรรค์นวัตกรรมครั้งที่ 2 ด้านสุขภาพ (Health Innovation Bootcamp)” โดย ศูนย์การสร้างผู้ประกอบการที่ขับเคลื่อนโดยนวัตกรรม (IDE Center) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

    วิจัยและพัฒนา สู่การใช้ประโยชน์ทรัพย์สินทางปัญญา

  • แบบผลิตภัณฑ์

    ลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์ เช่น รูปร่าง ลักษณะ ลวดลาย สี

    ใหม่ และ ประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมและหัตถกรรมได้

    สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์

    อายุความคุ้มครอง 10 ปี

    2. สิทธิบัตร (Patent)

    สูตร

    สิทธิบัตรการประดิษฐ์

    การประดิษฐ์

    ใหม่ และ มีขั้นการประดิษฐ์ที่สูงข้ึน และ ประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมได้

    อายุความคุ้มครอง 20 ปี

    กลไก

    โครงสร้าง

    ระบบ

    วิธีการ/กระบวนการ

    เทคนิค

    ใหม่ ไม่ซับซ้อน ต่อยอด ประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมได้

    อายุความคุ้มครอง 6 ปี ต่ออายุได้ 2 ครั้ง ครั้งละ 2 ปี รวม 10 ปี

    อนุสิทธิบัตร

    การประดิษฐ์

    กลไก

    โครงสร้าง

    ระบบ

    วิธีการ/กระบวนการ

    เทคนิค

    สูตร

    13

  • การประดิษฐ์ หมายถึง ลักษณะองค์ประกอบ โครงสร้าง หรือกลไกของผลิตภัณฑ์ รวมทั้งกรรมวิธีในการผลิต การเก็บรักษา หรือปรับปรุงคุณภาพการผลิตให้ดีขึ้น หรือท าให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ที่แตกต่างไปจากเดิม

    สูตร

    สิทธิบัตรการประดิษฐ์

    การประดิษฐ์

    ใหม่ และ มีขั้นการประดิษฐ์ที่สูงขึ้น และประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมได้

    อายุความคุ้มครอง 20 ปี

    กลไก

    โครงสร้าง

    ระบบ

    วิธีการ/กระบวนการ

    เทคนิค

    14

    สิทธิบัตรการประดิษฐ์ (Invention Patent)

    An invention is the highly advanced creation of technical ideas utilizing the laws of nature. – The Patent Act of Japan

    การประดิษฐ์ หมายความว่า การคิดค้นหรือคิดท าขึ้น อันเป็นผลให้ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์หรือกรรมวิธีใดขึ้นใหม่ หรือการกระท าใด ๆ ที่ท าให้ดีขึ้นซึ่งผลิตภัณฑ์หรือกรรมวิธี – พ.ร.บ.สิทธิบัตร

  • การให้ความคุ้มครองการประดิษฐ์ จากความคิดสร้างสรรค์ที่มีระดับการพัฒนาเทคโนโลยีไม่สูงมาก โดยอาจเป็นการประดิษฐ์คิดค้นขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงจากการประดิษฐ์ที่มีอยู่ก่อนเพียงเล็กน้อย

    ใหม่ ไม่ซับซ้อน ต่อยอด ประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมได้

    อายุความคุ้มครอง 6 ปี ต่ออายุได้ 2 ครั้ง ครั้งละ 2 ปี รวม 10 ปี

    อนุสิทธิบัตร

    การประดิษฐ์

    กลไก

    โครงสร้าง

    ระบบ

    วิธีการ/กระบวนการ

    เทคนิค

    สูตร

    15

    อนุสิทธิบัตร (Pretty Patent)

  • สิทธิบัตรการประดิษฐ์1. ต้องเป็นการประดิษฐ์ที่คิดค้นขึ้นใหม่ (Novelty) คือ การประดิษฐ์ที่แตกต่างไปจากเดิม ยังไม่มีขาย ใช้

    หรือแพร่หลายมาก่อนในประเทศ หรือไม่เคยเปิดเผยสาระส าคัญ หรือรายละเอียดในเอกสาร สิ่งพิมพ์ หรือการน าออกแสดง หรือเปิดเผยต่อสาธารณะชนมาก่อนทั้งในและนอกประเทศ และยังไม่เคยได้รับสิทธิบัตรมาก่อน

    เงื่อนไขหรือลักษณะของการรับความคุ้มครองสทิธิบัตร

    2. ต้องเป็นการประดิษฐ์ที่มีขั้นการประดิษฐ์ที่สูงขึ้น (Inventive step) คือ มีลักษณะที่เป็นการแก้ไขปัญหาทางเทคนิค หรือไม่เป็นการประดิษฐ์ที่ท าได้โดยง่ายต่อผู้ที่มีความช านาญในระดับสามัญส าหรับงานประเภทนั้น

    3. ต้องเป็นการประดิษฐ์ที่สามารถน าไปประยุกต์ในทางอุตสาหกรรมได้ (Industrial applicable) ต้องสามารถผลิตเป็นผลิตภัณฑไ์ด้ หรือสามารถด าเนินการได้ตามกรรมวิธีที่ก าหนด

    16

    อนุสิทธิบัตรใช้เงื่อนไขและลักษณะของการรับความคุ้มครองสิทธิบัตรข้อ 1. และข้อ 3.

  • ลิขสิทธิ์: ประเภทงานวรรณกรรม

    17

    Publication: 28 - 29 ตุลาคม 2556

  • ห้ามผลิต ใช้ ขาย มีไว้เพื่อขาย เสนอขายหรือน าเข้ามาในราชอาณาจักร สิทธิในการอนุญาตให้ผู้อื่นใช้สิทธิ ซึ่งสารปรับสภาพผิวสิ่งทอฯ ซึ่งมีสูตรตามอนุสิทธิบัตร

    18

    Application date: 25 ตุลาคม 2556

  • การประดิษฐ์ที่ขอรับสิทธิบัตรไม่ได้1. จุลชีพ และส่วนประกอบส่วนใดส่วนหนึ่งของจุลชีพที่มีอยู่ตามธรรมชาติ สัตว์ พืช หรือสารสกัดจากสัตว์หรือพืช

    19

    2. กฎเกณฑ์และทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์3. ระบบข้อมูลส าหรับการท างานของเครื่องคอมพิวเตอร์4. วิธีวินิจฉัย บ าบัด หรือรักษาโรคมนุษย์ หรือสัตว์5. การประดิษฐ์ที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี อนามัย หรือสวัสดิภาพของประชาชน เช่น สารเคมี

    ประเภทยาเสพติด กุญแจผี เครื่องมือท าแท้ง เครื่องมือโกงค่าน้ าไฟ เครื่องมือส่งสัญญาณโกงข้อสอบ

    (ร่าง) พรบ.ส่งเสริมและอนุรักษ์พันธุ์สัตว์พื้นเมือง พ.ศ. ...

    ระเบียบกรมปศุสัตว์ว่าด้วยการขึ้นทะเบียนพันธุ์สัตว์พรบ.คุ้มครองพันธุ์พืช

  • สิทธิบัตรการประดิษฐ์ขั้นการประดิษฐ์ที่สูงขึ้น (Inventive step) เป็นการประดิษฐ์ที่ไม่เป็นที่ประจักษ์โดยง่ายแก่

    บุคคลที่มีความช านาญในระดับสามัญส าหรับงานประเภทนั้น (Non-obviousness)• Non-obviousnesso ผลที่ไม่คาดหวัง (unexpected results) และ/หรือo การรายงานก่อนหน้านี้ที่ให้ผลตรงกันข้าม และ/หรือo มีขั้นตอนการทดลอง ศึกษา วิจัยหลายขั้นตอน/กระบวนการ และ/หรือ o การประดิษฐ์ที่เป็นการแก้ไขปัญหาที่ไม่มีผู้แก้ไขได้มาช้านาน และ/หรือo การประดิษฐ์นั้นประสบความส าเร็จในการค้า

    เงื่อนไขหรือลักษณะของการรับความคุ้มครองสิทธิบัตร

    *พิจารณาว่า “หลักการท างาน (function) และผลที่ได้รับ (results or utilities) แตกต่างจากงานที่ปรากฏอยู่แล้วเพียงใด”

    20

    บุคคลที่มีความช านาญในระดับสามัญส าหรับงานประเภทนั้น (A person skilled in the art): เคมี เภสัชภัณฑ์ เทคโนโลยีชีวภาพ วิศวกรรม ไฟฟ้า และฟิสิกส์

  • เป็นการให้ความคุ้มครองความคิดสร้างสรรค์ที่เกี่ยวกับรูปร่างลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์ องค์ประกอบของลวดลาย หรือสีของผลิตภัณฑ์ที่ปรากฏแก่สายตา ซึ่งสามารถใช้เป็นแบบส าหรับผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม รวมทั้งหัตถกรรม และแตกต่างไปจากเดิม

    การออกแบบผลิตภัณฑ์ หมายถึง รูปร่างลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์ องค์ประกอบของลวดลาย หรือสีของผลิตภัณฑ์ ซึ่งสามารถใช้เป็นแบบส าหรับการผลิตเชิงอุตสาหกรรม รวมท้ังหัตถกรรมได้

    แบบผลิตภัณฑ์

    ลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์ เช่น รูปร่าง ลักษณะ ลวดลาย สี

    ใหม่ และประยุกต์ใช้เป็นแบบในอุตสาหกรรมรวมถึงหัตถกรรมได้

    สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์

    อายุความคุ้มครอง 10 ปี

    21

    สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ ์(Industrial Design Patent)

  • แบบผลิตภัณฑท์ี่ขอรับสิทธิบัตรไม่ได้1. แบบผลิตที่ไม่ใช่การออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่2. แบบผลิตภัณฑ์ที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีงามของประชาชน3. แบบผลิตภัณฑ์ที่ก าหนดโดยพระราชกฤษฎีกา (ยังไม่มีก าหนด)

    22

  • สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์

    23

    รูปร่าง ลักษณะ (ขวด) ลวดลาย (กระเบื้อง) องค์ประกอบของลวดลายหรือสี (ลูกรักบี้)

    ข้อมูลจาก เอกสารประกอบการบรรยาย “ออกแบบอย่างไรให้จดสิทธิบัตรการออกแบบได้”โดย นายดนัย เลี้ยงเจริญ นักวิชาการตรวจสอบสิทธิบัตรช านาญการ กองสิทธิบัตรออกแบบ กรมทรัพย์สินทางปัญญา

  • 24

    ทรัพย์สินทางปัญญาในมหาวิทยาลัย

    ลิขสิทธิ์ เครื่องหมายการค้า สิทธิบัตร ความลับทางการค้าง า น ว ร ร ณ ก ร ร ม ( ร ว ม ถึ ง โ ป ร แ ก ร มคอมพิวเตอร์) งานนาฏกรรม งานศิลปกรรม งานดนตรีกรรม งานโสตทัศนวัสดุ งานภาพยนตร์ งานสิ่งบันทึกเสียง งานแพร่เสียงแพร่ภาพ และงานอื่นใดในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ

    “เครื่องหมาย” - ภาพถ่าย ภาพวาด ภาพประดิษฐ์ ตรา ชื่อ ค าข้อความ ตัวหนังสือ ตัวเลข ลายมือชื่ อ กลุ่ มของสี รูปร่ างหรือรูปทรงของวัตถุ เสียง หรือสิ่งเหล่านี้อย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน

    1 ) คุ้ ม ค ร อ ง ก า ร ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ คือ ผลิตภัณฑ์ กรรมวิธี และการใช้งาน2) แบบผลิตภัณฑ์

    คุ้มครองข้อมูล ความลับทางการค้า เช่น สูตรการผลิต ฐานข้อมูลลูกค้า

    ไม่จ าเป็นต้องยื่นขอรับการคุ้มครอง(จดแจ้ง)

    ต้องยื่นขอรับการคุ้มครอง ต้องยื่นขอรับการคุ้มครอง ไม่จ าเป็นต้องยื่นขอรับการคุ้มครอง

    อายุการคุ้มครอง ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์และต่ออีก 50 ปีนับจากที่ผู้สร้างสรรค์

    เสียชีวิต

    ต่ออายุได้ทุกๆ 10 ปี อายุการคุ้มครอง 20/10 ปี ตราบเท่าที่ยังคงเป็นความลับอยู่

  • IP Creation

    IP Protection

    IP Utilization

    Enforcement

    กิจกรรมการบริหารจัดการทรัพย์สนิทางปัญญา แบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่ม

    • ช่วงการสร้างสรรค์ทรัพย์สินทางปัญญา (IP Creation)

    • ช่วงการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา (IP Protection)

    • ช่วงการใช้ประโยชน์ทรัพย์สินทางปัญญา (IP Utilization)

    • ช่วงการเฝ้าระวังสิทธิ (Enforcement)

    Pictures: www.wipo.int

  • Website: https://int.mahidol.ac.th

    งานถ่ายทอดเทคโนโลยีเชิงพาณิชย์สถาบันบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม (iNT) โทร 02-849-6050-3, 02-849-6056-7เวปไซต์ https://int.mahidol.ac.th

  • 27

    Technology commercialization>งานคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา>ฐานข้อมูลการสืบค้นข้อมูลสิทธิบัตร

    Website: https://int.mahidol.ac.th

    Technology commercialization>หลักสูตรการอบรม

    1. ทรัพย์สินทางปัญญาเบื้องต้น ระยะเวลา 0.5 วัน2. การอบรมเชิงปฏิบัติการการสืบค้นข้อมูลสิทธิบัตร ระยะเวลา 0.5 - 1 วัน3. การอบรมเชิงปฏิบัติการการร่างค าขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์/อนุสิทธิบัตร

  • การขอใช้บริการ Patsnap

    งานถ่ายทอดเทคโนโลยีเชิงพาณิชย์ สถาบันบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม

    โทร 02-849-6056 ถึง 57

    คุณขนิษฐา อนุสนธิ์อีเมล [email protected]

    28

  • 29

    Patent landscape report

    ฐานข้อมูลสิทธิบัตรองค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก

    www.wipo.int

    Knowledge PATENTSCOPE

    -Patent landscape

  • 30

    ฐานข้อมูลสิทธิบัตรองค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก

    Patent landscape reports by other organizations

  • 31

    Patent landscape reports by other organizations

    ฐานข้อมูลสิทธิบัตรองค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก

  • 32

    3. ข้อบังคับฯว่าด้วยการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญาผลงานวิจัย และนวัตกรรม พ.ศ.2561

    ข้อบังคับฯว่าด้วยการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย และนวัตกรรม พ.ศ.2561ค านิยาม

    “ผู้ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย”

    พนักงานมหาวิทยาลัย ข้าราชการ ลูกจ้างของส่วนราชการซึ่งสังกัดมหาวิทยาลัย พนักงานซึ่งจ้างจากเงินรายได้ของส่วนราชการซึ่งสังกัดมหาวิทยาลัย หรือจ้างโดยเงินอุดหนุนจากองค์กรภายนอกมหาวิทยาลัย ให้รวมถึงผู้ปฏิบัติงานวิจัยหรือลูกจ้างที่อยู่ภายใต้การก ากับดูแลของผู้ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย

    “ผู้สร้างผลงาน”

    ผู้ปฎิบัติงานในมหาวิทยาลัย นักศึกษา ที่ได้สร้างสรรค์ทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย หรือนวัตกรรม ตามข้อบังคับนี้

  • 33

    ทรัพย์สินทางปัญญาในมหาวิทยาลัย

    ค านิยาม (ต่อ)

    “ผลงานวิจัย”

    สิ่งที่ได้มาจากกระบวนการศึกษาวิจัยเพื่อให้ได้มาซึ่งองค์ความรู้ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบใด และให้หมายความรวมถึงฐานข้อมูล ทรัพยากรพันธุกรรม ผลิตภัณฑ์ กรรมวิธี กระบวนการ มาตรการ หรือระบบ

    “นวัตกรรม”

    สิ่งใหม่ที่เกิดจากการใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์ที่มีประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคม และหมายความรวมถึงสิ่งที่เกิดขึ้นจากความสามารถในการใช้ความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ทักษะ และประสบการณ์ทางเทคโนโลยีหรือการจัดการมาพัฒนาให้เกิดผลิตภัณฑ์ หรือกระบวนการผลิต หรือบริการใหม่ เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด ตลอดจนการปรับปรุงเทคโนโลยี การแพร่กระจายเทคโนโลยี การออกแบบผลิตภัณฑ์ และการฝึกอบรมที่น ามาใช้เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ และก่อให้เกิดประโยชน์สาธารณะในรูปแบบของการเกิดธุรกิจ การลงทุน ผู้ประกอบการ หรือตลาดใหม่ หรือรายได้แหล่งใหม่ รวมทั้งการจ้างงานใหม่

    ข้อบังคับฯว่าด้วยการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย และนวัตกรรม พ.ศ.2561

  • 34

    ทรัพย์สินทางปัญญาในมหาวิทยาลัย

    ความเป็นเจ้าของ (Ownership)

    Owner MU – งานที่ท าโดยหน้าที่ การเรียนการสอน การวิจัยที่เป็นภาระงานปกติ หรือมีการน าทรัพยากร ข้อมูล องค์ความรู้ที่ผู้สร้างทรัพย์สินทางปัญญาสามารถใช้ หรือล่วงรู้ได้เพราะการเป็นผู้ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย หรือเป็นนักศึกษา

    - ทรัพย์สินทางปัญญาที่นักศึกษาท าขึ้น ภายใต้หลักสูตรการเรียนการสอน

    Co-Owner - การวิจัย การบริการวิชาการ ที่ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก ให้เป็นไปตามข้อตกลง

    ข้อบังคับฯว่าด้วยการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย และนวัตกรรม พ.ศ.2561

    การประดิษฐ์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผลงานวิจัย นวัตกรรม ทรัพย์สินทางปัญญาอื่น

  • 35

    ทรัพย์สินทางปัญญาในมหาวิทยาลัย

    ข้อบังคับฯว่าด้วยการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย และนวัตกรรม พ.ศ.2561

    งานที่สร้างสรรค์โดยผู้ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย

    ลิขสิทธิ์

    Owner – ผู้สร้างสรรค์ เว้นแต่

    ก. ได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัย

    ข. เกิดขึ้นโดยการจ้างหรือตามค าสั่ง หรืออยู่ภายใต้การควบคุมสั่งการของมหาวิทยาลัย

    งานที่สร้างสรรค์โดยนักศึกษา

    ลิขสิทธิ์ : วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ บทความ

    Owner – นักศึกษา และ มหาวิทยาลัย โดยมีสัดส่วนตามข้อตกลงเป็นหนังสือ

    * กรณี วิ ทยานิพนธ์ ส ารนิพนธ์ บทความ ประกอบด้วยฐานข้อมูล การประดิษฐ์ กรรมวิธี บันทึกการทดลอง หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่สามารถน าไปขอรับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยสิทธิบัตร ให้ระงับการเผยแพร่ไว้ก่อน

    งานที่สร้างสรรค์โดยมีความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก

    ทรัพย์สินทางปัญญาทุกประเภท

    Owner – เป็นไปตามสัญญาหรือข้อตกลงระหว่างมหาวิทยาลัยกับหน่วยงานภายนอก

    * โดยให้ค านึงถึงการมีส่วนร่วมในการพัฒนาทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย หรือนวัตกรรม

    ฟอร์ม บฑ 40: แจ้งความประสงค์ขอเผยแพร่วิทยานิพนธ์ บน Website

  • 36

    ทรัพย์สินทางปัญญาในมหาวิทยาลัย

    พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 มาตรา 9

    งานที่สร้างสรรค์ขึ้นในฐานะลูกจ้าง ถ้าไม่ได้ท าหนังสือตกลงกันไว้เป็นอย่างอื่น ให้ลิขสิทธิ์ตกเปน็ของลูกจ้างผู้สร้างสรรค์งานนั้น

  • 37

    ทรัพย์สินทางปัญญาในมหาวิทยาลัย

    ข้อบังคับฯว่าด้วยการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย และนวัตกรรม พ.ศ.2561

    งานประดิษฐ์โดยผู้ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย

    การประดิษฐ์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผลงานวิจัย นวัตกรรม หรือทรัพย์สินทางปัญญาอื่น

    Owner – มหาวิทยาลัย

    งานประดิษฐ์โดยนักศึกษา

    การประดิษฐ์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผลงานวิจัย นวัตกรรม หรือทรัพย์สินทางปัญญาอื่น

    Owner –มหาวิทยาลัย

    * ต้องเป็นงานที่ได้ท าขึ้นตามหลักสูตรการเรียนการสอนของมหาวทิยาลัย และใช้ทรัพยากร เครื่องมือและอปุกรณ์ของมหาวิทยาลัยไมว่่าทั้งหมดหรือบางส่วน

    งานที่สร้างสรรค์โดยมีความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก

    ทรัพย์สินทางปัญญาทุกประเภท

    Owner – เป็นไปตามสัญญาหรือข้อตกลงระหว่างมหาวิทยาลัยกับหน่วยงานภายนอก

    * โดยให้ค านึงถึงการมีส่วนร่วมในการพัฒนาทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย หรือนวัตกรรม

  • 38

    ทรัพย์สินทางปัญญาในมหาวิทยาลัย

    ข้อบังคับฯว่าด้วยการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย และนวัตกรรม พ.ศ.2561หน้าที่ของผู้สร้างผลงาน

    • ไม่กระท าในลักษณะท่ีเป็นการละเมิดผลงานของผู้อื่น

    • มีหน้ าที่ แจ้ งและ เปิ ด เผยรายละ เอี ยดของทรัพย์ สิ นทางปัญญา ผลงานวิ จั ย หรื อนวั ตกรรม อย่างถูกต้องและครบถ้วนตามแบบที่สถาบันฯ ก าหนด โดยไม่ชักช้า

    • หน้าที่รักษาข้อมูลที่เกี่ยวกับการสร้างทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย หรือนวัตกรรม ไว้เป็นความลับ หากต้องการเปิดเผยข้อมูลต้องได้รับความยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรจากมหาวิทยาลัย

    • ต้องไม่น าทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย หรือนวัตกรรม ไปด าเนินการขอรับความคุ้มครองตามกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา หรือน าไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์โดยไม่ได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัย

  • 39

    ทรัพย์สินทางปัญญาในมหาวิทยาลัย

    ข้อบังคับฯว่าด้วยการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย และนวัตกรรม พ.ศ.2561

    • การใช้ประโยชน์ลิขสิทธิ์โดยมหาวิทยาลัย

    มหาวิทยาลัยอาจน างานอันมีลิขสิทธิ์ไปท าซ้ า เผยแพร่ ตามความจ าเป็น เพ่ือ

    1. การเรียนการสอนตามหลักสูตร

    2. วัตถุประสงค์ด้านวิชาการอื่น ๆ

    ทั้งนี้ โดยได้รับอนุญาตจากผู้สร้างผลงาน (ผู้สร้างสรรค์)

    • การใช้ประโยชน์ลิขสิทธิ์โดยผู้สร้างผลงาน/ ส่วนงานต้นสังกัดของผู้ส้รางผลงาน

    ผู้สร้างผลงาน หรือ ส่วนงานต้นสังกัดของผู้สร้างผลงาน อาจน างานอันมีลิขสิทธิ์ไปผลิตท าซ้ า เผยแพร่ หรือจ่ายแจก ตามความจ าเป็น เพื่อ

    1. การเรียนการสอนตามหลักสูตร

    2. วัตถุประสงค์ด้านวิชาการอื่น ๆ

    โดยไม่ต้องได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัย แต่ต้องไม่เป็นการแสวงหาประโยชน์เชิงพาณิชย์

    • การใช้และการจัดสรรผลประโยชน์ในทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย และนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์

  • 40

    ทรัพย์สินทางปัญญาในมหาวิทยาลัย

    ข้อบังคับฯว่าด้วยการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย และนวัตกรรม พ.ศ.2561

    • กรณีน าผลงานไปประกวด

    กรณีไม่เสียสิทธคิวามเป็นเจ้าของ

    ต้องเป็นกรณี

    - เป็นผลงานที่ยังไมไ่ด้อนุญาตให้มีการใช้ประโยชน์

    - ข้อก าหนดในการประกวดไมท่ าให้เสียสทิธิความเป็นเจา้ของ

    ผู้อนุญาต – ส่วนงานต้นสังกัดของผู้สร้างผลงาน

    • กรณีน าผลงานไปประกวด

    กรณีเสียสิทธิความเป็นเจ้าของ

    ให้ส่วนงานต้นสังกัดของผู้สร้างผลงานพิจารณาส่งเงื่อนไขให้สถาบันฯ พิจารณาว่าสมควรจะพิจารณาเข้าร่วมหรือไม่

    ผูอ้นุญาต – สถาบันบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม

    • การใช้และการจัดสรรผลประโยชน์ในทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย และนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์

  • 41

    ทรัพย์สินทางปัญญาในมหาวิทยาลัย

    ข้อบังคับฯว่าด้วยการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย และนวัตกรรม พ.ศ.2561• การใช้และการจัดสรรผลประโยชน์ในทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย และนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์

    สถาบันฯ อาจพิจารณาหักค่าใช้จ่ายดังต่อไปนี้ก่อนกระบวนการจัดสรรผลประโยชน์

    1. ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการขอรบัความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา

    2. ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการเพื่อการน าไปใช้ประโยชน์

    3. ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในการผลิตทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย และนวัตกรรม

  • 42

    ทรัพย์สินทางปัญญาในมหาวิทยาลัย

    ข้อบังคับฯว่าด้วยการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย และนวัตกรรม พ.ศ.2561• การใช้และการจัดสรรผลประโยชน์ในทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย และนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์

    ประกาศฯ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และอัตราการจัดสรรผลประโยชน์ในทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย หรือนวัตกรรม พ.ศ. 2561

    ผู้สร้างผลงาน ร้อยละ 50

    สถาบันฯ

    ร้อยละ 10

    มหาวิทยาลัย ร้อยละ 20

    ส่วนงานต้นสังกัด

    ร้อยละ 20

    การจัดสรรกรณีทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย หรือนวัตกรรม ยกเว้นงานอันมีลิขสิทธิ์

    * หลังหักค่าใช้จ่ายตามที่มหาวิทยาลัย ส่วนงาน หรือตามที่กฎหมายก าหนด

    Intensive ผู้สร้างผลงาน

    ผู้ที่มิใช่ผู้ปฏิบัติงาน

    สถาบัน ร้อยละ 15

  • 43

    ทรัพย์สินทางปัญญาในมหาวิทยาลัย

    ข้อบังคับฯว่าด้วยการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย และนวัตกรรม พ.ศ.2561• การใช้และการจัดสรรผลประโยชน์ในทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย และนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์

    ประกาศฯ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และอัตราการจัดสรรผลประโยชน์ในทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย หรือนวัตกรรม พ.ศ. 2561

    ผู้สร้างผลงาน ร้อยละ 70

    สถาบันฯ

    ร้อยละ 10

    มหาวิทยาลัย ร้อยละ 10

    ส่วนงานต้นสังกัด

    ร้อยละ 10การจัดสรรกรณีผลงานอันมีลิขสิทธิ์

    * หลังหักค่าใช้จ่ายตามท่ีมหาวิทยาลัย ส่วนงาน หรือตามที่กฎหมายก าหนด

    Intensive ผู้สร้างผลงาน

    ผู้ที่มิใช่ผู้ปฏิบัติงานสถาบัน

    ร้อยละ 15

  • 44

    ทรัพย์สินทางปัญญาในมหาวิทยาลัย

    ข้อบังคับฯว่าด้วยการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย และนวัตกรรม พ.ศ.2561• การใช้และการจัดสรรผลประโยชน์ในทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย และนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์

    ประกาศฯ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และอัตราการจัดสรรผลประโยชน์ในทรัพย์สินทางปัญญา ผลงานวิจัย หรือนวัตกรรม พ.ศ. 2561

    ข้อยกเว้นการจัดสรรกรณีผลงานอันมีลิขสิทธิ์

    กรณีผลประโยชน์เชิงพาณิชย์ที่เกิดจากการน้าผลงานลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยไปท้าซ้้า ดัดแปลง เผยแพร่ หรือจ้าหน่ายตามความจ้าเป็น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการเรียนการสอน ตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัย

    หรือวัตถุประสงค์เชิงวิชาการไม่ต้องน ามาจัดสรรตามวรรคหนึ่ง

  • ขั้นตอนการด าเนินการขอจดสิทธิบัตร

    45

  • เปิดเผย

    ตรวจสอบการประดิษฐ์

    ยื่นค าขอ

    ตรวจสอบเบื้องต้น

    ประกาศโฆษณา (ไม่)รับจดทะเบียน

    ยื่นค าขอ

    ตรวจสอบเบื้องต้น

    รับจดทะเบียนและประกาศโฆษณา

    วันที่ยื่นค าขอ4 ต.ค. 2539

    สิ้นอายุ 4 ต.ค. 2559

    ตกเป็นของสาธารณะ

    วันที่ยื่นค าขอ4 ต.ค. 2539

    สิ้นอายุ 4 ต.ค. 2549

    ตกเป็นของสาธารณะ

    วันที่รับจดทะเบียน5 ม.ค. 2540

    วันที่รับจดทะเบียน30 ก.ย. 2542

    ขั้นตอนการด าเนินการขอจดสิทธิบัตร

    อนุสิทธิบัตร

    สิทธิบัตร

    46

    กระบวนการภายในมหาวิทยาลัย (iNT)

    กระบวนการภายในมหาวิทยาลัย (iNT)

  • Submit TM01 form

    สืบค้นความเหมือนคล้าย

    ก าหนดจ าพวกและรายการสินค้า

    ยื่นค าขอ

    ตรวจสอบค าขอ

    ประกาศโฆษณา

    รับจดทะเบียน

    @DIP

  • ขั้นตอนการน าผลงานทรัพย์สินทางปัญญาไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์

    IP Commercialisation Process

  • ขั้นตอนการน าผลงานทรัพย์สินทางปัญญาไปใช้ประโยชน์เชงิพาณิชย์

  • ขั้นตอนการน าผลงานทรัพย์สินทางปัญญาไปใช้ประโยชน์เชงิพาณิชย์

  • ประชุมหารือร่วมกับนักวิจัย/ภาคธุรกิจ

    ได้รับการติดต่อจากนักวิจัย

    นัดหมายหารือภายในกับนักวิจัย

    จัดการ Freedom to Operate

    นัดหารือกับภาคธุรกิจ

    นักวิจัยยื่นจดคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา

    • ท้าความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์• จุดเด่น / ข้อจ้ากัด และส่ิงที่ต้องพัฒนา• หากลุ่มเป้าหมาย• ตรวจสอบ Freedom to Operate • การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา• สอบถามความต้องการที่ภาคธุรกิจติดต่อนักวิจัย• ขอข้อมูลทางอาจารย์และน้ามาหาข้อมูลเพิ่มเติม• ให้ค้าปรึกษากรณีอื่นๆ

    • หารือเแผนธุรกิจ• หาแนวทางการน้าไปใช้ประโยชน์ที่เหมาะสม

    • ตรวจสอบสัญญารับทุน • ขอบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา

  • ขั้นตอนการน าผลงานทรัพย์สินทางปัญญาไปใช้ประโยชน์เชงิพาณิชย์

  • รูปแบบการถ่ายทอดเทคโนโลยีเชิงพาณิชย์

    Licensing

    Marketing Test for Licensing

    Research Collaboration and Licensing

    Upscale for Licensing

    Distributors

  • Licensing

    Disclose

    their IPs

    Inventor

    Process

    IPs protection

    iNT

    Submit their

    product interest

    Entrepreneurs

    vPR to public

    Draft Licensing

    terms and conditions

    v

    Transfer Technology

    IP valuation

    (Income Approach)

    Negotiate

    Sign contract

  • Marketing Test and Licensing

    Disclose

    their IPs

    Inventor

    Process

    IPs protection

    iNT

    Market Testing

    Entrepreneurs

    vSell

    Draft Licensing

    terms and conditions

    Passed

    v

    Transfer Technology

    IP valuation

    (Income Approach)

    Negotiate

    Sign contract

    v (< 1 Year)

  • Research Collaboration and Licensing

    - Ideas

    - Clinical & Academic

    Knowledge

    - Budget

    Inventor

    Explore

    Business Partners

    iNTEntrepreneurs

    MOU & NDA

    - Market Opp.

    - Production Process

    & Technique

    - Design

    - Material

    - Cost

    Licensing

    Process

    Products

    v

    v

    v

    Research Collaboration

    Preliminary Terms

    & Conditions

  • Upscale for Licensing

    Disclose

    their IPs

    Inventor

    Process

    IPs protection

    iNTEntrepreneurs

    Explore

    Business Partners

    FundingPilot Plant

    Develop Application

    Licensing

    Process

    MOU & NDA

    Preliminary Terms

    & Conditions

    vv

    Products v

    v

    Passed

    Explore

    Business Partners

  • Distributors

    Disclose

    their IPs

    Inventor

    Process

    IPs protection

    iNT

    Submit their

    product interest

    Entrepreneurs

    ManufactureOEM Sale

    vPR to public

    Negotiate

    Sign contract

    Draft terms

    and conditions

  • ขั้นตอนการน าผลงานทรัพย์สินทางปัญญาไปใช้ประโยชน์เชงิพาณิชย์

  • การประเมินมูลค่าทรัพย์สินทางปัญญา

    ค่าอนุญาตให้ใช้สิทธิ

    ค่าเปิดเผยเทคโนโลยี (Upfront fee) เป็นค่าธรรมเนียมที่ผู้ขอรับอนุญาตช้าระให้แก่ผู้อนุญาตเพื่อตอบแทนการเข้าถึงเทคโนโลยี เหมือนค่าธรรมเนียมแรกเข้า

    ค่าตอบแทนการใช้สิทธิเทคโนโลยี (Royalty fee) เป็นค่าธรรมเนียมที่ผู้ขอรับอนุญาตช้าระให้แก่ผู้อนุญาตเพื่อตอบแทนการใช้เทคโนโลยีนั้นๆ ปกติจะคิดเป็นร้อยละของยอดขายในแต่ละปี โดยอัตราที่คิดขึ้นอยู่กับค่าเฉลี่ยมาตรฐานของผลิตภัณฑ์และสาขาเทคโนโลยี

  • การประเมินมูลค่าทรพัย์สินทางปัญญา (วิธีพิจารณาจากรายได)้

    ประเภทและข้อมูลอุตสาหกรรม

    ขนาดตลาด สภาพการแข่งขัน

    ส่วนแบ่งตลาด

    ประมาณการกระแสรายได้สุทธิในอนาคต เช่น รายได้ ค่าใช้จ่ายในการผลิต การตลาด และอัตราการเติบโต

    ของธุรกิจ

    กลยุทธ์ทางการตลาด

    และความสามารถในการท าก าไรระยะเวลาในการอนุญาตให้ใช้สิทธิ

    Upfront fee (บาท)

    Royalty fee (%)

  • ขั้นตอนการน าผลงานทรัพย์สินทางปัญญาไปใช้ประโยชน์เชงิพาณิชย์

  • การจัดการผลประโยชน์จาก Upfront fee / Royalty feeรับเงิน Upfront Fee/ Royalty

    ตรวจสอบเอกสารและจ านวนเงินท่ีไดร้ับแจ้ง ตามสัญญา (Upfront Fee) (3-5 วัน)

    ส่งเอกสารไปยังการเงินเพื่อตรวจสอบการจัดสรรเงิน

    ผอ. iNT เพื่อด าเนินการอนุมัติ

    แจ้งการเงินเพื่อด าเนินการออกใบเสร็จรับเงิน (1-2 วัน)

    ด าเนินการจัดท าเอกสารอนุมัติจัดสรรผลประโยชน์ (1-2 วัน)

    Payment

  • Website: https://int.mahidol.ac.th

    พญ. นภวรรณ ถาวรานันต์ที่ปรึกษาด้านทรัพย์สินทางปัญญา และตัวแทนสิทธิบัตร

  • Facebook: iNT สถาบันบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม