16 . 2560 - storage.googleapis.com

51
การบังคับใชกฎหมายกรณีเด็กหรือเยาวชนเปนผูเสียหาย หรือผูกระทําความผิดฐานคามนุษย พิทักฐ รัตนเดชากร เอกสารวิชาการรายบุคคลนี้เปนสวนหนึ่งของการอบรม หลักสูตร ผูพิพากษาหัวหนาศาลรุนที16 วิทยาลัยขาราชการตุลาการศาลยุติธรรม สถาบันพัฒนาขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม สํานักงานศาลยุติธรรม .. 2560

Transcript of 16 . 2560 - storage.googleapis.com

Page 1: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

การบังคับใชกฎหมายกรณีเด็กหรือเยาวชนเปนผูเสียหาย หรือผูกระทําความผิดฐานคามนุษย

พิทักฐ รัตนเดชากร

เอกสารวิชาการรายบุคคลน้ีเปนสวนหน่ึงของการอบรม หลักสูตร “ผูพิพากษาหัวหนาศาล” รุนท่ี 16

วิทยาลัยขาราชการตุลาการศาลยุติธรรม สถาบันพัฒนาขาราชการฝายตุลาการศาลยุตธิรรม

สํานักงานศาลยุติธรรม พ.ศ. 2560

Page 2: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

การบังคับใชกฎหมายกรณีเด็กหรือเยาวชนเปนผูเสียหาย หรือผูกระทําความผิดฐานคามนุษย

พิทักฐ รัตนเดชากร

เอกสารวิชาการรายบุคคลน้ีเปนสวนหน่ึงของการอบรม หลักสูตร “ผูพิพากษาหัวหนาศาล” รุนท่ี 16

วิทยาลัยขาราชการตุลาการศาลยุติธรรม สถาบันพัฒนาขาราชการฝายตุลาการศาลยุตธิรรม

สํานักงานศาลยุติธรรม พ.ศ. 2560

Page 3: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

วิทยาลัยขาราชการตุลาการศาลยุติธรรม สถาบันพัฒนาขาราชการฝายตุลาการศาลยุตธิรรม

สํานักงานศาลยุติธรรม

ของ

พิทักฐ รัตนเดชากร

เร่ือง

การบังคับใชกฎหมายกรณีเด็กหรือเยาวชนเปนผูเสียหาย หรือผูกระทําความผิดฐานคามนุษย

ไดรับการตรวจสอบและอนุมัติใหเปนสวนหนึง่ของการอบรม

หลักสูตร “ผูพิพากษาหัวหนาศาล” รุนที่ 16 เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2560

.................................................... (นายน้ําเพชร ปานะถึก)

ผูพิพากษาศาลฎีกา ประธานกรรมการอํานวยการอบรม

....................................................

(นายพงษเดช วานิชกิตติกูล) ผูพิพากษาศาลอุทธรณ

กรรมการที่ปรึกษา

Page 4: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

กิตติกรรมประกาศ

เอกสารวิชาการรายบุคคลฉบับนี้สําเร็จลุลวงไดดวยดี เนื่องจากไดรับความกรุณาอยางสูงจากทานอาจารยพงเดช วานิชกิตติกูล ผูพิพากษาศาลอุทธรณและอาจารยท่ีปรึกษา ท่ีกรุณาใหคําแนะนําปรึกษา ตลอดจนปรับปรุงแกไขขอบกพรองตางๆ ดวยความเอาใจใสอยางดีย่ิง ผูศึกษาตระหนักถึงความตั้งใจจริงและความทุมเทของทานอาจารยและขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ ที่นี้ ขอขอบคุณครอบครัวที่ เปนกําลังใจใหการคนควาวิจัยและขอบคุณเพ่ือนๆ ท่ีอนุเคราะหขอมูลและใหขอคิดแงมุมในการทําการศึกษาวิจัยจนทําใหงานวิจัยนี้สําเร็จลุลวงไปดวยดี อนึ่ง ผูศึกษาหวังวางานวิจัยฉบับนี้จะมีประโยชนอยูไมนอย จึงขอมอบสวนดีทั้งหมดนี้ใหแกเหลาคณาจารยท่ีไดประสิทธิประสาทวิชาจนทําใหผลงานวิจัยเปนประโยชนตอผูเกี่ยวของ และขอมอบความกตัญูกตเวทิตาคุณแดบิดา มารดา และผูมีพระคุณทุกทาน สําหรับขอบกพรองตางๆ ท่ีอาจจะเกิดขึ้นนั้น ผูศึกษาขอนอมรับผิดเพียงผูเดียว และยินดีที่จะรับฟงคําแนะนําจากทุกทานที่ไดเขามาศึกษา เพ่ือประโยชนในการพัฒนางานวิจัยตอไป

พิทักฐ รตันเดชากร

Page 5: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

สารบัญ

หนา บทท่ี 1 บทนํา 1 1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1 2. วัตถุประสงคของการศึกษา 2 3. วรรณกรรมที่เกี่ยวของ 3 4. ขอบเขตของการศึกษา 3 5. วิธดีําเนินการศึกษา 3 6. ประโยชนทีค่าดวาจะไดรบัจากการศึกษา 4 บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎีและกฎหมายท่ีเกี่ยวของ 5 2.1 ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับปญหาการประกอบธุรกิจคาประเวณี และปญหาการคาประเวณี 5 2.1.1 ทฤษฎีคิดกอนกระทํา (Rational Choice) 5 2.1.2 ทฤษฎีความกดดนัทางสังคม (Strain Theory) 6 2.1.3 ทฤษฎีอาชญาวิทยากลุมแนวคิดสตรนีิยม 8 (Feminist Criminology Theories) 2.1.3.1 กลุมทฤษฎีการปลดปลอยใหเปนอิสระของผูหญิง 8 (Women Liberation theories) 2.1.3.2 กลุมทฤษฎีการขัดเกลาทางสังคมโดยครอบครวั 9 ที่กําหนดความแตกตางของบทบาท (Sex-role differentiation in family socialization) 2.1.3.3 กลุมที่มองวาเพศชายเปนใหญในสังคม 10 (Patriarchal Society perspectives theorists) 2.2 แนวคดิที่เกี่ยวของกับการแกปญหาการคาประเวณี 11 2.2.1 แนวคิดหามการคาประเวณี (Prohibitionism ) 11 2.2.2 แนวคิดการคาประเวณีไมใชอาชญากรรม (Decriminalization) 12 2.2.3 แนวคิดการคาประเวณีเปนส่ิงถูกกฎหมาย (Legalization) 12 2.2.4 แนวคิดยกเลิกการคาประเวณี (Abolitionism) 12 2.2.5 แนวคิดนอรดิกส (The Nordic) 13 2.3 อนุสัญญาวาดวยสิทธเิด็ก 15 2.4 แนวคดิในการดาํเนนิคดีอาญากับเดก็หรอืเยาวชน 17

Page 6: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

2.5 เจตนารมณของการจัดตัง้ศาลเยาวชนและครอบครัว 18 2.6 กระบวนการคุมครองเด็กตามพระราชบัญญัตคิุมครองเดก็ พ.ศ.2546 19 2.7 กระบวนการชวยเหลือคุมครองผูเสียหาย 22 2.8 สถานคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหายจากการคามนุษย (บานสองแคว) จังหวดัพิษณุโลก 23 2.9 แนวคดิในการดาํเนนิคดีแพงเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญากรณีเด็กหรือเยาวชน 24 กระทําผิดอาญา 2.9.1 ความหมายของคดแีพงท่ีเกีย่วเนื่องกับคดีอาญา 24 2.9.2 คดีอาญาที่ผูเสียหายมีสิทธิเรียกรองทางแพงตามประมวลกฎหมาย 25 วิธีพิจารณาความอาญา 2.9.3 คดีที่ผูเสียหายมีสิทธิและประสงคเรียกคาสินไหมทดแทน 26 และคาเสียหายเพ่ือการลงโทษในความผิดฐานคามนุษย 2.9.4 ผูมีหนาท่ีตองรบัผิดชดใชคาสินไหมทดแทนกรณีเดก็หรอืเยาวชน 27 กระทําผิดอาญา 2.10 คดีที่พนักงานอัยการย่ืนคํารองขอใหทรัพยสินท่ีเกี่ยวกบัการกระทําความผิด 28 ฐานคามนุษยตกเปนของแผนดนิ 2.11 ระเบียบกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่คงของมนุษยวาดวยการ 29 ใหความชวยเหลือแกบคุคล บทท่ี 3 วิธีการศึกษา 31 3.1 รูปแบบการวิจัยและวิธกีารเกบ็รวบรวมขอมูล 31 3.2 ขอบเขตการศกึษาและกรอบการวิจัย 32 บทท่ี 4 วิเคราะหปญหา 33 4.1 กรณีเด็กหรือเยาวชนเปนจําเลย หากมีกรณีอยูในสภาพที่พึงไดรับ 34 การสงเคราะหหรือพึงไดรับการคุมครองสวัสดิภาพ ศาลมีอํานาจดําเนินการใหเขารับการ สงเคราะหตามพระราชบญัญัติคุมครองเด็ก พ.ศ.2546 ไดหรือไม 4.2 ปญหาการชดใชคาสินไหมทดแทนหรือคาเสียหายเพ่ือการลงโทษ 35 แกผูที่ไดรบัความเสียหาย

Page 7: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

4.3 ปญหาการบังคับคดีเมือ่ศาลพิพากษาใหจําเลยชดใชคาสินไหมทดแทน 36 แกผูเสียหายตามมาตรา 35 แหงพระราชบัญญัติปองกันและปราบปราม การคามนุษย พ.ศ.2551 หรือพิพากษาใหจําเลยจายคาเสียหายเพ่ือการ ลงโทษตามมาตรา 15 แหงพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีคามนุษย พ.ศ. 2559 และพระราชบัญญัตปิองกนัและปราบปรามการฟอกเงนิ พ.ศ.2542 4.4 ปญหาเกี่ยวกับความชํานาญในหนาท่ีและการบังคับใชกฎหมายของ 37 พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ และศาล บทท่ี 5 บทสรุปและขอเสนอแนะ 38 5.1 บทสรุป 38 5.2 ขอเสนอแนะ 39 บรรณานุกรม ประวัติผูศึกษา

Page 8: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

1

บทท่ี 1 บทนํา

1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา การคามนุษยนับวาเปนปญหาสําคัญสําหรับสังคมไทยและสังคมโลก เนื่องจากการคามนุษยถือเปนการกระทําท่ีละเมิดสิทธิความเปนมนุษย ซึ่งถือเปนประเด็นที่สังคมโลกใหความสําคัญ อีกทั้งการคามนุษยยังถือเปนอาชญากรรมระหวางประเทศจึงเปนปญหาท่ีทุกประเทศ รวมทั้งประเทศไทยตองใหความสําคัญและรวมกันแกไขปญหาดังกลาว ปญหาการคามนุษยยังเปนตนเหตุนําไปสูปญหาอื่นๆ ตามมา เชน ปญหายาเสพติด การลักลอบเขาเมือง การคาแรงงาน การบังคับใหขอทาน โดยเฉพาะอยางย่ิงปญหาการคาประเวณี เปนปญหาท่ีเกิดขึ้นในสังคมไทยในปจจุบันโดยเฉพาะปญหาของวัยรุนในแนวคิดของการมีเพศสัมพันธนั้นเปนเรื่องธรรมดาจนนําไปสูการขายบริการทางเพศ แมวาประเทศไทยไดบังคับใชพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษยตั้งแตป 2551 เปนตนมา กลับพบวาสถานการณการคาหญิงและเด็กหญิงเขาสูธุรกิจคาประเวณีไมวาจะเปนการบังคับ ลอลวง หลอกลวง กักขัง เอารัดเอาเปรียบยังเปนสถานการณท่ีรุนแรง และยังพบอีกวาความเขาใจของรัฐ เจาพนักงานในกระบวนการยุติธรรมทุกระดับ ตลอดจนของสังคมไทยโดยรวมเกี่ยวกับการคามนุษยและในกฎหมายการคามนุษยยังอยูในระดับท่ีนากังวล ทําใหความตระหนักในปญหายังมีนอย ปญหาการคาประเวณีเด็กอาจขยายผลไปในอนาคตไดดวย เมื่อเด็กเหลานี้เติบโตเปนผูใหญ หากเด็กเหลานี้ไมไดรับความสนใจ ความชวยเหลือและแกไขปญหาอยางถูกตองและมีประสิทธิภาพ เมื่อเขาเหลานั้นเติบโตเปนผูใหญก็จะเปนผูใหญที่ไมมีคุณภาพ และในอนาคตประเทศของเราคงส้ินซึ่งความหวังในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากร คุณภาพและความมั่นคงของประเทศ ประเทศชาติก็จะตกอยูในสถานการณที่ยํ่าแย และเส่ือมทรุดลงไปในที่สุด เด็กท่ีตกเปนเหย่ือของการคาประเวณี อาจเปนผูคาประเวณีในขณะเดียวกันก็เปนผูกระทําความผิดฐานคามนุษยดวย เด็กเหลานี้จึงเปนเด็กที่พึงไดรับการสงเคราะห หรือพึงไดรับการคุมครองสวัสดิภาพตามพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ.2546 มาตรา 32 และมาตรา 40 ความจริงเด็กเหลานี้ไมควรถูกดําเนินคดีฐานคามนุษยเพราะเปนเด็กท่ีควรไดรับการสงเคราะหตามกฎหมายคุมครองเด็ก โดยสงเด็กเขารับการสงเคราะหยังสถานคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหายจากการคามนุษย สังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ผูศึกษาไดมีโอกาสทําคดีเกี่ยวกับเด็กหรือเยาวชนกระทําความผิดฐานคามนุษย พบปญหาเด็กท่ีถูกฟองเปนจําเลยในความผิดฐานคามนุษยในขณะเดียวกันเด็กก็คาประเวณีหรือเคยคาประเวณีดวย เด็กเหลานี้ถือเปนผูเสียหายควรไดรับการสงเคราะหตามกฎหมายดังกลาว แตเมื่อมีการฟองคดีเด็กเหลานี้ยอมอยูใน

Page 9: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

2

อํานาจพิจารณาพิพากษาของศาล พนักงานเจาหนาท่ีหรือผูมีหนาที่คุมครองสวัสดิภาพไมอาจดําเนินการสงเคราะหเด็กตามพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ.2546 ได ทั้งที่เด็กเหลานี้ควรไดรับการสงเคราะหตามบทบัญญัติดังกลาว นอกจากนี้ เมื่อผูกระทําความผิดฐานคามนุษยถูกฟองเปนจําเลยตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ.2551 มาตรา 35 กําหนดวา กรณีผูเสียหายมีสิทธิและประสงคจะเรียกคาสินไหมทดแทนอันเนื่องมาจากการคามนุษย ใหพนักงานอัยการเรียกคาสินไหมทดแทนแทนผูเสียหาย และตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีคามนุษย พ.ศ.2559 มาตรา 14 กําหนดวา ถาปรากฏวาในการกระทําความผิดมีการกระทําทารุณกรรม หนวงเหนี่ยวกักขัง ทํารายรางกาย หรือกดขี่ขมเหงโดยขาดมนุษยธรรมอยางรายแรงตอผูเสียหาย เมื่อศาลมีคําพิพากษาใหจําเลยชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย ใหศาลมีอํานาจส่ังใหจําเลยจายคาเสียหายเพ่ือการลงโทษเพ่ิมขึ้นไดตามที่เห็นสมควร หากจําเลยเปนเด็กหรือเยาวชนและศาลพิพากษาใหจําเลยชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย ผูศึกษาพบปญหาเรื่องการบังคับคดีเอาแกเด็กหรือเยาวชนเนื่องจากเด็กหรือเยาวชนสวนใหญไมมีทรัพยสินที่จะบังคับเพ่ือชําระคาสินไหมทดแทน แมวาการดําเนินคดีที่เด็กหรือเยาวชนเปนจําเลยจะมีผูปกครองมาศาลดวยแตผูปกครองก็มิใชคูความในคดี หากประสงคจะทําสัญญาประนีประนอมยอมความผูปกครองยอมไมอาจทําสัญญาประนีประนอมยอมความเพ่ือใหมีผลผูกพันได หรือหากผูปกครองทําสัญญาประนีประนอมยอมความกับผูเสียหายก็ไมอาจบังคับตามสัญญาประนีประนอมยอมความนั้นได หรือหากผูเสียหายตองการใหผูปกครองรับผิดรวมกับเด็กหรือเยาวชนก็ตองไปฟองเปนอีกคดีหนึ่งทําใหการบังคับใชบทบัญญัติดังกลาวไมเปนไปตามเจตนารมณ และผูศึกษายังพบวาตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ.2551 มาตรา 14 บัญญัติใหความผิดตามพระราชบัญญัติดังกลาวเปนความผิดมูลฐานตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 ซึ่งพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 มาตรา 49 วรรคหนึ่ง กําหนดใหพนักงานอัยการย่ืนคํารองขอใหศาลมีคําส่ังใหทรัพยสินท่ีปรากฏหลักฐานเปนที่เชื่อไดวาเปนทรัพยสินที่เกี่ยวกับการกระทําความผิดตกเปนของแผนดิน หากจําเลยถูกฟองตามบทบัญญัติดังกลาวเปนอีกคดีหนึ่ง และพนักงานอัยการย่ืนคํารองขอ ทั้งไดความวาทรัพยสินของจําเลยมิใชทรัพยสินที่เกี่ยวกับการกระทําความผิดที่เลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินขอใหพนักงานอัยการย่ืนคํารองขอใหศาลมีคําส่ังใหนําทรัพยสินนั้นคืนหรือชดใชแกผูเสียหายตามมาตรา 49 วรรคทาย และศาลมีคําส่ังใหทรัพยสินนั้นตกเปนของแผนดิน ไมวาจําเลยจะเปนเด็กหรือเยาวชนหรือไม ผูเสียหายยอมไมอาจบังคับเอากับทรัพยสินของจําเลยชดใชคาสินไหมทดแทนหรือคาเสียหายเพ่ือการลงโทษได

2. วัตถุประสงคของการศึกษา 2.1 เพ่ือศึกษาวิธีการใหการสงเคราะหเด็กซึ่งเปนผูเสียหายจากการคามนุษยหรือผูกระทําความผิดฐานคามนุษยตามกฎหมายวาดวยการคุมครองเด็ก

Page 10: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

3

2.2 เพ่ือศึกษากระบวนการพิจารณาคดีแพงที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา ตลอดถึงการบังคับคดี กรณีเด็กหรือเยาวชนเปนจําเลย 2.3 เพ่ือศึกษาวิธีการทางนิติบัญญัติเกี่ยวกับความรับผิดของจําเลย กรณีพนักงานอัยการย่ืนคํารองเรียกคาสินไหมทดแทนแทนผูเสียหายตามกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการคามนุษย และกรณีพนักงานอัยการย่ืนคํารองขอใหศาลมีคําส่ังใหทรัพยสินของจําเลยตกเปนของแผนดิน

3. วรรณกรรมท่ีเก่ียวของ 3.1 อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก 3.2 พระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ.2546 3.3 พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคาประเวณี พ.ศ.2539 3.4 พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ.2551

3.5 พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีคามนุษย พ.ศ.2559 3.6 พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 3.7 พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและ

ครอบครัว พ.ศ.2553 3.8 ระเบียบกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยวาดวยการใหความชวยเหลือแกบุคคล

4. ขอบเขตของการศึกษา ศึกษาการใหการสงเคราะหเด็กตามพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ.2546 ปญหาอุปสรรค ตลอดจนแนวทางแกไขในการสงเด็กเขารับการสงเคราะหยังสถานคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหายจากการคามนุษย ศึกษากรณีพนักงานอัยการย่ืนคํารองเรียกคาสินไหมแทนแทนผูเสียหายตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ.2551 หรือกรณีศาลส่ังใหจําเลยจายคาเสียหายเพ่ือการลงโทษตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีคามนุษย พ.ศ.2559 ปญหา อุปสรรค ในการบังคับคดีเอาแกเด็กหรือเยาวชนในความผิดฐานคามนุษย และแนวทางแกไขโดยวิธีการทางนิติบัญญัติในพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553 และพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542

5. วิธีดําเนินการศึกษา ดําเนินการคนควา รายงานเชิงเอกสาร และศึกษาจากตัวอยางคดีท่ีเกี่ยวของ

Page 11: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

4

6. ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับจากการศึกษา 6.1 เพ่ือทราบถึงวิธีการใหการสงเคราะหเด็กท่ีพึงไดรับการสงเคราะห หรือเด็กท่ีพึงไดรับการคุมครองสวัสดิภาพจากการคามนุษยตามกฎหมายวาดวยการคุมครองเด็ก 6.2 เพ่ือทราบแนวทางการแกไขปญหาความรับผิดของผูปกครองของเด็กหรือเยาวชนที่กระทําความผิดฐานคามนุษย 6.3 เพ่ือเปนแนวทางในการแกไขปรับปรุงกฎหมายวาดวยศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว และกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินเกี่ยวกับการบังคับคดีเอากับเด็กหรือเยาวชนเพ่ือใหการบังคับใชเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

Page 12: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

5

บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎีและกฎหมายท่ีเกี่ยวของ

การเขามาของระบบทุนนิยมอยางเต็มรูปแบบ ความกดดันในคาครองชีพที่สูงขึ้น และรายรับที่ไมพอเพียงตอรายจายในแตละครอบครัว สงผลตอโอกาสของมนุษยท่ีจะมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนพฤติกรรมอาชญากรรม หรือมีการประกอบอาชีพที่ฝาฝนบทบัญญัติของกฎหมายในปริมาณที่สูงขึ้นในมุมมองของนักอาชญาวิทยา ปญหาการประกอบธุรกิจคาประเวณีและปญหาโสเภณีนั้นนับเปนพฤติกรรมหนึ่งท่ีถือเปนการฝาฝนบทบัญญัติของกฎหมายในประเทศไทย (Greater Mekong Subregion: GMS) และเปนปญหาใหญท่ียังคงรอการแกไขในปจจุบัน ปญหาการประกอบธุรกิจคาประเวณีและปญหาโสเภณีนั้นสามารถมองไดสองมุมมอง ในมุมมองแรกคือการมองวาสตรีตกเปนเหย่ือของกระบวนการคามนุษย อันมีสาเหตุสืบเนื่องจากความตองการในทรัพยสินและเงินทองของมนุษยท่ีถูกอธิบายโดยทฤษฎีคิดกอนกระทํา (Rational Choice) และการดิ้นรนของมนุษยในโลกทุนนิยมตามทฤษฎีความกดดันทางสังคม (Strain Theory) สวนมุมมองท่ีสองคือ การที่สตรีเปนผูฝาฝนและกระทําผิดกฎหมาย ซึ่งถือเปนการกระทําของ อาชญากร ที่ถูกอธิบายโดยทฤษฎีอาชญาวิทยากลุมแนวคิดสตรีนิยม (Feminist Criminology Theories) ดังมีรายละเอียดดังตอไปนี้

2.1 ทฤษฎีท่ีเก่ียวของกับปญหาการประกอบธุรกิจคาประเวณีและปญหาโสเภณี 2.1.1 ทฤษฎีคิดกอนกระทํา (Rational Choice) แกรี่ เบคเกอร (Becker, 1976) กลาวถึงการคิดกอนกระทําความผิดของบุคคล ในบทความอาชญากรรมและการลงโทษ ในทางเศรษฐศาสตร (Crime and punishment: An economic approach) วา บุคคลปกติ (Sane) จะเปนผูมีอิสระในการเลือกที่จะกระทําการหรืองดเวนกระทําการใดอันเปนส่ิงท่ีผิดกฎหมายไดดวยการตัดสินใจของตนเองอยางมีเหตุมีผล (Rationality) และแนวทางในการท่ีจะเลือกที่จะมีพฤติกรรมที่ผิดกฎหมายของบุคคลนั้นขึ้นอยูกับความคุมคาจากการกระทํานั้นของแตละบุคคล อันหมายถึงความพึงพอใจหรือประโยชนอันสูงสุดจากการกระทํานั้น ซึ่งความพึงพอใจหรือผลประโยชนในที่นี้มิไดจํากัดเฉพาะในรูปของทรัพยสินเทานั้น หากแตยังรวมถึงผลประโยชนหรือความพึงพอใจดานจิตใจดวย สมมุติฐานตามหลักทฤษฎีคิดกอนกระทําความผิดของ แกรี่ เบคเกอร นั้นมีความคลายคลึงและสอดคลองกับแนวคิดของนักอาชญาวิทยาในกลุมดั้งเดิม (Classical School of Criminology) ในเรื่องเจตจํานงเสรี (Free Will) ที่มีความเชื่อวาเจตจํานงเสรีเปนตัวกําหนดพฤติกรรมของมนุษยดังคํากลาวที่วา “มนุษยเปนผูมีเหตุผลในการมุงแสวงหาเพ่ือใหไดมาซึ่งผลประโยชนสูงสุดทางดานวัตถุหรือดานจิตใจ และในการตัดสินใจเลือกกระทําการหรืองดเวนการกระทําใดๆ มนุษยจะพิจารณาทางเลือกตางๆ ที่มีอยูอยางมีเหตุผล” (Beccaria,1738-1794) โดยปจจัยที่ทําใหมนุษยเกิดความพอใจ ไดแก ความร่ํารวย ความเชี่ยวชาญชํานาญ การ

Page 13: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

6

ไดรับความเมตตากรุณา การไดรับการยกยองนับถือหรือการยอมรับ สวนปจจัยท่ีกอใหเกิดความทุกขประกอบดวย ความผิดหวัง ความรูสึกหิวหรือกระหาย การไรอิสรภาพ ความสูญเสีย ความเจ็บปวด เปนตน โดยแนวคิดตามแนวทฤษฎีของสํานักอาชญาวิทยาดั้งเดิมนั้น จะวิเคราะหถึงการที่มนุษยคนหนึ่งเลือกท่ีจะกออาชญากรรมหรือมีพฤติกรรมท่ีฝาฝนกฎหมายนั้น ขึ้นอยูกับปจจัยของตัวบุคคลนั้นเอง โดยเชื่อวามนุษยเปนผูมีเหตุมีผลสามารถเลือกที่จะกระทําการ หรือไมกระทําการใดไดดวยตัวเอง ซึ่งจากแนวคิดดังกลาวนั้นนํามาสูการกําหนดกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมเพ่ือที่จะหยุดย้ังพฤติกรรมอาชญากรรมของมนุษย ซึ่งหลักการเหลานี้มีความสอดคลองกนักับแนวคิดของแกรี่ เบคเกอร ในภายหลังในดานความเชื่อมโยงระหวางปญหาการคาประเวณีและปญหาโสเภณีกับทฤษฎีคิดกอนกระทําของแกรี่ เบคเกอร นั้น สามารถอธิบายไดวา หากการเขาสูธุรกิจการคาประเวณีหรือการประกอบอาชีพโสเภณีนั้น บุคคลไดไตรตรองวาพฤติกรรมดังกลาวสามารถสรางความพึงพอใจใหกับบุคคลนั้น มากกวาความทุกขทรมานท่ีจะเกิดขึ้นแลวบุคคลยอมเลือกท่ีจะตัดสินใจกระทําการดังกลาว ผานการคิดคํานวณอยางเปนเหตุเปนผลของบุคคลนั้นเอง นอกจากนั้นในสวนของแนวคิด “การคิดกอนกระทําอันมีความเชื่อมโยงกับพฤติกรรมของมนุษย” (Becker,1976) สามารถอธิบายเพ่ิมเติมไดอีกวาการคิดกอนกระทําอันมีผลตอการตัดสินใจทุกอยางของมนุษยและนําไปสูพฤติกรรมตางๆของมนุษย โดยการตัดสินใจตางๆของมนุษยนั้นนอกจากการตัดสินใจโดยทั่วไปแลว การตัดสินใจดังกลาวจะตองอยูบนบรรทัดฐานของ ความเชี่ยวชาญ (Skill) หรือความรู (Knowledge) ของบุคคลนั้นกับขอมูลขาวสาร (Information) ที่บุคคลนั้นมี ซึ่งหากบุคคลหนึ่งจะตัดสินใจเขาสูการประกอบธุรกิจการคาประเวณีไมวาจะเปนในสวนของตัวผูประกอบธุรกิจประเภทดังกลาว หรือผูเปนเหย่ือจากธุรกิจการคาประเวณีนั้น นอกจากตัวเงินรายได ซึ่งมีอิทธิพลตอการตัดสินใจเขาสูการมีพฤติกรรมดังกลาวแลว ความเชี่ยวชาญ และขอมูลขาวสารโดยรอบของบุคคลดังกลาวยอมมีผลตอการตัดสินใจเชนเดียวกัน เชน บุคคลที่มีความเกี่ยวของกับธุรกิจผิดกฎหมายดังกลาว มีความใกลชิดกับผูประกอบธุรกิจคาประเวณี หรือเคยทํางานในสวนอื่นท่ีเกี่ยวของกับธุรกิจคาประเวณี ยอมมีความเปนไปไดท่ีจะตัดสินใจประกอบอาชีพดังกลาวมากกวาบุคคลอื่น รวมถึงหญิงที่มีรูปรางหนาตาดี และรวมถึงมีความของเกี่ยวหรือรับทราบขอมูลเกี่ยวกับการคาประเวณี ยอมมีความเปนไปไดท่ีจะตัดสินใจประกอบอาชีพดังกลาวมากกวาหญิงท่ีรูปรางหนาตาไมดี หรือไมเคยมีการรับทราบขอมูล วิธีการ รายไดเกี่ยวกับการประกอบอาชีพโสเภณีหรือเขาสูธุรกิจการคาประเวณี เปนตน 2.1.2 ทฤษฎีความกดดันทางสังคม (Strain Theory) ทฤษฎีความกดดันทางสังคม (Strain Theory) ของ โรเบิรท เมอรตัน เปนทฤษฎีทางอาชญาวิทยาอีกทฤษฎีหนึ่งท่ีสามารถใชอธิบายลักษณะปญหาการคาประเวณีและปญหาโสเภณีไดเปนอยางดี โดย เมอรตัน (Merton, 1938) กลาววา “โครงสรางทางสังคมอาจจํากัดความสามารถของบุคคลเฉพาะกลุมในการบรรลุความตองการนั้น ทําใหคนบางกลุมตองใชวิธีการไมถูกตองเพ่ือใหไดส่ิงท่ีตองการ” ซึ่งพฤติกรรมการคาประเวณีและพฤติกรรมโสเภณีนั้นเปนหนึ่งในพฤติกรรมผิดกฎหมายท่ีเปนการแสดงออกของบุคคลแหงโลกทุนนิยม อันเปนปญหาตอสังคมตามหลักทฤษฎีนี้ ทฤษฎีความกดดันทางสังคม

Page 14: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

7

เปนทฤษฎีที่อธิบายสาเหตุของพฤติกรรมเบี่ยงเบนของบุคคลวาเกิดจากความขัดแยงระหวางคานิยมของสังคมกับวิธีการบรรลุวัตถุประสงค (Discrepancy between Culture Goals and Situation) โดยเมอรตัน ไดอธิบายปรากฏการณดังกลาวนี้วาเปนความกดดันท่ีเกิดขึ้นกับบุคคลในสังคมที่ไมสอดคลองกันระหวางจุดมุงหมายทางสังคมกับวิธีการไปสูจุดมุงหมาย (Disjunction between Goals and Means) โดยสังคมในโลกทุนนิยมนั้นมีความยกยองเชิดชูผูประสบความสําเร็จ หรือผูมีความร่ํารวย หากแตมิใชทุกคนที่จะสามารถบรรลุจุดมุงหมายของสังคมเหลานั้นได บุคคลในสังคมจึงมีการแสดงออกท่ีมีลักษณะในการตอบโตสังคมท่ีแตกตางกันออกไป โดยเมอรตันไดแบงการตอบโตของมนุษยที่มีผลมาจากความกดดันทางสังคมไว 5 แนวทาง คือ 1. การปฏิบัติตาม (Conformity) แมวาบุคคลจะไดรับความกดดันท่ีเนนใหตองสรางฐานะความร่ํารวย แตบุคคลกลุมนี้ก็ยอมท่ีจะเลือกวิธีการท่ีเปนท่ียอมรับทางสังคม ไมวาจะบรรลุจุดมุงหมายทางสังคมหรือไมก็ตาม ซึ่งบุคคลกลุมนี้เลือกท่ีจะตั้งใจศึกษาเลาเรียน เพ่ือนําตนไปสูการประกอบอาชีพโดยสุจริตท่ีมีรายไดสูงเพ่ือบรรลุจุดมุงหมายของสังคม ซึ่งหากบรรลุเปาหมายไดสําเร็จบุคคลกลุมนี้จะไมกอปญหาใดๆ กับสังคม 2. การเปล่ียนแปลง (Innovation) บุคคลกลุมนี้จะยอมรับจุดมุงหมาย (Goals) ในเรื่องการสรางฐานะหรือความร่ํารวย แตบุคคลกลุมนี้จะไมสนใจในวิธีการ (Means) ที่จะไดมาซึ่งฐานะหรือความร่ํารวยนั้น โดยไมสนใจวาวิธีนั้นจะผิดกฎหมาย ละเมิดศีลธรรมหรือวัฒนธรรมประเพณี สงผลใหบุคคลกลุมนี้เลือกที่จะมีพฤติกรรมที่ผิดกฎหมาย เชน พฤติกรรมอาชญากรรม หรือเลือกที่จะประกอบอาชีพท่ีผิดกฎหมายในบางประเทศและผิดตอวัฒนธรรมของสังคมนั้นๆ เชน การคายาเสพติด การเปดบอนการพนัน หรือการคาประเวณี เปนตน 3. การยึดถือวัฒนธรรมใหม (Ritualism) เปนการปฏิเสธหรือไมยอมรับจุดมุงหมายของสังคม แตยังคงปฏิบัติตามวิธีการที่สังคมยอมรับ คนกลุมนี้ไมสรางปญหาใหสังคม แตจะทําใหสังคมเสียกําลังแรงงานของคนกลุมนี้ไป พฤติกรรมการโตตอบสังคมของคนกลุมนี้ เชน การออกบวช การเขาปา จําศีลเปนฤาษี การหยุดการยอมรับความร่ํารวย เปนตน 4. การยอมแพหรือการลาถอย (Retreatism) เปนกลุมท่ีไมยอมรับหรือลาถอยตอจุดมุงหมายทางสังคมหรือปฏิบัติตามวิธีการท่ีไดรับการยอมรับ การแสดงออกของบุคคลกลุมนี้ เชน กลายเปนบุคคลซึมเศรา ติดสุรา ติดยาเสพติด หรือฆาตัวตาย 5. การปฏิวัติ (Rebellion) เปนกลุมบุคคลท่ีไดรับความผิดหวังจากจุดมุงหมายทางสังคม จึงคิดที่จะสรางจุดมุงหมายใหม ซึ่งคนกลุมนี้จะเลิกเปนสมาชิกของสังคมเดิม และจะเริ่มอยูอาศัยภายใตวัฒนธรรมใหม บุคคลกลุมนี้ไมยอมรับท้ังจุดมุงหมายและวิธีการท่ีสังคมเดิมยอมรับ บางครั้งคนกลุมนี้อาจไมสรางปญหาใหสังคม และอาจนําการเปล่ียนแปลงใหกับสังคมไปสูทิศทางท่ีดีขึ้น แตในทางกลับกัน กลุมคนกลุมนี้อาจสรางปญหาและความรุนแรงใหกับสังคม เชน การประทวงดวยการใชความรุนแรง การกอการรายจากแนวคิดทฤษฎีความกดดันทางสังคมท่ีกลาวมาขางตน หากทําการวิเคราะหถึงสถานการณผูประกอบธุรกิจการคาประเวณีและผูเปนโสเภณีในปจจุบันอันเปนผูมาจากบุคคลชั้นลางหรือชนชั้นกลางของสังคม สามารถกลาวไดวาบุคคลดังกลาว

Page 15: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

8

อาจมิไดถูกบังคับขูเข็ญใหมาทําการขายบริการทางเพศ แตทําดวยความสมัครใจ และสาเหตุประการสําคัญก็คือ ตองการเงินหรือตองการมีรายไดดี และเห็นวาการคาประเวณีเปนหนทางหนึ่งที่ทําใหตนเองหรือครอบครัวจะมีทรัพยสินเทาเทียมกับบุคคลอื่นในสังคม แตเนื่องจากในการที่จะมีทรัพยสินโดยหนทางที่ชอบดวยกฎหมายถูกปดกั้น จึงไดเลือกทางท่ีไมชอบดวยกฎหมายในการใหไดมาซึ่งทรัพยสินเงินทอง ซึ่งจากที่กลาวมาขางตนจะเห็นไดวาพฤติกรรมการคาประเวณีดังกลาวมีพฤติการณสอดคลองกับสมมติฐานของทฤษฎีกดดันทางสังคมของเมอรตัน ในกลุมการเปล่ียนแปลง (Innovation) ซึ่งกอใหเกิดปญหาในสังคมตามมา ลําดับตอไปจะขอกลาวถึงทฤษฎีอาชญาวิทยากลุมแนวคิดสตรีนิยม (Feminist Criminology Theories) ซึ่งไดทําการพัฒนาขึ้นเพ่ืออธิบายปรากฏการณพฤติกรรมการกระทําความผิดในเพศหญิงโดยเฉพาะดังมีรายละเอียดดังตอไปนี้ 2.1.3 ทฤษฎีอาชญาวิทยากลุมแนวคิดสตรีนิยม (Feminist Criminology Theories) แตเดิมในอดีตแนวคิดของนักอาชญาวิทยาท่ีจะศึกษาพฤติกรรมของผูหญิงในการกระทําความผิดนั้น มีความเช่ือวา ทฤษฎีอาชญาวิทยาที่มีอยูสามารถใชอธิบายพฤติกรรมอาชญากรรมไดท้ังของผูหญิงและผูชาย จึงไมมีความจําเปนในการพัฒนาทฤษฎีสําหรับผูหญิงขึ้นมาโดยเฉพาะ แตหลังจากที่มีการกลาวถึงการกระทําผิดที่ผูหญิงเปนผูกระทําเกิดขึ้นเปนจํานวนมาก ทําใหนักทฤษฎีอีกกลุมหนึ่งกลับเชื่อวาทฤษฎีที่มีอยูไมสามารถอธิบายปรากฏการณอาชญากรรมที่ถูกกระทําลงโดยเพศหญิงไดอยางสมบูรณแบบ ดังนั้น จึงมีความจําเปนท่ีจะตองมีการพัฒนาหรือสรางทฤษฎีสําหรับผูหญิงโดยเฉพาะขึ้น ดวยเหตุดังกลาวจึงนํามาซึ่งการพัฒนาทฤษฎีสําหรับผูหญิงขึ้น โดยกลุมทฤษฎีดังกลาวประกอบดวยกัน 3 กลุม คือ 2.1.3.1 กลุมทฤษฎีการปลดปลอยใหเปนอิสระของผูหญิง (Women liberation theories) 2.1.3.2 กลุมทฤษฎีการขัดเกลาทางสังคม โดยครอบครัวท่ีกําหนดความแตกตางของบทบาท (Sex-role differentiation in family socialization) 2.1.3.3 กลุมที่มองวาเพศชายเปนใหญในสังคม (Patriarchal society perspectives theorists) 2.1.3.1 กลุมทฤษฎีการปลดปลอยใหเปนอิสระของผูหญิง (Women liberation theories) กลุมทฤษฎีการปลดปลอยใหเปนอิสระของผูหญิงมีความเชื่อวาบทบาททางสังคมของผูหญิงในยุคใหม จะมีอิทธิพลตอการเขามามีสวนรวมในพฤติกรรมอาชญากรรมของผูหญิงดวย กลาวคือ ในอดีตโอกาสหรือหนาที่ในการประกอบอาชีพมักจะอยูท่ีเพศชายเปนสวนใหญ และผูหญิงในอดีตนั้นมักมีหนาท่ีเพียงแคทํางานบานและเล้ียงลูกเทานั้น แตตอมาหลังจากที่สภาพทางสังคมเปล่ียนแปลงไปในลักษณะที่เปดโอกาสใหผูหญิงมีบทบาทมากขึ้นในสังคม ไมวาจะเปนในดานการศึกษา การประกอบอาชีพ การเมือง ตํารวจ ทหาร หรือดานเศรษฐกิจ สงผลใหบทบาทในดานพฤติกรรมของผูชายและผูหญิงมีความแตกตางกันนอยลง ซึ่งทําใหผูหญิงและผูชายมีแนวโนมที่จะมีความคลายคลึงกันในดานพฤติกรรมเบี่ยงเบนหรือพฤติกรรมอาชญากรรมรวมถึงพฤติกรรม

Page 16: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

9

ละเมิดกฎหมายตางๆ เฟรดา แอดเลอร (Adler, 1975) นักทฤษฎีท่ีพัฒนาแนวคิดดังกลาว กลาววา ผูหญิงในสังคมสมัยใหมกําลังเปล่ียนแปลงไปตั้งแตการมีความกาวราวมากขึ้นและตองแขงขันกันมากขึ้น นอกจากนี้อาชญากรท่ีเปนหญิงมีการเรียนรูโดยบทบาทจากเพศชาย คือ มีลักษณะของการตอสูและมีลักษณะกาวราวมากขึ้น เชน การปลนธนาคาร การชิงทรัพย การขูกรรโชกทรัพย การฆาตกรรม เปนตน โดยนักทฤษฎีกลุมนี้ไดใหความเห็นวา ในอดีตพฤติกรรมท่ีกลาวมาขางตนมักเกิดขึ้นจากการกระทําของผูชายเทานั้น แตหลังจากที่ผูหญิงมีบทบาทมากขึ้นในสังคม ก็สามารถพบเห็นพฤติกรรมดังกลาวในผูหญิงเพ่ิมมากขึ้น จึงสามารถกลาวถึงความสัมพันธระหวางบทบาททางสังคมที่มากขึ้นของเพศหญิงตอพฤติกรรมอาชญากรรมหรือการประกอบอาชีพท่ีมีลักษณะฝาฝนตอบทบัญญัติกฎหมายได ริตา ไซมอน (Simon, 1975) นักพัฒนาแนวคิดกลุมทฤษฎีการปลดปลอยใหเปนอิสระของผูหญิงอีกทานหนึ่ง กลาววา การกระทําความผิด หรือการละเมิดกฎหมายโดยผูหญิงเพ่ิมจํานวนมากขึ้นทั้งปริมาณและรูปแบบ เนื่องจากมีการเปล่ียนแปลงสถานภาพของผูหญิงในดานการเขามามีสวนรวมในตลาดแรงงาน การศึกษา การประกอบอาชีพ และรายได ทําใหผูหญิงมีโอกาสมากขึ้นในการประกอบอาชญากรรม โดยไซมอนไดมีการอางถึงสถิติอาชญากรรมในชวงป ค.ศ.1953-1974 ที่สังเกตเห็นถึงการเพ่ิมขึ้นทั้งดานปริมาณและความรุนแรงในการกระทําความผิดที่ถูกกระทําขึ้นโดยเพศหญิง ไดแก คดีประทุษรายตอทรัพยที่มีผูตองหาที่เปนหญิงเพ่ิมขึ้นถึง 3 เทา มากไปกวานั้นในดานการกระทําความผิดฐานฉอโกง หรือยักยอกทรัพยนั้น มีการเพ่ิมขึ้นในอัตราสวนของผูหญิงจนเกือบจะเทากับอัตราสวนของผูกระทําความผิดที่เปนชาย กลาวโดยสรุปคือ หลักแนวคิดในกลุมทฤษฎีนี้เชื่อวา หากเปดโอกาสใหผูหญิงเทาเทียมกับผูชาย ผูหญิงก็จะมีอัตราการประกอบอาชญากรรมรวมถึงมีพฤติกรรมละเมิดกฎหมายเชนเดียวกับผูชาย ดังนั้น ปจจัยหรือตัวแปรท่ีใชอธิบายสาเหตุของการประกอบอาชญากรรมนั้น จึงไมมีความแตกตางกันระหวางผูหญิงและผูชาย 2.1.3.2 กลุมทฤษฎีการขัดเกลาทางสังคม โดยครอบครัวท่ีกําหนดความแตกตางของบทบาท (Sex-role differentiation in family socialization) นักทฤษฎีท่ีพัฒนาแนวคิดนี้คือ จอหน ฮาแกน (Hagan, 1989) ซึ่งไดมีการศึกษาวิจัยถึง ความแตกตางของอัตราการกระทําผิดระหวางเยาวชนชายและเยาวชนหญิง โดยฮาแกนไดกลาวไวในหนังสือ โครงสรางทางอาชญาวิทยา (Structural Criminology) วา โครงสรางทางสังคม ระบบเศรษฐกิจ และกลไกควบคุมทางสังคมนั้น สงผลตออัตราความแตกตางในการกระทําผิดระหวางเยาวชนชายและหญิง และการศึกษาดังกลาวพบวา กระบวนการขัดเกลาในครอบครัวมีแนวโนมที่จะสามารถควบคุมเด็กหญิงไดมากกวาเด็กชาย และสามารถสอนใหเด็กหญิงสามารถหลีกเล่ียงความเส่ียงไดมากกวาเด็กชาย แตอยางไรก็ตามฮาแกนไดใหขอสรุปวา “กระบวนการดังกลาวจะเห็นเดนชัดในสังคมระบบท่ีผูชายเปนใหญ มากกวาสังคมระบบที่นิยมความเทาเทียมกัน” โดยในครอบครัวที่ผูชายเปนใหญนั้นหมายถึงครอบครัวท่ีบิดาอยูในฐานะที่เปนใหญในครอบครัวมีอํานาจควบคุมส่ังการ ในขณะที่มารดาทําหนาที่เปนแมบานและอยูในฐานะปฏิบัติตามบิดา ครอบครัวในลักษณะนี้จะปลูกฝงใหเด็กหญิงอยูในระเบียบวินัยในขณะที่ปลอยใหเด็กชายมีแนวโนมที่จะมีพฤติกรรม

Page 17: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

10

ประกอบอาชญากรรมมากกวาเด็กหญิง ในทางตรงกันขามครอบครัวที่นิยมความเทาเทียมกันซึ่งหมายถงึครอบครัวที่มารดาเปนใหญหรือมีความเทาเทียมกับบิดา ครอบครัวเดี่ยวและครอบครัวท่ีไมมีบิดา ครอบครัวลักษณะเหลานี้จะมีแนวโนมท่ีจะเล้ียงดูเด็กหญิงในลักษณะเหมือนหรือคลายคลึงกับเด็กชาย เปนเหตุใหเด็กหญิงมีแนวโนมที่จะประกอบอาชญากรรมหรือมีพฤติกรรมละเมิดกฎหมายมากกวาครอบครัวในสังคมอีกระบบหนึ่ง กลาวโดยสรุปตามหลักคิดของ ฮาแกน คือ กระบวนการขัดเกลาทางสังคมในครอบครัว มีความแตกตางกันระหวางเด็กผูชายกับเดก็ผูหญงิ และในครอบครัวที่มีความเทาเทียมกันมีความเปนไปไดท่ีเด็กหญิงจะมีแนวโนมที่จะประกอบอาชญากรรมมากกวาครอบครัวที่ผูชายเปนใหญ ดังนั้นเมื่อครอบครัวในปจจุบันมีแนวโนมทีจ่ะเปนครอบครัวที่มีความเทาเทียมกันมากขึ้น หรือเปนครอบครัวเดี่ยวมากขึ้นจึงเปนเหตุใหเด็กหญิงมีแนวโนมที่จะประกอบอาชญากรรมหรือมีพฤติกรรมละเมิดกฎหมายมากขึ้นดวย

2.1.3.3 กลุมท่ีมองวาเพศชายเปนใหญในสังคม (Patriarchal society perspectives theorists) จากแนวคิดของนักทฤษฎีสองกลุมท่ีผานมาจะเห็นไดวา แนวความคิดของนักทฤษฎีสองกลุมดังกลาวนั้นมีความเชื่อเปนไปในแนวทางเดียวกันวา ความเทาเทียมกันของหญิงและชายที่มากขึ้น จะสงผลตอการประกอบอาชญากรรมท่ีมากขึ้นในเพศหญิงท้ังในเด็กและผูใหญ แตนักคิดทฤษฎีกลุมนี้กลับมองตรงกันขาม กลาวคือ นักทฤษฎีกลุมนี้เห็นวา เมื่อผูชายเปนใหญ ผูหญิงจะถูกเอารัดเอาเปรียบ และมองวาผูหญิงเปนกลุมที่มีอํานาจนอยกวาและยังคงถูกจํากัดดวยกฎระเบียบ หรือจริยธรรมทางสังคม ซึ่งมีรากฐานความเชื่อมาจากความไมเทาเทียมกันระหวางผูหญิงท่ีมีมาแตในอดีตแนวคิดทฤษฎีกลุมนี้แยกตัวมาจากแนวคิดเสรีสตรีนิยม (Liberal Feminism) ซึ่งเปนหลักปรัชญาที่แสวงหาความเทาเทียมกันระหวางผูหญิงกับผูชาย เชน โอกาสในหนาที่การงาน ความเทาเทียมกันในสิทธิตางๆ หรือการเปล่ียนแปลงบทบาทของผูหญิงกับผูชายในสังคม เจมส เมสเซิชมิดท (Messerschmidt, 1986) นักพัฒนาแนวคิดในกลุมนี้ กลาววา อาชญากรรมเกิดจากการผสมผสานของระบบสังคมที่มีผูชายเปนใหญและระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ซึ่งในระบบทุนนิยมนอกจากจะมีการควบคุมชนชั้นแรงงานแลว ผูชายยังเปนผูควบคุมหญิงดวยทั้งทางเศรษฐกิจและรางกายทําใหผูหญิงถูกปลอยใหทํางานในบาน โดยเมสเซิซมิดท ยังเชื่ออีกวา ในดานการประกอบอาชญากรรมเศรษฐกิจนั้น ผูกระทําความผิดสวนใหญมักเปนผูชาย เนื่องจากมีผูหญิงจํานวนนอยที่มีโอกาสไดรับตําแหนงสูงในหนาที่การงาน ในระบบทุนนิยมยังเปนระบบท่ีทําใหผูหญิงไมมีอํานาจ จึงถูกบังคับใหประกอบอาชญากรรมท่ีไมรุนแรง หรืออาชญากรรมทํารายตนเอง โดยเมสเซิชมิดทไดกลาวอีกวา ในการที่ผูหญิงประกอบอาชญากรรมนั้นก็เพราะถูกผูชายกดขี่หรือกีดกันไมใหเปนใหญและสังคมซึ่งมีผูชายเปนใหญก็จะมีการกําหนดกฎหมายเพ่ือกดขี่ผูหญิง เชน ความผิดเกี่ยวกับโสเภณี และอาชญากรรมทางเพศจากความเห็นในมุมมองดังกลาวของเมสเซิชมิดท ไดมีนักวิชาการอีกทานหนึ่งที่เห็นพองตองกันกับแนวความคิดดังกลาว คือ เชสนี่ ลินด (Chesney-Lind) เชสนี่ ลินด (Chesney-Lind, 1987) กลาวถึงทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมเบี่ยงเบนของเยาวชนผูหญิง วาเกิดจากความขัดแยงภายในครอบครัว เชน บิดามารดาทะเลาะกัน ถูกขมขืนโดยบุคคลในครอบครัว และจากความขัดแยงภายในครอบครัว ความไมอบอุน และความ

Page 18: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

11

กดดันดังกลาว สงผลใหเด็กผูหญิงจํานวนมากหนีออกจากบานและหันไปประกอบอาชีพที่ผิดกฎหมาย เชน โสเภณี หรือการประกอบอาชญากรรมประเภทตางๆ รวมถึงอาจทําใหเด็กผูหญิงเหลานั้นหันไปใชยาเสพติดเพ่ือเปนทางออกของปญหา และอาจทําใหเด็กผูหญิงเหลานั้นตกเปนเหย่ืออาชญากรรมไดโดยงาย กลาวโดยสรุปปญหาโสเภณีในมุมมองของนักทฤษฎีในกลุมท่ีมองวาเพศชายเปนใหญในสังคม เชื่อวากฎหมายความผิดเกี่ยวกับโสเภณีนั้น เปนกฎหมายท่ีถูกกําหนดขึ้นมาเพ่ือกดขี่ผูหญิง ดังนั้น หากมองในมุมมองตามหลักแนวคิดดังกลาวนี้ อาจกลาวไดวาในความเปนจริงแลวการที่ผูหญิงกระทําผิดฐานเปนโสเภณีอันมีโทษทางกฎหมายนั้น แทจริงแลวการกระทําเหลานั้นอาจไมถือเปนความผิด หากผูออกกฎหมายไมใชมาจากสังคมที่ผูชายเปนใหญ และหากมองอีกดานหนึ่งจะเห็นไดวาแทจริงแลวปญหาโสเภณีที่ เกิดขึ้นนั้น เกิดจากสังคมที่เปล่ียนแปลงไปเปนระบบทุนนิยม โดยผูหญิงกลายเปนสินคาชนิดหนึ่งท่ีถูกนํามาคาขายโดยเพศที่เปนใหญเชนผูชาย นอกจากนั้นจากปญหาการเปล่ียนแปลงในสังคมครอบครัวที่เปนครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น ความอบอุนในครอบครัวที่ลดนอยลง ทําใหเด็กผูหญิงที่เติบโตขึ้นในสังคมเหลานั้น กลายเปนเด็กท่ีมีปญหา จนกระท่ังเกิดปญหา เชน การหนีออกจากบาน หรือการหันไปประกอบอาชีพโสเภณีของหญิงกลุมหนึ่ง

2.2 แนวคิดท่ีเก่ียวของกับการแกปญหาการคาประเวณี ปจจุบันการคาประเวณีเปนปญหาที่นับวันย่ิงทวีความรุนแรง ความซับซอนและมีความเกี่ยวของกับหลายๆฝาย และเปนตนเหตุของการคามนุษยท่ีมีการหลอกลวง การกดขี่และการเอารัดเอาเปรียบหญิงและเด็ก ตลอดทั้งยังเปนที่มาสําคัญของการแพรเชื้อโรคเอดส ดวยเหตุนี้เองประเทศตางๆ จึงมีความพยายามท่ีจะแกไขปญหาการคาประเวณี โดยผานกระบวนการทางกฎหมายซึ่งมีหลากหลายแนวคิด โดยในปจจุบันนี้แนวคิดในการแกปญหาการคาประเวณีของประเทศตางๆ สามารถแบงออกไดเปน 5 แนวคิด ไดแก 2.2.1 แนวคิดหามการคาประเวณี (Prohibitionism ) แนวคิดนี้มองวาการคาประเวณีเปนเรื่องผิดศีลธรรม และถือวาการคาประเวณีเปนความผิดทางอาญา โดยผูท่ีเกี่ยวของกับการคาประเวณี เชน เจาของสถานบริการการคาประเวณี ผูเปนธุระจัดหาหญิงมาคาประเวณี ลูกคา และตัวโสเภณีเองถือวาเปนผูกระทําผิด ซึ่งแนวคิดนี้มีเปาหมายที่จะกําจัดการคาประเวณีใหออกไปจากสังคม (กอบกุล,2538) โดยมีกฎหมายอาญาและการบังคับกฎหมายที่มีประสิทธิภาพเปนเครื่องมือในการลดจํานวนโสเภณีและสถานบริการการคาประเวณี (Barnett, Casavant and Nicol, 2011) โดยที่แนวคิดนี้อยูบนพ้ืนฐานความเชื่อที่วา โสเภณีเปนส่ิงที่ชั่วรายหรืออาชญากรในสังคม เปนแหลงของการแพรเชื้อโรคติดตอ เปนปรากฏการณตอตานสังคมที่คุกคามศีลธรรม สุขภาพอนามัยและการเมือง ซึ่งแนวคิดนี้มีการวิพากษวาเปนการตีตราหญิงท่ีคาประเวณีใหกลายเปนหญิงไมดีที่เปนอันตรายตอศีลธรรมและสังคม มีการแบงแยกมาตรฐานความประพฤติระหวางหญิงดีกับหญิงคาประเวณีซึ่งเปนการสรางมายาคติขึ้นมาเปนกําแพงกีดกั้นระหวางเพศหญิงดวยกันเองที่นําไปสูการดูถูกเหยียดหยามเพศหญิงดวยกันเอง ทําใหมองขามถึงปญหาท่ี

Page 19: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

12

แทจริงวา ตางฝายตางถูกกดขี่และถูกเอารัดเอาเปรียบจากเพศชายหรือระบบชายเปนใหญเหมือนกัน (มาลี, 2550) แนวคิดนี้ใชในประเทศสหรัฐอเมริกา ยกเวนรัฐเนวาดา ฟลิปปนส และญี่ปุน (พงษธร, 2552) 2.2.2 แนวคิดการคาประเวณีไมใชอาชญากรรม (Decriminalization) สําหรับระบบลักษณะนี้มีแนวคิดที่วา ในสมัยกอนสังคมอาจถือวาการคาประเวณีเปนส่ิงที่ผิดกฎหมาย แตเมื่อไดมีการพิจารณาแนวทางอื่นในการรับมือกับปญหาดังกลาวแลว พบวาควรมีการเสนอใหยกเลิกกฎหมายที่จะจับกุมลงโทษผูคาประเวณี และใหใชกฎหมายอาญาและกฎหมายอื่นๆดําเนินการกับผูแสวงหาผลประโยชนบังคับคาผูหญิง แตในขณะเดียวกันก็ใหหญิงสามารถคาประเวณีไดโดยไมตองถูกจับกุมลงโทษ แนวคิดนี้สงเสริมใหหญิงคาประเวณีไมถูกแสวงหาผลประโยชนจากรางกายของตน มีการรับรอง คุมครอง และใหสิทธิแกผูคาประเวณีในฐานะพลเมืองคนหนึ่ง มีการจัดระเบียบดานสาธารณสุข แนวคิดเชนนี้เองท่ีมิไดถือวาผูคาประเวณีเปนอาชญากรเหมือนกับอาชญากรอื่นนั้น เปนผลใหเกิดการยกระดับคุณภาพชีวิตการทํางานของหญิงคาประเวณีเปนอยางมาก (แบงค, 2554) ซึ่งประเทศท่ีใชแนวคิดลักษณะนี้ไดแก ประเทศออสเตรเลีย (ยกเวนรัฐวิกตอเรีย) และนิวซีแลนด (Barnett, Casavantand Nicol, 2011) 2.2.3 แนวคิดการคาประเวณีเปนสิ่งถูกกฎหมาย (Legalization) แนวคิดนี้ยอมรับวาการคาประเวณีเปนส่ิงที่ถูกกฎหมาย มีการกําหนดใหโสเภณีและสถานบริการการคาประเวณีตองจดทะเบียนใหเปนกิจจะลักษณะ โดยถือวาโสเภณีเปนอาชีพท่ีถูกกฎหมายและอนุญาตใหมีการเปดสถานบริการ โดยมีเจาของสถานบริการและแมเลาซึ่งเปนตัวแทนจากรัฐใหเปนผูควบคุมดูแล และอนุญาตใหโสเภณีทําการคาประเวณีในสถานบริการการคาประเวณีที่ไดรับการจดทะเบียนถูกตองตามกฎหมายเทานั้น ซึ่งสถานประกอบการคาประเวณีจะถูกกําหนดอยูในบริเวณเฉพาะหางไกลจากโรงเรียน หมูบาน เปนตน โดยภายใตระบบดังกลาว จะมีการนํากฎหมายอาญา กฎหมายแรงงานคุมครองโสเภณี รวมทั้งมีการควบคุมดานสุขอนามัย การตรวจสุขภาพโสเภณีตามระยะเวลาที่กําหนด โดยเฉพาะการปองกันการแพรเชื้อโรค (พงษธร, 2552) มาใชในการกํากับดูแลหญิงคาบริการอีกดวย 2.2.4 แนวคิดยกเลิกการคาประเวณี (Abolitionism) แนวคิดนี้เปนการผสมผสานระหวางแนวคิดการคาประเวณีเปนส่ิงถูกกฎหมาย (Legalization) และแนวคิดหามการคาประเวณี (Prohibitionism) โดยมีวัตถุประสงคที่ตองการขจัดการคาประเวณีใหหมดไป ถือวาการคาประเวณีโดยตัวมันเองไมผิดกฎหมาย แตกฎหมายยังคงมีการลงโทษการคาผูหญิงและเด็กตลอดจนการเปนธุระจัดหา โดยมีการใชมาตรการการชวยเหลือผูท่ีถูกคาและจัดการลงโทษนักคามนุษย เปนตน โดยแนวคิดดังกลาวไดอิทธิพลสวนหนึ่งจากอนุสัญญาขององคการสหประชาชาติวาดวยการปราบปรามการคาบุคคลและการแสวงหาประโยชนจากการคาประเวณีของผูอื่น (Convention for the Suppression of the Traffic in Persons and the Exploitation of the Prostitution of Others 1949) ซึ่งมีใจความหลักวา ระบบโสเภณีนั้นขัดตอศักดิ์ศรีความเปนมนุษย รัฐสมาชิกมีหนาที่ดําเนินการกับบุคคลท่ีสามที่กอใหเกิดการคาประเวณี และชวยเหลือ

Page 20: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

13

หญิงที่ตกเปนเหย่ือการคามนุษย แนวคิด Abolitionism มีการใชอยางแพรหลายในประเทศตางๆ เชน ประเทศอังกฤษ แคนาดา อินเดีย รวมถึงประเทศไทย (พงษธร, 2552) แตอยางไรก็ตามหลักการดังกลาวไดถูกวิจารณวา มองเห็นผูหญิงคาประเวณีเปนเหย่ือไปหมดแลว ทั้งๆที่ผูหญิงบางคนไดเลือกอาชีพโสเภณีดวยตนเองเพราะเปนอาชีพท่ีมีรายไดสูง อยางไรก็ดี แนวคิดลักษณะนี้จะทําใหผูหญิง เด็ก และสังคมมีความปลอดภัยทางเพศมากขึ้น 2.2.5 แนวคิดนอรดิกส (The Nordic) นอรดิกสพัฒนามาจากแนวคิดยกเลิกการคาประเวณี (Abolitionism) ซึ่งมีบทลงโทษสําหรับบุคคลท่ีเกี่ยวของท่ีกอใหเกิดการคาประเวณี อาทิ เจาของสถานบริการ ผูจัดหา หญิงผูใหบริการ รวมทั้งลูกคา แตในความเปนจริงแลวตํารวจไมมีการดําเนินคดีใดๆกับลูกคาที่ซื้อบริการทางเพศ และผูที่ถูกดําเนินคดีสวนใหญ คือ หญิงและเด็กที่ใหบริการทางเพศ และจากความลมเหลวของแนวคิดยกเลิกการคาประเวณีนี้ ทําใหเกิดแนวคิดนอรดิกสขึ้นมาและมีการเริ่มตนจากประเทศสวีเดน โดยเนนมุงแกไขดานความตองการหรืออุปสงคของการซื้อบริการทางเพศ (demandapproach) โดยจะมีการลงโทษผูซื้อบริการทางเพศ แตจะไมเอาผิดกับหญิงคาบริการ โดยถือปรัชญาท่ีวาผูท่ีขายบริการทางเพศคือเหย่ือและถูกเอาเปรียบจากผูเปนธุระจัดหาหญิงมาคาประเวณีและผูซื้อบริการ นอกจากการเปล่ียนแปลงทางกฎหมายแลว นอรดิกสยังมีโครงการการศึกษาเพ่ือกีดกันการซื้อขายการบริการทางเพศและครอบคลุมถึงการสนับสนุนทางดานสังคมและเศรษฐกิจที่สําคัญเพ่ือชวยเหลือ ผูที่เกี่ยวของที่จะออกจากธุรกิจการคาประเวณี (CATWA, 2013) แนวทางนี้ประสบผลสําเร็จอยางมากในประเทศสวีเดน และในประเทศแถบสแกนดิเนเวีย เชน ประเทศนอรเวย ไอซแลนด และฟนแลนด โดยประเทศดังกลาวไดนําแนวคิดนอรดิกสมาปรับใชดวย ยกเวนประเทศเดนมารกซึ่งเปนประเทศเดียวในภูมิภาคนี้ที่ไมไดใชแนวคิดนอรดิกส ผลของการสํารวจพบวามีอัตราโสเภณีที่เพ่ิมสูงขึ้น1

ในอดีตการดําเนินคดีอาญากับเด็กหรือเยาวชนท่ีตกเปนผูตองหาหรือจําเลยจะมีรูปแบบการดําเนินคดีเชนเดียวกันกับผูใหญ2 ภายใตแนวคิดท่ีวาผูใหญเทานั้นท่ีกระทําความผิดได ซึ่งแนวคิดดังกลาวไดปรากฏในยุคเทวนิยม ยุครุงเรืองของคริสตศาสนา และยุคสํานักอาชญาวิทยาดั้งเดิม โดยมีการลงโทษผูกระทําความผิดอยางหนักถึงแมวาผูกระทําความผิดจะอายุยังนอย

เพ่ือใหหลาบจําและไมกลากลับมากระทําความผิดอีก อันมีลักษณะเปนการแกแคน3

ตอมาในยุคแนวคิดเกี่ยวกับการดําเนินคดีกับผูกระทําความผิดที่เปนเด็กและเยาวชน ไดปรากฏอยางเปนรูปธรรมในยุคอาชญาวิทยากึ่งดั้งเดิม (Neo-Classical School of

1 ดร.กิตติศักดิ์ เจิมสิทธิประเสริฐ และคนอ่ืนๆ. (2558) โครงการวิจัยเรื่อง “การคาประเวณีหญิงจากประเทศในแถบอนุภูมิภาคลุมนํ้าโขงในประเทศไทย” (Modern Slavery : Inside the besiness of sex trade of GM Swomen enteringintoThailand.[ออนไลน].เขาถึงไดจาก www.tijthailand.org/useruploades/files/ research_modern_slavery pdf (วันท่ีคนขอมูล : 29 กรกฎาคม 2560). 2 การแกไขเด็กกระทําความผิด. เอกสารเผยแพรกิจการศาลเด็กและเยาวชน พ.ศ.2507. หนา 1 3 สถาบันวิจัยและใหคําปรึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. (2549). “ศึกษาความเปนไปไดในการกําหนดชั้นโทษและการนําไปปรับใชในประมวลกฎหมายอาญา” งานวิจัยสืบคนเมื่อวันท่ี 15 มิถุนายน พ.ศ.2555 หนา 1-8

Page 21: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

14

Criminology) ซึ่งเปนยุคที่มองในเรื่องของเจตจํานงอิสระ (Free Will) วาเด็ก เยาวชน คนชรา สามารถใชเจตจํานงอิสระไดอยางไมจํากัดและไมมีขอบเขต แตการยับย้ังชั่งใจในการกระทําความผิดยังนอย อันเนื่องมาจากความออนประสบการณหรือถูกใชเปนเครื่องมือในการกระทําความผิดไดงาย จึงมีการลงโทษแกบุคคลดังกลาวนอยกวาปกติ นอกจากนั้นในยุคนี้ยังเริ่มใหความสําคัญกับการฟงพยานหลักฐานจากความเห็นของผูเชี่ยวชาญหรือผูชํานาญการในสาขาตางๆ เชนสาขาวิชาแพทยศาสตร นิติเวชวิทยา จิตวิทยา เปนตน4

การพัฒนาของกระบวนการยุติธรรมสําหรับเด็กและเยาวชนสงผลใหในหลายประเทศไดนําแนวคิดเกี่ยวกับการลงโทษเด็กและเยาวชนท่ีมีลักษณะแตกตางไปจากการลงโทษผูใหญมาปรับใช ซึ่งประเทศแรกที่ไดมีการเปล่ียนแปลงแกไขกฎหมาย คือ ประเทศอังกฤษ โดยรัฐในฐานะผูปกครองดูแลประชาชนมีอํานาจเขาแทรกแซงเมื่อครอบครัวมีปญหาหรือทําหนาที่ของตนบกพรอง ดังนั้น การที่รัฐเขามาเปนผูดูแลรับผิดชอบเด็กหรือเยาวชนที่กระทําความผิดแทนพอ แม ผูปกครอง ถือเปนวิธีการที่ยอมรับโดยทั่วไป รัฐจึงตองหามาตรการตางๆ ที่มุงแกไขบําบัดฟนฟูเด็กหรือเยาวชนที่กระทําความผิดใหกลับตัวเปนคนดี นอกจากนั้นรัฐยังตองคํานึงถึงประโยชนสูงสุดของเด็กหรือเยาวชนนั้นดวย จึงถือไดวาประเทศดังกลาวเปนประเทศแรกท่ีมีการแยกเด็กและเยาวชนที่กระทําความผิดออกจากผูใหญที่กระทําความผิด สวนในประเทศไทยไดรับแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมสําหรับเด็กและเยาวชนที่กระทําความผิด อันนํามาสูการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรมในป พ.ศ.2494 ภายใตกฎหมายพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กและเยาวชน พ.ศ.2494 และพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีเด็กและเยาวชน พ.ศ.2494 และปเดียวกันนั้นไดมีการจัดตั้งศาลคดีเด็กและเยาวชนขึ้นเปนครั้งแรกในประเทศ โดยมีหนวยงานสําหรับตรวจพิเคราะห ฝกอบรม และสงเคราะหเด็ก เรียกวา สถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนกลาง โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือเปนเครื่องมือของศาลเด็กและเยาวชนกลางในการปฏิบัติตอเด็กและเยาวชน5

ในทางอาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา ไมถือวาการกระทําความผิดดังกลาวเปนอาชญากรรมและมิใชอาชญากรโดยสันดานเพราะเด็กและเยาวชนมิไดมีความสามารถในการทําชัว่(Schuldfahigkeit)6 อิทธิพลในเรื่องการคุมครองสิทธิใหแกเด็กและเยาวชนไดแพรกระจายเพ่ิมขึ้นในสังคม สงผลใหในแตละประเทศตระหนักถึงหลักการดังกลาว จึงเริ่มใหคุณคากับความสําคัญของส่ิงที่อยูรอบๆ ตัวเด็กและเยาวชนเพ่ิมขึ้น โดยสิทธิขั้นพ้ืนฐานท่ีเด็กหรือเยาวชนจะไดรับ คือ 1. สิทธิในการดํารงชีวิต (Survival Right) หรือสิทธิพ้ืนฐานท่ัวไปของเด็ก เชน สิทธิในการมีชีวิตอยู สิทธิในการมีเชื้อชาติและสัญชาติ

4 สุดจิต เจนนพกาญจน. (2546). กระบวนทัศนในการพัฒนากระบวนการยุติธรรมสําหรับเด็กและเยาวชนไทย วิทยานิพนธ สาขาการบริหารสังคม คณะสังคมสงเคราะห มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร น.51. 5 พิชญา เหลืองรัตนเจริญ. (2556). กระบวนการยุติธรรมสําหรับเด็กและเยาวชนท่ีถูกกลาวหาวากระทําความผิด Judicial Process for the Juvenile Accused. ดุลพาห เลมท่ี 2 ปท่ี 60 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556 หนา 174-191 6 คณิต ณ นคร. (2553). ประมวลกฎหมายอาญาหลักกฎหมายและพ้ืนฐานการเขาใจ. หนา 71

Page 22: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

15

2. สิทธิในการไดรับการปกปองคุมครอง (Protection Right) จากการถูกเอาเปรียบทางเพศ การใชแรงงานจนเปนอันตรายตอสุขภาพ การถูกทรมาน ถูกละเมิดหรือการกระทําที่โหดราย 3. สิทธิที่จะไดรับการพัฒนา (Development Right) อาทิ สิทธิที่จะไดรับการศึกษา 4. สิทธิในการมีสวนรวม (Participation Right) เชน สิทธิในการแสดงความคิดเห็นไดอยางเสรีในทุกๆเรื่องที่มีผลกระทบตอตน สิทธิในการแสดงออก และสิทธิในการไดรับหรือถายทอดขอมูลขาวสาร7 เปนตน

2.3 อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก ขอท่ี 2 : รัฐภาคีจะดําเนินมาตรการที่เหมาะสมท้ังปวง เพ่ือท่ีจะประกันวาเด็กไดรับการคุมครองจากการเลือกปฏิบัติ หรือการลงโทษในทุกรูปแบบบนพ้ืนฐานของสถานภาพ กิจกรรมหรือการแสดงความคิดเห็น หรือไมวาจะเปนความเชื่อของบิดามารดา ผูปกครองตามกฎหมายหรือในครอบครัวเด็ก ขอท่ี 3 : รัฐภาคีรับท่ีจะประกันใหมีการคุมครองเด็ก และการดูแลแกเด็กเทาที่จําเปนสําหรับการอยูดีของเด็ก โดยคํานึงถึงสิทธิหนาท่ีของบิดามารดา ผูปกครองตามกฎหมายหรือบุคคลอื่นที่รับผิดชอบเด็กนั้นตามกฎหมายดวย และเพ่ือการนี้จะดําเนินมาตรการทางนิติบัญญัติและบริหารท่ีเหมาะสมทั้งปวง รัฐภาคีจะดําเนินมาตรการท่ีเหมาะสมทั้งปวงดานนิติบัญญตั ิบริหาร สังคมและการศึกษาในอันที่จะคุมครองเด็กจากรูปแบบท้ังปวงของความรุนแรง ท้ังรางกายและจิต การทํารายหรือการกระทําอันมิชอบ การทอดท้ิง หรือการปฏิบัติโดยประมาท การปฏิบัติที่ผิดหรือการแสวงหาประโยชน รวมถึงการกระทําอันมิชอบทางเพศขณะอยูในความดูแลของบิดามารดา ผูปกครองตามกฎหมายหรือบุคคลอื่นใดที่เด็กนั้นอยูในความดูแล ขอท่ี 19 : กลไกคุมครองเด็กดังกลาว ควรรวมถึงกระบวนการจัดตั้งแผนดําเนินงานทางสังคมท่ีมีประสิทธิภาพ เพ่ือสนับสนุนเด็กและผูดูแลเด็กตามท่ีจําเปน และรวมถึงการปองกันในรูปแบบอื่น วิธีการระบุ (ปญหาการลวงละเมิดท่ีเกิดขึ้น) การรายงานเบาะแส สงตอขอมูล สืบสวน การปฏิบัติตอเด็กและติดตามผลเมื่อเกิดกรณีท่ีเด็กถูกลวงละเมิด และในกรณีที่เหมาะสม ก็ควรใหหนวยงานดานดําเนินคดีเขามามีสวนรวมดวย การดําเนินคดีกับเด็กและเยาวชนยังตองยึดหลักประโยชนสูงสุดของเด็กเปนสําคัญ ซึ่งไดมีการบัญญัติไวในอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก ขอ 3.18 ถึงแมวาจะมีการบัญญัติหลักประโยชนสูงสุดของเด็กเปนส่ิงที่ตองคํานึงถึงเปนลําดับแรก (a primary consideration) แตหลักการ 7 จิตติมา ธงไชย. (2553). รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 : ศึกษาเฉพาะกรณีการคุมครองผูเสียหายและพยานท่ีเปนเด็กในการสอบสวน. หนา 2-3 8 Convention on the rights of the child Article 3.1 In all actions concerning children, whether undertaken by public or private social welfare institutions, courts of law, administrative authorities or legislative bodies, the best interests of the child shall be a primary consideration.

Page 23: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

16

ดังกลาวก็มิไดเปนนิยามในความหมายของคําวาประโยชนสูงสุดสําหรับเด็ก (The best interest of the child) ที่ชัดเจนแตอยางใด อยางไรก็ดี หลักประโยชนสูงสุดสําหรับเด็กเมื่อนํามาใช ถือเปนอีกปจจัยหนึ่งที่ทําใหวิธีการดําเนินคดีอาญากับเด็กและเยาวชนที่กระทําความผิดหรอืฝาฝนตอกฎหมายมีความแตกตางไปจากการดําเนินคดีอาญาโดยท่ัวไป กลาวคือ การพิจารณาคดีอาญาโดยท่ัวไปเปนแบบแกแคนทดแทน (Retributive) และมุงเนนการนําตัวผูกระทําความผิดมาลงโทษ แตการพิจารณาคดีเด็กและเยาวชนมุงเนนการนําตัวผูกระทําความผิดมาแกไขบําบัดฟนฟู (Rehabilitation) ใหกลับตัวเปนคนดีและสงคืนคนดีกลับสูสังคม จากแนวคิดท่ีวาเด็กคืออนาคตของชาติจึงตองไดรับโอกาสในการแกไขจนกลายเปนทรัพยากรที่มีคุณภาพตอไป กระบวนการยุติธรรมสําหรับเด็กและเยาวชนในประเทศไทย ยึดหลักการแกไขบําบัดฟนฟูผูกระทําความผิดมาตั้งแตในยุคพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กและเยาวชน พ.ศ.2494 และพระราชบัญญัติวิธี พิจารณาคดี เด็กและเยาวชน พ .ศ .2494 จากนั้นไดมีการแกไขเปนพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2494 และในป พ.ศ.2553 ไดมีการปรับปรุงแกไขมาเปนพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันท่ี 22 พฤศจิกายน พ.ศ.2553 และใหมีผลบังคับเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ.2554 ภายหลังจากพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553 มีผลบังคับใช ทําใหกระบวนการยุติธรรมสําหรับเด็กและเยาวชนในประเทศไทยเกิดมิติใหมในการคุมครองสิทธิใหกับเด็กและเยาวชนที่ถูกกลาวหาวากระทําความผิด มาตรการพิเศษแทนการดําเนินคดีอาญาถือไดวาเปนมาตรการเสริม และยังเปนกฎหมายที่บัญญัติขึ้นใหม แบงเปนในชั้นกอนฟองและในชั้นพิจารณา โดยอาศัยแนวคิดในเรื่องกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท (Restorative Justice) มาเปนกรอบมาตรการพิเศษแทนการดําเนินคดีอาญาในชั้นกอนฟอง9 จะชวยลดปริมาณคดีท่ีความผิดจะตองไมเคยรับโทษตามคําพิพากษาถึงท่ีสุดใหจําคุกมากอน เวนแตเปนกรณีประมาทหรือเปนความผิดลหุโทษ และผูกระทําความผิดไดสํานึกวาตนกระทําความผิด พรอมที่จะทําการแกไขปรับปรุงจะนํามาฟองตอศาลเยาวชนและครอบครัว โดยวิธีกรองคดีท่ีมีอัตราโทษอยางสูงไมเกิน 5 ป ผูกระทําจะตองไมเคยรับโทษตามคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุกมากอน เวนแตเปนกรณีประมาทหรือความผิดลหุโทษ และผูกระทําความผิดไดสํานึกวาตนกระทําความผิด พรอมที่จะทําการแกไขปรับปรุง เมื่อเขาเงื่อนไขก็จะมีการจัดทําแผนแกไขบําบัดฟนฟูแทนการลงโทษ

มาตรการพิเศษแทนการดําเนินคดีในชั้นพิจารณา โดยหลักการเพ่ือตองการใหคดีเสร็จส้ินจากศาลไปโดยเร็ว ดวยวิธีจัดทําแผนแกไขบําบัดฟนฟู ภายใตเงื่อนไขความผิดที่มีอัตราโทษอยางสูงไมเกิน 20 ป พฤติการณแหงคดีไมเปนภัยรายแรงตอสังคมเกินควร ผูเสียหายยินยอมและโจทกไมคัดคาน ผูกระทําความผิดตองไมเคยรับโทษตามคําพิพากษาถึงท่ีสุดใหจําคุกมากอน

9 พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดเียาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553 มาตรา 86

Page 24: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

17

เวนแตเปนกรณีประมาทหรือเปนความผิดลหุโทษ ประกอบกับผูกระทําความผิดสํานึกถึงการกระทําความผิดนั้นและพรอมที่จะกลับตัวเปนคนดี10 มาตรการดังกลาวเปนเพียงมาตรการทางเลือกหนึ่งของศาล โดยมิไดมีการวางหลักเกณฑใหทําการไตสวนใหม ซึ่งตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553 ในหมวดการพิพากษาคดีอาญาก็ไดมีการบัญญัติกฎหมาย ซึ่งมีผลบังคับใชในทํานองเดียวกันกับมาตรการพิเศษแทนการดําเนินคดีอาญา กลาวคือ ศาลสามารถใชดุลยพินิจงดการอานคดีพิพากษา และใชมาตรการอื่นแทนการพิพากษาลงโทษได11

2.4 แนวคิดในการดําเนินคดีอาญากับเด็กหรือเยาวชน ในการดําเนินคดีอาญาสําหรับเด็กหรือเยาวชนมาจากแนวคิด ดังตอไปนี้ 2.4.1 การดําเนินคดีอาญากับเด็กหรือเยาวชนนั้น จะคํานึงถึงผลประโยชนสูงสุดของเด็ก(The Best Interest Of The Child) เปนหลัก ไมวาเด็กจะตองการหรือไม หรือแมวาเด็กจะไมไดคํานึงถึงเลยก็ตาม ซึ่งประโยชนสูงสุดของเด็ก หมายถึง สิทธิประโยชนของเด็กทั้งปวงที่พึงไดในฐานที่เกิดมาและมีชีวิตรอดอยูโดยสามัญสํานึกของวิญูชนท่ัวไปยอมเห็นไดวาเปนสิทธิประโยชนของเด็ก ดังนั้น ในการตรากฎหมายไมวาจะเปนกฎหมายกําหนดบทลงโทษแกเด็ก หรือกฎหมายกําหนดวิธีปฏิบัติตอเด็กที่กระทําผิดจะตองคํานึงผลประโยชนสูงสุดของเด็กเปนสําคัญ โดยมีจุดเนนที่การคุมครองสวัสดิภาพเด็ก มิใชคุมครองสวัสดิภาพของสังคมโดยมองวาเด็กเปนตัวทําลายสวัสดิภาพของสังคม12 2.4.2 การดําเนินคดีอาญากับเด็กหรือเยาวชนนั้นจะมุงหาสาเหตุที่กอใหเด็กหรือเยาวชนมีความประพฤติเบี่ยงเบน เส่ียงตอการกระทําความผิด และกระทําความผิด มากกวาที่จะพิจารณาวาการกระทําของเด็กหรือเยาวชนดังกลาวเปนความผิดหรือไมและเด็กหรือเยาวชนนั้นมีเจตนาอยางไร 2.4.3 การดําเนินคดีอาญากับเด็กหรือเยาวชนมุงใชมาตรการกักและอบรม (Custody) เพ่ือเปนการสงเคราะห แกไข ฟนฟู ดูแล ใหเด็กหรือเยาวชนกลับตัวเปนคนดี มากกวาที่จะใชมาตรการลงโทษและควบคุมใหอยูในวินัย (Control) เชนเดียวกับการดําเนินคดีแกผูใหญ 2.4.4 เด็กหรือเยาวชนมีสิทธิที่จะไดรับความยุติธรรมจากรัฐในกรณีที่ถูกกลาวหาและการพิจารณาคดี

10 พระราชพระราชบัญญตัิศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553 มาตรา 90 11 พระราชพระราชบัญญตัิศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553 มาตรา 132 12 วัชรินทร ปจเจกวิญสูกุล, “มาตรฐานการปฏิบัตติอเด็กท่ีถูกกลาวหาวากระทําความผิดตามอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก,” ดลุพาห 5, 41 (กันยายน-ตุลาคม) : 19

Page 25: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

18

2.5 เจตนารมณของการจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัว ศาลที่พิจารณาคดีอาญาสําหรับเด็กและเยาวชนเปนศาลท่ีมีวิธีพิจารณาคดีเปนพิเศษแตกตางจากศาลอาญาทั่วไป และผูพิพากษาที่ทําหนาที่พิจารณาพิพากษาคดีตองเปนผูมีความรูความสามารถเฉพาะดาน ศาลเยาวชนและครอบครัวจึงเปนศาลชํานัญพิเศษ (Specialized Court)13 ซึ่งเจตนารมณในการจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัว ดังนี้ 2.5.1 เพ่ือนําความยุติธรรมชนิดที่คํานึงถึงลักษณะเฉพาะบุคคลมาใช (Individualized Justice) โดยที่ศาลเยาวชนและครอบครัวไมไดคํานึงถึงเฉพาะการกระทําท่ีเด็กหรือเยาวชนไดกระทําลงไปเทานั้น แตจะคํานึงถึงลักษณะเฉพาะของบุคคลท่ีมีความแตกตางกันดวยคือ จะตองพิจารณาถึงขอเท็จจริงเกี่ยวกับบุคลิกภาพ และสาเหตุแหงการกระทําความผิดของเด็ก นอกเหนือไปจากขอเท็จจริงที่วาเด็กหรือเยาวชนไดกระทําผิดจริงหรือไมดวย 2.5.2 เพ่ือนําวิธีการแกไขเด็กหรือเยาวชนเปนรายบุคคลมาใช (Individualzed Treatment) นั้นคือ ศาลจะใชวิธีการในการลงโทษ หรือวิธีการสําหรับเด็กมาใชใหเหมาะสมกับเด็กหรือเยาวชนที่เปนผูกระทําความผิดเปนรายบุคคลไป เพ่ือใหเด็กหรือเยาวชนที่เปนผูกระทําความผิดสามารถกลับตัวเปนคนดีได แทนที่จะวางโทษใหเหมาะสมกับการกระทําความผิดเพ่ือเปนการแกแคนทดแทน ใหหลาบจําอยางคดีที่ผูกระทําความผิดเปนผูใหญ 2.5.3 เพ่ือสงเคราะหและคุมครองสวัสดิภาพเด็กและเยาวชน เนื่องจากศาลเยาวชนและครอบครัวมีอํานาจพิจารณาคดีที่กวางขวางกวาศาลธรรมดา คือ นอกจากที่มีอํานาจพิจารณาคดีที่เด็กหรือเยาวชนกระทําผิดอาญาแลว ยังมีอํานาจพิจารณาและดําเนินการกับเด็กที่ประพฤติตนไมเหมาะสม เด็กท่ีมีปญหา แมวาเด็กหรือเยาวชนดังกลาวจะยังไมไดกระทําความผิดกฎหมาย ตลอดจนเด็กที่จําตองไดรับการสงเคราะหและคุมครอง เชน เด็กอนาถา เด็กจรจัด เพ่ือใหเด็กดังกลาวไดรับความชวยเหลือและไดรับการปฏิบัติท่ีเหมาะสมแทนท่ีจะถูกทอดท้ิงใหกลายเปนคนไมดีในอนาคต ในพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553 มาตรา 10 ศาลเยาวชนและครอบครัวมีอํานาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคําส่ังในคดี ดังตอไปนี้ (1) คดีอาญาที่มีขอหาวาเด็กหรือเยาวชนกระทําความผิด (2) คดีอาญาที่ศาลซึ่งมีอํานาจพิจารณาคดีธรรมดาไดโอนมาตามมาตรา 97 วรรคหนึ่ง (3) คดคีรอบครวั (4) คดีคุมครองสวัสดิภาพ (5) คดีอื่นที่มีกฎหมายบัญญัติใหเปนอํานาจหนาที่ของศาลเยาวชนและครอบครัว

13 ดุษฎี หลีละเมยีร, “ศาลเยาวชนและครอบครัวกับความเปนศาลชํานัญพิเศษ,” บทบัญฑติย 56 (ธันวาคม 2543) : 173-174

Page 26: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

19

2.6 กระบวนการคุมครองเด็กตามพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ.2546 2.6.1 คําจํากัดความ “เด็ก” หมายความวา บุคคลซึ่งมีอายุต่ํากวาสิบแปดปบริบูรณ แตไมรวมถึงผูท่ีบรรลุนิติภาวะดวยการสมรส “เด็กท่ีเสี่ยงตอการกระทําผิด” หมายความวา เด็กท่ีไมประพฤติตนไมสมควร เด็กที่ประกอบอาชีพหรือคบหาสมาคมกับบุคคลท่ีนาจะชักนําไปในทางกระทําผิดกฎหมายหรือขัดตอศีลธรรมอันดีหรืออยูในสภาพแวดลอมหรือสถานที่อันอาจชักนําไปในทางเสียหาย ทั้งนี้ ตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวง “สถานคุมครองสวัสดิภาพ” หมายความวา สถานท่ีใหการศึกษา อบรม ฝกอาชีพ เพ่ือแกไขความประพฤติ บําบัด รักษา และฟนฟูสมรรถภาพทั้งทางดานรางกายและจิตใจแกเด็กที่พึงไดรับการคุมครองสวัสดิภาพ 2.6.2 การสงเคราะหเด็ก คืออะไร? การสงเคราะหเด็ก หมายถึง การใหความชวยเหลือแกเด็ก รวมท้ังครอบครัวซึ่งอยูในสภาพที่จําตองไดรับการสงเคราะห 2.6.3 เด็กท่ีพึงไดรับการสงเคราะห คือใครบาง14 2.6.3.1 เด็กเรรอน หมายถึง เด็กที่ไมมีบิดามารดาหรือผูปกครองหรือมีแตไมเล้ียงดูหรือไมสามารถเล้ียงดูได จนเปนเหตุใหเด็กตองเรรอนไปในที่ตางๆ หรือเด็กท่ีมีพฤติกรรมใชชีวิตเรรอนจนนาจะเกิดอันตราย 2.6.3.2 เด็กกําพรา หมายถึง เด็กท่ีบิดาหรือมารดาเสียชีวิต เด็กท่ีไมปรากฏบิดามารดา หรือไมสามารถสืบหาบิดามารดาได 2.6.3.3 เด็กที่ถูกทอดท้ิงหรือพลัดหลง ณ ที่ใดท่ีหนึ่ง 2.6.3.4 เด็กที่ผูปกครองไมสามารถอุปการะเล้ียงดูไดดวยเหตุใดๆ เชน ถูกจําคุก กักขัง พิการ ทุพพลภาพ เจ็บปวยเรื้อรัง ยากจน เปนผูเยาว หยา ถูกทิ้งราง เปนโรคจิตหรือโรคประสาท เปนตน 2.6.3.5 เด็กที่ผูปกครองมีพฤติกรรมหรือประกอบอาชีพไมเหมาะสม อันอาจสงผลกระทบตอพัฒนาการทางรางกายหรือจิตใจของเด็ก เชน ผูปกครองมีพฤติกรรมเสพยาเสพติด ผูปกครองที่มีอาชีพคาประเวณี เปนตน 2.6.3.6 เด็กที่ไดรับการเล้ียงดูโดยมิชอบ ถูกแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ ถูกทารุณกรรม หรือตกอยูในภาวะอันอาจเปนเหตุใหเด็กมีความประพฤติเส่ือมเสียในทางศีลธรรมอันดีหรือเปนเหตุใหเกิดอันตรายแกกายหรือจิตใจ 2.6.3.7 เด็กพิการ หมายถึง เด็กท่ีมีความบกพรองทางรางกาย สมอง สติปญญา หรือจิตใจ ไมวาความบกพรองนั้นจะมีมาแตกําเนิด หรือเกิดขึ้นภายหลัง

14 พระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ.2546 มาตรา 32

Page 27: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

20

2.6.3.8 เด็กที่อยูในสภาพยากลําบาก หมายถึง เด็กท่ีอยูในครอบครัวยากจนหรือบิดามารดาหยาราง ทิ้งราง ถูกคุมขัง หรือแยกกันอยูและไดรับความลําบาก หรือเด็กที่ตองรับภาระหนาที่ในครอบครัวเกินวัยหรือกําลังความสามารถและสติปญญา หรือเด็กที่ไมสามารถชวยเหลือตัวเองได 2.6.3.9 เด็กที่อยูในสภาพที่จําตองไดรับการสงเคราะหตามกฎหมาย ไดแก เด็กซึ่งเปนผูกระทําผิดกฎหมาย และเด็กซึ่งเปนผูเสียหายจากการกระทําผิด 2.6.4 วิธีการสงเคราะหเด็ก15

2.6.4.1 ใหความชวยเหลือและสงเคราะหแกเด็กและครอบครัวหรือบุคคลที่อุปการะเล้ียงดูเด็กเพ่ือใหสามารถอุปการะเล้ียงดูเด็กได 2.6.4.2 มอบเด็กใหอยูในความอุปการะของบุคคลท่ีเหมาะสมและยินยอมรับเด็กไปอุปการะเล้ียงดูตามระยะเวลาที่เห็นสมควร แตตองไมเกิน 1 เดือน 2.6.4.3 ดําเนินการเพ่ือใหเด็กไดเปนบุตรบุญธรรมของบุคคลอื่นตามกฎหมาย 2.6.4.4 สงเด็กเขารับการอุปการะในครอบครัวอุปถัมภหรือสถานรับเล้ียงเด็กที่เหมาะสม 2.6.4.5 สงเด็กเขารับการอุปการะในสถานแรกรับหรือสถานสงเคราะห 2.6.4.6 สงเด็กเขาศึกษาหรือฝกหัดอาชีพ หรือสงเด็กเขาบําบัดฟนฟูสมรรถภาพ ศึกษา หรือฝกหัดอาชีพในสถานพัฒนาและฟนฟู หรือสงเด็กเขาศึกษากลอมเกลาจิตใจโดยใชหลักศาสนาในวัดหรือสถานที่ทางศาสนาอื่น การดําเนินการใหการการสงเคราะหเด็กตองไดรับความยินยอมจากผูปกครอง ในกรณีที่ผูปกครองไมใหความยินยอมโดยไมมีเหตุอันควร ใหผูวาราชการจังหวัดมีอํานาจสงเด็กเขารับการสงเคราะหได โดยตองฟงรายงานและความเห็นของผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพสังคมสงเคราะหและการแพทยประกอบดวย 2.6.5 การคุมครองสวัสดิภาพเด็ก หมายถึงอะไร? การคุมครองสวัสดิภาพเด็ก หมายถึง การปองกัน ดูแล พัฒนาและฟนฟูเด็กและครอบครัวซึ่งอยูในสภาวะที่จะตองไดรับการคุมครองสวัสดิภาพ เพ่ือคุมครองใหเด็กปลอดภัยและคุมครองเด็กไมใหตกอยูในสภาวะเส่ียงตอการกระทําความผิด 2.6.6 เด็กท่ีพึงไดรับการคุมครองสวัสดิภาพคือใครบาง?16

2.6.6.1 เด็กที่ถูกทารุณกรรม เชน เด็กที่ถูกทํารายรางกายหรือจิตใจ เด็กที่ถูกลวงละเมิดทางเพศ เปนตน 2.6.6.2 เด็กที่เส่ียงตอการกระผิด หมายถึง เด็กที่ประพฤติตนไมสมควร เด็กที่ประกอบอาชีพหรือคบหาสมาคมกับบุคคลท่ีนาจะชักนําไปในทางกระทําผิดกฎหมาย หรือขัดตอศีลธรรมอันดีหรืออยูในสภาพแวดลอมหรือสถานท่ีอันอาจนําไปในทางเสียหาย เชน เด็กท่ีมี

15 พระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ.2546 มาตรา 33-39 16 พระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ.2546 มาตรา 40

Page 28: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

21

พฤติกรรมมั่วสุมในลักษณะที่กอความเดือดรอนรําคาญแกผูอื่น เด็กท่ีมีพฤติกรรมเกี่ยวของกับ ยาเสพติด การพนัน หรือประพฤติตนไปในทางชูสาว เปนตน 2.6.6.3 เด็กที่อยูในสภาพที่จําตองไดรับการคุมครองสวัสดิภาพตามกฎหมาย ไดแก เด็กที่ตองหาวากระทําความผิดแตอายุไมถึงเกณฑตองรับโทษ เด็กที่ประกอบอาชีพเส่ียงตออันตราย และเด็กท่ีอาศัยอยูกับบุคคลตองสงสัย เชน เด็กอายุไมเกินสิบหาปที่กระทําความผิด เด็กที่ทํางานกอสรางอาคารซึ่งเส่ียงตอการบาดเจ็บ เด็กซึ่งอยูกับบุคคลที่ไมใชญาติและอาจถูกกระทําละเมิดทางเพศ เปนตน 2.6.7 วิธีการคุมครองสวัสดิภาพ17 2.6.7.1 ในกรณีที่นาเชื่อวามีการกระทําทารุณกรรมตอเด็กในสถานที่ใดใหพนักงานเจาหนาที่ที่มีอํานาจเขาตรวจคนและมีอํานาจแยกตัวเด็กจากครอบครัวของเด็กเพ่ือคุมครองสวัสดิภาพเด็ก 2.6.7.2 จัดใหมีการตรวจรักษาทางรางกายและจิตใจของเด็ก 2.6.7.3 สงเด็กไปสถานแรกรับ สถานพัฒนาและฟนฟู หรือสถานท่ีอื่นใดระหวางการสืบเสาะและพินิจ เพ่ือกําหนดวิธีการคุมครองสวัสดิภาพที่เหมาะสม 2.6.7.4 วางขอกําหนดเพ่ือปองกันมิใหเด็กมีความประพฤติเสียหาย หรือเส่ียงตอการกระทําผิด โดยใหผูปกครองหรือบุคคลที่รับเด็กไปปกครองดูแลตองปฏิบัติ

2.6.8 ผูปกครองสวัสดิภาพสถานคุมครองสวัสดิภาพ18 มีอํานาจหนาท่ีดังตอไปน้ี 2.6.8.1 ปกครองดูแลและอุปการะเล้ียงดูเด็กที่อยูในสถานคุมครองสวัสดิภาพ

2.6.8.2 จัดการศึกษา อบรม และฝกอาชีพแกเด็กที่อยูในสถานคุมครองสวัสดิภาพ

2.6.8.3 แกไขความประพฤติ บําบัดรักษา และฟนฟูสมรรถภาพทั้งทางรางกาย จิตใจแกเด็กที่อยูในสถานคุมครองสวัสดิภาพ 2.6.8.4 สอดสองและติดตามใหคําปรึกษา แนะนํา และชวยเหลือแกเด็กท่ีออกจากสถานคุมครองสวัสดิภาพไปแลว

2.7 กระบวนการชวยเหลือคุมครองผูเสียหาย กระบวนการทํางานเพ่ือชวยเหลือคุมครองผูเสียหายประกอบดวย 5 ขั้นตอน ซึ่งมีความเชื่อมโยงสัมพันธกัน โดยเริ่มจากการรับแจงเหตุ การหาขอเท็จจริง การประเมินและวิเคราะหสภาพปญหา การชวยเหลือคุมครอง การติดตามประเมินผล 2.7.1 การรับแจง การรับแจงเหตุเปนขั้นตอนแรกของกระบวนการชวยเหลือคุมครองผูเสียหาย ซึ่งผูแจงเหตุอาจเปนผูเสียหาย หรือผูเกี่ยวของ เชน ญาติ พ่ีนอง เพ่ือน พลเมืองดี เจาหนาท่ีในสังกัด

17 พระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ.2546 มาตรา 41-47 18 พระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ.2546 มาตรา 59

Page 29: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

22

ของหนวยงานภาครัฐและเอกชน เปนตน ขอมูลที่ไดรับในขั้นตอนการรับแจงเหตุ ควรเปนขอมูลท่ีสามารถชวยใหผูปฏิบัติงานดําเนินการชวยเหลือผูเสียหายในขั้นตอนตอไปไดมากท่ีสุด และควรมีการบันทึกขอมูลการรับแจงเหตุเพ่ือความสะดวกในการปฏิบัติงานและการติดตอประสานงานเพ่ือชวยเหลือผูเสียหาย 2.7.2 การหาขอเท็จจริง การหาขอเท็จจริงหรือสืบคนขอเท็จจริง เปนขั้นตอนที่ดําเนินการภายหลังจากวันแจงเหตุ เพ่ือตรวจสอบความถูกตองของขอมูล และหาขอมูลเพ่ิมเติม ซึ่งรวมถึงขอมูลจากผูเสียหาย บุคคลในครอบครัวผูตองสงสัย สถานท่ีเกิดเหตุ สถานที่ที่สําคัญท่ีเกี่ยวของกับเหตุการณ ทั้งนี้ตองคํานึงถึงความปลอดภัยของผูเสียหายและผูท่ีตองไปสืบคนขอเท็จจริงเปนสําคัญ ขอมูลที่ไดรับจากการหาขอเท็จจริง ผูปฏิบัติงานควรบันทึกไวเปนลายลักษณอักษร หากมีเอกสารอื่นหรือภาพถายประกอบ จะทําใหขอมูลท่ีไดมีความนาเชื่อถือมากขึ้น และตองระมัดระวังรักษาขอมูลไวเปนความลับเพ่ือใหการชวยเหลือประสบผลสําเร็จ และไมใหเกิดผลกระทบตอผูเสียหาย ผูเปนพยาน และผูแจงเหตุ/แจงเบาะแส 2.7.3 การประเมินและวิเคราะหปญหา การประเมินและวิเคราะหปญหา เปนขั้นตอนสําคัญในการประเมินความเส่ียง สภาพทางรางกาย จิตใจ สังคมของผูเสียหาย เพ่ือการวางแผนชวยเหลือและบําบัดฟนฟูผูเสียหายอยางรอบดาน ท้ังทางดานการแพทย ทางกฎหมายและทางสังคมสงเคราะห ทั้งนี้ตองไมใชการประเมินโดยอาศัยความเห็นสวนตัว หรือฟงความเห็นของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง แตตองเปนการประเมินโดยผานทีมสหวิชาชีพ ในขั้นตอนการประเมินและวิเคราะหปญหา ผูปฏิบัติงานจะตองจําแนกประเภทของผูเสียหายใหชัดเจน เชน เปนผูเสียหายในกลุมใด เพ่ือใหการวางแผนชวยเหลือตรงกับสภาพปญหาที่ผูเสียหายไดรับมากที่สุด บางครั้ง ปญหาที่พบมีความซับซอน ใหผูปฏิบัติงานจัดเรียงอันดับความสําคัญของปญหาเหลานั้นจากมาก-นอย โดยคํานึงถึงความปลอดภัยและความเส่ียงของผูเสียหายเปนสําคัญ 2.7.4 การวางแผนและดําเนินการชวยเหลือคุมครอง การวางแผนชวยเหลือคุมครองผูเสียหาย เปนกระบวนการทํางานรวมกันของผูปฏิบัติงานซึ่งเปนทีมสหวิชาชีพ เพ่ือใหหลักประกันวาผูเสียหายจะปลอดภัยและไดรับการชวยเหลือคุมครองอยางเหมาะสม โดยอาจจัดทําแผนรางขึ้นกอน หรืออาจจัดทําแผนจากผลสรุปของการประชุมทีมสหวิชาชีพก็ได ขึ้นอยูกับความเรงดวนของกรณีนั้นๆ โดยตองมีการกําหนดแผนทั้งในระยะวิกฤต ระยะส้ัน ระยะยาว และควรใหผูเสียหายและครอบครัวมีความรวมมือในการตัดสินใจตามแผนการชวยเหลือ แผนการชวยเหลือคุมครองผูเสียหายที่จัดทําขึ้น ควรมีระยะเวลาท่ีกําหนดใหชัดเจน และระบุตัวบุคคลหรือหนวยงานผูรับผิดชอบในประเด็นนั้นๆ เพ่ือใหการติดตามผลการดําเนินงานเปนไปอยางตอเนื่องและรวดเร็ว

Page 30: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

23

การดําเนินการชวยเหลือคุมครองผูเสียหาย เปนการดําเนินงานตามแผนที่วางไว โดยบุคคล/หนวยงานผูรับผิดชอบตามประเด็น/กิจกรรมในแผนที่ไดแบงบทบาทหนาที่ไวแลว และควรดําเนินการภายในระยะเวลาที่กําหนด 2.7.5 การติดตามและประเมินผล การติดตามและประเมินผล คือ การรวบรวมผลการดําเนินงาน ปญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการดําเนินงานตามแผนท่ีวางไววาประสบความสําเร็จหรือไม ผูเสียหายและครอบครัวไดรับผลกระทบจากการดําเนินงานชวยเหลือคุมครองอยางไร การทํางานของผูปฏิบัติงานมีขอผิดพลาดหรือไม ทั้งนี้ ควรเปนการติดตามและประเมินผลผานการประชุมทีมสหวิชาชีพ เพ่ือใหไดขอมูลรอบดานย่ิงขึ้น หากแผนที่วางไวมีปญหา อุปสรรค หรือขอผิดพลาด ควรรีบหารือเพ่ือปรับแกไขอยางเรงดวน ซึ่งปญหาหรือขอผิดพลาดที่เกิดขึ้นจะเปนบทเรียนที่มีประโยชนตอผูปฏิบัติงานในการวางแผนเพ่ือชวยเหลือผูเสียหายในกรณีตอๆไป

2.8 สถานคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหายจากการคามนุษย (บานสองแคว) จังหวัดพิษณุโลก เดิมชื่อ “สถานสงเคราะหหญิงบานสองแคว” เปดดําเนินการเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2539 เพ่ือรองรับสตรีผูกระทําผิดตามพระราชบัญญัติปราบปรามการคาประเวณี พ.ศ.2503 ตอมาเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2539 พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคาประเวณี พ.ศ.2539 มีผลใชบังคับจึงเปล่ียนชื่อหนวยงานเปน “สถานคุมครองและพัฒนาอาชีพบานสองแคว จังหวัดพิษณุโลก” สังกัดกรมประชาสงเคราะหตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 14) มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 6 มีนาคม 2558 เปล่ียนสังกัดกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวตามคําส่ังกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยไดรับความคุมครองและพัฒนาอาชีพไปสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย จึงมีคําส่ังเปล่ียนเปนสถานคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหายจากการคามนุษย (บานสองแคว) จังหวัดพิษณุโลก เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2558 เปนตนมา โดยมีพ้ืนที่รับผิดชอบ 17 จังหวัดภาคเหนือ 2.8.1 บทบาท ดําเนินการดานการคุมครองชวยเหลือ บําบัด ฟนฟู เยียวยา สงกลับคืนสูสังคม แกกลุมเปาหมายพ้ืนที่รับผิดชอบ 17 จังหวัดภาคเหนือ 2.8.2 หนาท่ี 2.8.2.1 ใหการชวยเหลือบําบัด ฟนฟู คุมครอง เยียวยา กลุมเปาหมาย 2.8.2.2 พัฒนาระบบการจัดสวัสดิภาพใหกลุมเปาหมาย 2.8.2.3 ดําเนินการปองกันและแกไขปญหาการคามนุษย 2.8.2.4 สงเสริม สนับสนุนองคกร เครือขาย พัฒนากลไกดานการปองกันและแกไขปญหาการคามนุษยในระดับพ้ืนที่

Page 31: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

24

2.8.3 กลุมเปาหมาย 2.8.3.1 หญิงที่ตกเปนผูเสียหายจากการคามนุษย ทั้งชาวไทยและชาวตางชาติ ตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ.2551 2.8.3.2 สตรีที่ตองเขารับการคุมครองตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคาประเวณี พ.ศ.2539 หรือสตรีที่มีอายุเกิน 18 ป ที่สมัครใจเขารับการคุมครอง 2.8.3.3 เด็กท่ีพึงไดรับการคุมครองสวัสดิภาพตามพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ. 2546 2.8.3.4 เด็กตามคําส่ังศาลตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553

2.9 แนวคิดในการดําเนินคดีแพงท่ีเก่ียวเน่ืองกับคดีอาญากรณีเด็กหรือเยาวชนกระทําผิดอาญา 2.9.1 ความหมายของคดีแพงท่ีเกี่ยวเน่ืองกับคดีอาญา คดีแพงที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา หมายถึง การกระทําความผิดอาญาท่ีทําใหผูกระทําตองรับผิดทางแพงดวยเรียกคดีแพงดังกลาววา “คดีแพงที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา” คดีแพงดังกลาวเปนคดีละเมิดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 420 ซึ่งผูเสียหายมีสิทธิเรียกคาเสียหายเพ่ือทดแทนความเสียหายเนื่องมาจากการกระทําผิด โดยพนักงานอัยการอาจย่ืนฟองคดีแพงที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาโดยพนักงานอัยการเปนผูรองแทนผูเสียหายตอศาลท่ีรับฟองคดีอาญาเพ่ือส่ังคืนหรือส่ังใหใชราคาทรัพยก็ไดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 43 หรือผูเสียหายอาจย่ืนฟองคดีแพงท่ีเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาตอศาลที่มีอํานาจชําระคดีอาญาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 44/1 กรณีนี้การพิจารณาคดีแพงที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาตองปฏิบัติตามกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงซึ่งศาลอาจมีคําส่ังใหแยกคดีสวนแพงออกจากการพิจารณาคดีสวนอาญาก็ได 2.9.2 คดีอาญาท่ีผูเสียหายมีสิทธิเรียกรองทางแพงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 2.9.2.1 คดีท่ีพนักงานอัยการมีอํานาจใชสิทธิแทนผูเสียหาย ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 43 บัญญัติวา “คดีลักทรัพย วิ่งราวทรัพย ชิงทรัพย ปลนทรัพย โจรสลัด กรรโชก ฉอโกง ยักยอกหรือรับของโจร ถาผูเสียหายมีสิทธิที่จะเรียกรองทรัพยสิน หรือราคาที่เขาสูญเสียไปเนื่องจากการกระทําคืน เมื่อพนักงานอัยการย่ืนฟองคดีอาญา ก็ใหเรียกทรัพยสินหรือราคาแทนผูเสียหายดวย” พนักงานอัยการขอใหเรียกทรัพยสินหรือราคาแทนเฉพาะความผิด 9 ฐานเทานั้น แตหากเปนความผิดฐานอื่นนอกจากความผิดท้ัง 9 ฐานดังกลาวพนักงานอัยการไมมีสิทธิเรียกรองแทนผูเสียหาย 2.9.2.2 คดีท่ีผูเสียหายใชสิทธิเรียกรองเอง

Page 32: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

25

ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 44/1 บัญญัติวา “ในคดีที่พนักงานอัยการเปนโจทก ถาผูเสียหายมีสิทธิท่ีจะเรียกเอาคาสินไหมทดแทนเพราะเหตุไดรับอันตรายแกชีวิต รางกาย จิตใจ หรือไดรับความเส่ือมเสียตอเสรีภาพในรางกาย ชื่อเสียง หรือไดรับความเสียหายในทางทรัพยสินอันเนื่องมาจากการกระทําความผิดของจําเลย ผูเสียหายจะย่ืนคํารองตอศาลที่พิจารณาคดีอาญาขอใหบังคับจําเลยชดใชคาสินไหมทดแทนแกตนก็ได การย่ืนคํารองตามวรรคหนึ่ง ผูเสียหายตองย่ืนคํารองกอนเริ่มสืบพยาน ในกรณีที่ ไมมีการสืบพยานใหย่ืนคํารองกอนศาลวินิจฉัยชี้ขาดคดี และใหถือวาคํารองดังกลาวเปนคําฟองตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงและผูเสียหายอยูในฐานะโจทกในคดีสวนแพงนั้น ทั้งนี้ คํารองดังกลาวตองแสดงรายละเอียดตามสมควรเกี่ยวกับความเสียหายและจํานวนคาสินไหมทดแทนที่เรียกรอง หากศาลเห็นวาคํารองนั้นยังขาดสาระสําคัญบางเรื่อง ศาลอาจมีคําส่ังใหผูรองแกไขคํารองใหชัดเจนก็ได คํารองตามวรรคหนึ่งจะมีคําขอประการอื่นที่มิใชคําขอบังคับใหจําเลยชดใชคาสินไหมทดแทนอันเนื่องมาจากการกระทําความผิดของจําเลยในคดีอาญามิได และตองไมขัดหรือแยงกับคําฟองในคดีอาญาที่พนักงานอัยการเปนโจทก และในกรณีท่ีพนักงานอัยการไดดําเนินการตามความในมาตรา 43 แลว ผูเสียหายจะย่ืนคํารองตามวรรคหนึ่งเพ่ือเรียกทรัพยสินหรือราคาทรัพยสินอีกไมได” การท่ีกฎหมายจํากัดอํานาจพนักงานอัยการเรียกคาเสียหายแทนผูเสียหายเฉพาะความผิด 9 ฐาน และจํากัดเพียงเรียกทรัพยสินหรือราคาแทนทรัพยสินตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 43 ทําใหผูเสียหายไมอาจไดรับชดใชคาสินไหมทดแทนอยางอื่น เชนคาเสียหายจากการขาดประโยชนทํามาหาได คาเสียหายอยางอื่นอันมิใชตัวเงิน เปนตน จึงไดมีการแกไขเพ่ิมเติมบทบัญญัติมาตรา 44/1 ดังกลาว เพ่ือใหผูเสียหายมีสิทธิเรียกสินไหมทดแทนเพราะเหตุตามบทบัญญัติดังกลาวได 2.9.3 คดีท่ีผูเสียหายมีสิทธิและประสงคเรียกคาสินไหมทดแทนและคาเสียหายเพ่ือการลงโทษในความผิดฐานคามนุษย พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ.2551 มาตรา 35 บัญญัติวา “ในกรณีที่ผูเสียหายมีสิทธิและประสงคที่จะเรียกคาสินไหมทดแทนอันเนื่องมาจากการกระทําความผิดฐานคามนุษย ใหพนักงานอัยการเรียกคาสินไหมทดแทนแทนผูเสียหายตามท่ีไดรับแจงจากปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยหรือผูที่ไดรับมอบหมาย” พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีคามนุษย พ.ศ.2559 มาตรา 13 บัญญัติวา “การเรียกคาสินไหมทดแทนแทนผูเสียหายตามกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการคามนุษย พนักงานอัยการจะขอรวมไปกับฟองคดีอาญา หรือจะย่ืนคํารองในระหวางการพิจารณาของศาลชั้นตนก็ได ทั้งนี้ ไมติดสิทธิของผูเสียหายที่จะย่ืนคํารองเพ่ือเรียกคาสินไหมทดแทนเพ่ิมเติมไดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญากอนที่ศาลจะมีคําวินิจฉัยชี้ขาดคดี

Page 33: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

26

ถึงแมไมมีคําขอใหใชคาสินไหมทดแทนตามวรรคหนึ่ง หากศาลมีคําพิพากษาลงโทษจําเลย ศาลจะส่ังในคําพิพากษาคดีอาญาใหจําเลยใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหายตามจํานวนท่ีเห็นสมควรก็ได คําส่ังดังกลาวไมกระทบถึงสิทธิของผูเสียหายในอันท่ีจะฟองจําเลยเปนคดีแพงเพ่ือเรียกเอาคาสินไหมทดแทนในสวนที่ยังขาดอยู” มาตรา 14 บัญญัติวา “นอกจากการใหใชคาสินไหมทดแทนตามมาตรา 13 แลว ถาปรากฏวา ในการกระทําความผิดมีการกระทําทารุณกรรม หนวงเหนี่ยวกักขัง ทํารายรางกาย หรือกดขี่หมเหงโดยขาดมนุษยธรรมอยางรายแรงตอผูเสียหาย เมื่อศาลมีคําพิพากษาใหจําเลยชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย ใหศาลมีอํานาจส่ังใหจําเลยจายคาเสียหายเพ่ือการลงโทษเพ่ิมขึ้นไดตามที่เห็นสมควรโดยคํานึงถึงพฤติการณตางๆ เชน ความรุนแรงของความเสียหายที่เกิดขึ้น ผลประโยชนที่จําเลยไดรับ ฐานะทางการเงินของจําเลย ตลอดจนประวัติการกระทําความผิดเกี่ยวกับการคามนุษยของจําเลยประกอบดวย” ความผิดฐานคามนุษยเปนความผิดท่ีกฎหมายบัญญัติไวเปนพิเศษและมีวิธีพิจารณาตางหากจากความผิดอาญาทั่วไป ในเรื่องการเรียกเอาคาสินไหมทดแทนจากจําเลยไดกําหนดไวแตกตางจากประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาโดยกําหนดไวในพระราชบญัญตัปิองกนัและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ.2551 มาตรา 35 วา กรณีผูเสียหายมีสิทธิและประสงคท่ีจะเรียกคาสินไหมทดแทนอันเนื่องมาจากการกระทําความผิดฐานคามนุษย ใหพนักงานอัยการเรียกคาสินไหมทดแทนแทนผูเสียหายตามที่ไดรับแจงจากปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยหรือผูท่ีไดรับมอบหมาย คาสินไหมทดแทนเชนวานี้คือ คาสินไหมทดแทนดานรางกาย ขาดความสามารถ เสรีภาพ จิตใจ ชื่อเสียง ซึ่งพนักงานอัยการจะขอรวมไปกับคําฟองอาญา หรือจะย่ืนคํารองในระหวางการพิจารณาของศาลชั้นตนก็ได แตถาผูเสียหายเห็นวาคาสินไหมทดแทนท่ีพนักงานอัยการย่ืนแทนนั้นนอยไป ผูเสียหายก็มีสิทธิย่ืนคํารองเพ่ือเรียกคาสินไหมทดแทนเพ่ิมเติมได แตตองย่ืนกอนที่ศาลจะมีคําวินิจฉัยชี้ขาดตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีคามนุษย พ.ศ.2559 มาตรา 13 วรรคหนึ่ง และกฎหมายยังใหอํานาจศาลอีกวา ถึงแมไมมีคําขอใหใชคาสินไหมทดแทนดังกลาว หากศาลพิพากษาลงโทษจําเลย ศาลจะส่ังในคําพิพากษาในคดีอาญาใหจําเลยใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหายตามจํานวนท่ีเห็นสมควรก็ได อีกทั้งยังไมกระทบสิทธิของผูเสียหายในอันที่จะฟองจําเลยเปนคดีแพงเพ่ือเรียกคาสินไหมทดแทนในสวนที่ยังขาดอยูอีกดวยตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ.2551 มาตรา 13 วรรคสอง นอกจากนี้ การกระทําความผิดฐานคามนุษยถาผูกระทําความผิดกระทําทารุณกรรม หนวงเหนี่ยวกักขัง ทํารายรางกาย หรือกดขี่ขมเหงโดยขาดมนุษยธรรมอยางรายแรงตอผูเสียหาย พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีคามนุษย พ.ศ.2559 มาตรา 14 กําหนดวา เมื่อศาลมีคําพิพากษาใหจําเลยชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย ใหศาลมีอํานาจส่ังใหจําเลยจายคาเสียหายเพ่ือการลงโทษเพ่ิมขึ้นไดตามที่เห็นสมควร โดยคํานึงถึงพฤติการณตางๆ เชน ความรุนแรงของความเสียหายท่ีเกิดขึ้น ผลประโยชนท่ีจําเลยไดรับ ฐานะทางการเงินของจําเลย ตลอดจนประวัติการกระทําความผิดเกี่ยวกับการคามนุษยของจําเลยประกอบดวย

Page 34: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

27

ดังนั้น ผูเสียหายในคดีความผิดฐานคามนุษยจึงมีสิทธิไดรับชดใชคาสินไหมทดแทนตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ.2551 มาตรา 35 และคาเสียหายเพ่ือการลงโทษตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีคามนุษย พ.ศ.2559 มาตรา 14 หากเขาหลักเกณฑตามที่กฎหมายกําหนดไวดังกลาว โดยใหถือวาคําพิพากษาในสวนท่ีเกี่ยวกับคาสินไหมทดแทนและคาเสียหายเพ่ือการลงโทษใหรวมเปนสวนหนึ่งแหงคําพิพากษาในคดีอาญา และใหกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยดําเนินการใหความชวยเหลือทางกฎหมายแกผูเสียหายตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีคามนุษย พ.ศ.2559 มาตรา 15 วรรคหนึ่ง 2.9.4 ผูมีหนาท่ีตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนกรณีเด็กหรือเยาวชนกระทําผิดอาญา 2.9.4.1 เด็กหรือเยาวชนตองรับผิดในการกระทําของตนเอง ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 420 บัญญัติวา “ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอทําตอบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายใหเขาเสียหายถึงแกชีวิตก็ดี รางกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพยสินหรือสิทธิอยางหนึ่งอยางใดก็ดี ทานวาผูนั้นทําละเมิด จําตองใชคาสินไหมทดแทนเพ่ือการนั้น” จากหลักกฎหมายดังกลาวทําใหเห็นไดวา หากบุคคลใดกระทําโดยจงใจ หรือประมาทเลินเลอและการกระทํานั้นเปนเหตุใหบุคคลอื่นไดรับความเสียหายแกชีวิต รางกาย อนามัย เสรีภาพ ทรัพยสิน หรือสิทธิอยางหนึ่งอยางใด ถือวาเปนการทําละเมิด บุคคลนั้นตองชดใชคาสินไหมทดแทนแกบุคคลผูถูกทําละเมิด 2.9.4.2 บิดามารดา หรือผูอนุบาลตองรับผิดรวมกับผูไรความสามารถ ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 429 บัญญัติวา “บุคคลใดแมไรความสามารถเพราะเหตุเปนผูเยาวหรือผูวิกลจริตก็ยังตองรับผิดในผลท่ีตนทําละเมิด บิดามารดา หรือผูอนุบาลของบุคคลเชนวานี้ ยอมตองรับผิดรวมกับเขาดวย เวนแตจะพิสูจนไดวาตนไดใชความระมัดระวังตามสมควรแกหนาที่ซึ่งทําอยูนั้น” คําวา “ผูไรความสามารถ” ตามบทบัญญัติดังกลาวหมายถึง ผูเยาว คือบุคคลท่ีอายุยังไมครบ 20 ปบริบูรณ และบุคคลวิกลจริตที่ศาลมีคําส่ังแลวตามมาตรา 28, 29 เทานั้น มาตรานี้ถือหลักวา ผูเยาว หรือผูวิกลจริต มิไดรับการยกเวนวาไมตองรับผิดในเมื่อตนกระทําละเมิด เพราะการทําละเมิดนั้นมิใชการใชสิทธิในทางกอใหเกิดนิติสัมพันธกับบุคคลภายนอก ในทางตรงกันขามละเมิดเปนการกระทําโดยไมมีสิทธิและเมื่อเกิดความเสียหายขึ้นกับบุคคลภายนอก ผูไรความสามารถจึงตองรับผิด กฎหมายเห็นวา บุคคลเหลานี้เปนผูดูแลมิใหผูไรความสามารถไปกอความเสียหายกับบุคคลภายนอก หากผูเยาวหรือผูวิกลจริตไปกอความเสียหายอันเปนละเมิด บิดามารดา หรือผูอนุบาลตองรวมรับผิดกับผูทําละเมิดดวย 2.9.4.3 ครูบาอาจารย นายจาง หรือผูรับดูแลผูไรความสามารถ ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 430 บัญญัติวา “ครูบาอาจารย นายจาง หรือบุคคลอื่น ซึ่งรับดูแลผูไรความสามารถอยูเปนนิตยก็ดี ชั่วคราวก็ดี จําตองรับผิด

Page 35: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

28

รวมกับผูไรความสามารถในการละเมิด ซึ่งไดกระทําลงในระหวางท่ีอยูในความดูแลของตน ถาหากพิสูจนไดวาบุคคลนั้นๆ มิไดใชความระมัดระวังตามสมควร” บทบัญญัติมาตรานี้กําหนดความรับผิดของผูมีหนาท่ีดูแลผูไรความสามารถในผลแหงละเมิดที่ผูไรความสามารถไดทําขึ้นเชนเดียวกับมาตรา 429 ความรับผิดอยูที่การบกพรองในหนาที่ดูแล ผูไรความสามารถ แตตางกันอยูท่ีตัวผูมีหนาท่ีดูแลเพราะบุคคลท่ีเขารับหนาท่ีตามมาตรานี้เกิดขึ้นตามขอเท็จจริง และตางกันในหนาที่นําสืบเกี่ยวกับการที่มิไดใชความระมัดระวังตามสมควร

2.10 คดีท่ีพนักงานอัยการย่ืนคํารองขอใหทรัพยสินท่ีเก่ียวกับการกระทําความผิดฐานคามนุษยตกเปนของแผนดิน มาตรา 49 วรรคหนึ่ง และวรรคหก บัญญัติวา “ภายใตบังคับมาตรา 48 วรรคหนึ่ง ในกรณีที่ปรากฏหลักฐานเปนที่เชื่อไดวาทรัพยสินใดเปนทรัพยสินท่ีเกี่ยวกับการกระทําความผิด ใหเลขาธิการสงเรื่องใหพนักงานอัยการพิจารณาเพ่ือย่ืนคํารองขอใหศาลมีคําส่ังใหทรัพยสินนั้นตกเปนของแผนดินโดยเร็ว... ในกรณีตามวรรคหนึ่งถาปรากฏขอเท็จจริงวา มีผูเสียหายในความผิดมูลฐาน ใหเลขาธิการขอใหพนักงานอัยการย่ืนคํารองขอใหศาลมีคําส่ังใหนําทรัพยสินที่เกี่ยวกับการกระทําความผิดไปคืนหรือชดใชคืนใหแกผูเสียหายแทนการส่ังใหทรัพยสินดังกลาวตกเปนของแผนดนิดวยในคราวเดียวกันและเมื่อศาลมีคําส่ังใหคืนทรัพยสินหรือชดใชใหผูเสียหายตามวรรคนี้แลว ใหสํานักงานดําเนินการใหเปนไปตามคําส่ังศาลโดยเร็ว” มาตรา 50 บัญญัติวา “ผูซึ่งอางวาเปนเจาของทรัพยสินท่ีพนักงานอัยการรองขอใหตกเปนของแผนดินตามมาตรา 49 อาจย่ืนคํารองกอนศาลมีคําส่ังตามมาตรา 51 โดยแสดงใหศาลเห็นวา (1) ตนเปนเจาของที่แทจริง และทรัพยสินนั้นไมใชทรัพยสินท่ีเกี่ยวกับการกระทําความผิด หรือ (2) ตนเปนผูรับโอนโดยสุจริตและมีคาตอบแทน หรือไดมาโดยสุจริตและตามสมควรในทางศีลธรรมอันดีหรือในทางกุศลสาธารณะ ผูซึ่งอางวาเปนผูรับประโยชนในทรัพยสินท่ีพนักงานอัยการรองขอใหตกเปนของแผนดินตามมาตรา 49 อาจย่ืนคํารองขอคุมครองสิทธิของตนกอนศาลมีคําส่ัง โดยแสดงใหศาลเห็นวาตนเปนผูรับประโยชนโดยสุจริตและมีคาตอบแทน หรือไดมาซึ่งประโยชนโดยสุจริตและตามสมควรในทางศีลธรรมอันดี หรือในทางกุศลสาธารณะ” มาตรา 51 วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “เมื่อศาลทําการไตสวนคํารองของพนักงานอัยการตามมาตรา 49 แลว หากศาลเช่ือวาทรัพยสินตามคํารองเปนทรัพยสินที่เกี่ยวกับการกระทําความผิด และคํารองของผูซึ่งอางวาเปนเจาของทรัพยสินหรือผูรับโอนทรัพยสินตามมาตรา 50 วรรคหนึ่ง ฟงไมขึ้น ใหศาลมีคําส่ังใหทรัพยสินนั้นตกเปนของแผนดิน...”

Page 36: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

29

ตามบทบัญญัติดังกลาวหากปรากฏหลักฐานเปนท่ีเชื่อไดวาทรัพยสินใดเปนทรัพยสินที่เกี่ยวกับการกระทําความผิด ใหเลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินสงเรื่องใหพนักงานอัยการพิจารณาเพ่ือย่ืนคํารองขอใหศาลมีคําส่ังใหทรัพยสินดังกลาวตกเปนของแผนดิน แตกฎหมายก็กําหนดวาถาปรากฏขอเท็จจริงวามีผูเสียหายในความผิดมูลฐาน ใหเลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินขอใหพนักงานอัยการย่ืนคาํรองขอใหศาลมีคําส่ังใหนําทรัพยสินที่เกี่ยวกับการกระทําความผิดไปคืนหรือชดใชคืนใหแกผูเสียหายแทนการส่ังใหทรัพยสินดังกลาวตกเปนของแผนดิน ดังนั้น หากมีผูเสียหายตามความผิดมูลฐาน เชน ความผิดฐานฉอโกงประชาชน ความผิดเกี่ยวกับการยักยอก หรือฉอโกงหรือประทุษรายตอทรัพยหรือกระทําโดยทุจริตตามกฎหมายวาดวยธุรกิจสถาบันการเงินตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 หากเลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินขอใหพนักงานอัยการย่ืนคํารองขอใหศาลนําทรัพยสินที่เกี่ยวกับการกระทําความผิดไปคืนหรือชดใชคืนแกผูเสียหายแทนการส่ังใหทรัพยสินนั้นตกเปนของแผนดิน เมื่อศาลมีคําส่ังใหคืนหรือชดใชคืนก็ใหสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินดําเนินการตามคําส่ังศาลโดยเร็ว

2.11 ระเบียบกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยวาดวยการใหความชวยเหลือแกบุคคล ขอ 4 ในระเบียบนี้ “สถานคุมครอง” หมายความวา สถานแรกรับตามกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการคาประเวณี หรือสถานแรกรับตามกฎหมายวาดวยการคุมครองเด็ก หรือสถานสงเคราะหอื่นของรัฐหรือเอกชน ที่จดทะเบียนเปนองคกรเอกชนดานการปองกันและปราบปรามการคามนุษยตามที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยกําหนด หมวด 3 การใหความชวยเหลือทางกฎหมาย ขอ 15 การดําเนินคดีเพ่ือเรียกรองคาสินไหมทดแทนใหผูเสียหาย ในกรณีที่ผูเสียหายมีสิทธิและประสงคที่จะเรียกรองคาสินไหมทดแทนอันเนื่องมาจากการกระทําความผิดฐานคามนุษยใหกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ หรือสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด แลวแตกรณี ดําเนินการเพ่ือกําหนดคาสินไหมทดแทน โดยพิจารณารวมกับผูเสียหายหรือผูแทนพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ ผูที่เกี่ยวของและบุคคลที่เห็นสมควรใหเขารวมพิจารณาแลวรายงานใหปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยหรือ ผูแทนที่ไดรับมอบหมายทราบเพ่ือแจงใหพนักงานอัยการดําเนินการตอไป ทั้งนี้ การพิจารณากําหนดคาสินไหมทดแทนใหผูเสียหายดังกลาวใหดําเนินการโดยไมชักชา การกําหนดคาสินไหมทดแทนตามวรรคหนึ่ง ใหพิจารณารวมถึงเหตุท่ีไดรับความเสียหายหรือไดรับอันตรายแกชีวิต รางกาย จิตใจ เสรีภาพ ชื่อเสียง ทรัพยสิน หรือสิทธิอยางหนึ่งอยางใดตลอดจนความเสียหายอื่นใดที่สามารถคํานวณเปนเงินได

Page 37: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

30

กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยไดออกระเบียบเกี่ยวกับการใหความชวยเหลือแกบุคคล ซึ่งระเบียบดังกลาวในขอ 4 ใหคํานิยามคําวา “สถานคุมครอง” เอาไว ดังนั้น สถานคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหายจากการคามนุษยจึงเปนสถานสงเคราะหอื่นของรัฐตามท่ีกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยกําหนด สถานคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหายจากการคามนุษยดังกลาวมี 8 แหงท่ัวประเทศ ประกอบดวย 1.สถานคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหายจากการคามนุษย (บานเกร็ดตระการ) จังหวัดนนทบุรี 2.สถานคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหายจากการคามนุษย (บานสองแคว) จังหวัดพิษณุโลก 3.สถานคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหายจากการคามนุษย (บานนารีสวัสดิ์) จังหวัดนครราชสีมา 4. สถานคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหายจากการคามนุษย (บานศรีสุราษฎร) จังหวัดสุราษฎรธานี 5.สถานคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหายจากการคามนุษย จังหวัดปทุมธานี 6.สถานคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหายจากการคามนุษย จังหวัดเชียงราย 7.สถานคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหายจากการคามนุษย จังหวัดระนอง 8.สถานคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหายจากการคามนุษย จังหวัดสงขลา ซึ่งสถานคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหายจากการคามนุษยลําดับ 1-4 เปนสถานคุมครองผูเสียหายจากการคามนุษยซึ่งเปนหญิง สวนลําดับท่ี 5-8 เปนสถานคุมครองผูเสียหายจากการคามนุษยซึ่งเปนชาย นอกจากนี้ ระเบียบดังกลาวกําหนดวิธีปฏิบัติกรณีผูเสียหายมีสิทธิและประสงคท่ีจะเรียกคาสินไหมทดแทนอันเนื่องมาจากการกระทําความผิดฐานคามนุษยไวดวย โดยใหกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการหรือสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด ดําเนินการเพ่ือกําหนดคาสินไหมทดแทนโดยพิจารณารวมกับผูเสียหายหรือผูแทนพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ ผูที่เกี่ยวของและบุคคลที่เห็นสมควรใหเขารวมพิจารณา เมื่อพิจารณาเสร็จแลวใหรายงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย หรือผูแทนท่ีไดรับมอบหมาย (กรณีอยูนอกเขตกรุงเทพมหานคร) เพ่ือแจงใหพนักงานอัยการย่ืนคํารองตอศาลตอไป

Page 38: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

31

บทท่ี 3 วิธีการศึกษา

การศึกษาเปนการศึกษาวิเคราะหถึงความสําคัญของการนําวิธีการสงเคราะหเด็กตามกฎหมายคุมครองเด็กมาใชแกเด็กหรือเยาวชนซึ่งเปนผูกระทําความผิดฐานคามนุษยในขณะเดียวกันก็เปนเด็กที่เส่ียงตอการกระทําความผิดอันถือเปนผูเสียหายตามที่พนักงานเจาหนาที่หรือผูมีหนาที่คุมครองสวัสดิภาพคัดแยกเหย่ือหรือสืบคนขอเท็จจริงเพ่ือใหเด็กหรือเยาวชนการบําบัดฟนฟูตามแนวทางของสถานคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหายจากการคามนุษย และปญหาในการบังคับเอาคาสินไหมทดแทนกับเด็กหรือเยาวชนซึ่งกระทําความผิดฐานคามนุษย เพ่ือคนหาขอขัดของและอุปสรรคในการสงเคราะหเด็กตามกฎหมายคุมครองเด็ก รวมตลอดถึงชองวางหรือขอบกพรองของกฎหมายในการบังคับคดีเอากับเด็กหรือเยาวชนใหชดใชคาสินไหมทดแทนในความผิดฐานคามนุษย เพ่ือหาแนวทางแกไขตอไปในอนาคต

3.1 รูปแบบการวิจัยและวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล การศึกษาวิจัยเรื่อง “การบังคับใชกฎหมายกรณีเด็กหรือเยาวชนเปนผูเสียหายหรือผูกระทําความผิดฐานคามนุษย” ดําเนินการโดยใชวิธีวิจัยเอกสาร ตํารากฎหมาย วิทยานิพนธ บทความทางวิชาการ (Document Research) คูมือการปฏิบัติงาน ทั้งจากตัวเอกสาร และส่ืออิเล็กทรอนิกส เชน เว็ปไซตตางๆ ท่ีเกี่ยวกับกฎหมาย บทความทางวิชาการ และเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ดังนี้ 3.1.1 ตัวบทกฎหมาย ศึกษาจากบทบัญญัติของกฎหมายตามพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ.2546 มาตรา 24, 33 และ 40 ซึ่งเปนบทบัญญัติเกี่ยวกับการสงเคราะหและการคุมครองสวัสดิภาพเด็กโดยปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยหรือผูวาราชการจังหวัด พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553 มาตรา 90, 132 และ 142 โดยมุงศึกษาถึงหลักเกณฑในการสงเคราะหเด็กและนําวิธีการสงเคราะหเด็กมาใชเปนมาตรการหนึ่งแทนการลงโทษ นอกจากนี้ยังศึกษาจากบทบัญญัติของพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ.2551 มาตรา 35 และพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 มาตรา 49 โดยมุงศึกษาถึงปญหาอุปสรรคในการบังคับใหจําเลยซึ่งเปนเด็กหรือเยาวชนชดใชคาสินไหมทดแทน 3.1.2 ตํารากฎหมาย วิทยานิพนธและบทความทางวิชาการ มุงศึกษาจากตํารากฎหมาย เชน ทานสิทธิศักดิ์ วนะชกิจ ทานวรวิทย ฤทธิทิศ ผูชวยศาสตราจารยอัจฉรียา ชูตินันทน ตลอดจนตํารากฎหมายจากอาจารยที่มีชื่อเสียงหลายทาน

Page 39: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

32

เพ่ือศึกษาถึงทฤษฎีกฎหมายที่เกี่ยวของกับเรื่องการดําเนินคดีกับเด็กหรือเยาวชน การใชมาตรการพิเศษแทนการลงโทษ วิธีการสําหรับเด็กหรือเยาวชน การคุมครองเด็ก การสงเคราะหเด็ก และความรับผิดในคดีสวนแพงของเด็กหรือเยาวชน 3.1.3 ระเบียบขอบังคับท่ีเกี่ยวของ ศึกษาจากระเบียบกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยวาดวยการใหความชวยเหลือแกบุคคล และวิธีปฏิบัติเพ่ือบําบัดฟนฟูใหการสงเคราะหเด็กของสถานคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหายจากการคามนุษย (บานสองแคว) จังหวัดพิษณุโลก โดยมุงศึกษาระเบียบและวิธีปฏิบัติของหนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินการเพ่ือประโยชนแกเด็กหรือเยาวชนซึ่งเปนผูเสียหายหรือผูกระทําความผิดฐานคามนุษยอันจะเปนแนวทางเพ่ือแกไขฟนฟูเด็กหรือเยาวชนตอไป

3.2 ขอบเขตการศึกษาและกรอบการวิจัย การศึกษาครั้งนี้จะมุงเนนศึกษาวิเคราะหแนวคิด ทฤษฎี และความมุงหมายของการนําวิธีการสงเคราะหเด็กมาใชเพ่ือแกไขบําบัดฟนฟูเด็กหรือเยาวชนซึ่งเปนผูเสียหายหรือเด็กหรือเยาวชนกระทําความผิดฐานคามนุษยซึ่งพนักงานเจาหนาท่ีหรือเจาหนาท่ีผูมีหนาท่ีคุมครองสวัสดิภาพสืบคนขอเท็จจริงพบวา เด็กหรือเยาวชนจัดเปนผูเสียหายดวยโดยใชมาตรการพิเศษแทนการลงโทษแกเด็กหรือเยาวชน และศึกษาถึงปญหาขอขัดของการบังคับคดีเอากับเด็กหรือเยาวชนซึ่งกระทําความผิดฐานคามนุษย

Page 40: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

33

บทท่ี 4 วิเคราะหปญหา

ศาลเยาวชนและครอบครัวมีมาตรการและเจตนารมณในการมุงที่จะแกไขปญหา ฟนฟูใหเด็กหรือเยาวชนกลับตัวเปนคนดีมากกวาการลงโทษ เนื่องจากความรับผิดสวนใหญเด็กกระทําไปดวยความหลงผิด รูเทาไมถึงการณ ขาดวุฒิภาวะ ขาดความยับย้ังชั่งใจ ขาดการไตรตรอง ผลเสียหายก็จะตามมา สวนใหญเกิดจากการชักชวนจากบุคคลอื่น หรือจากสภาวะแวดลอมที่บีบบังคับ เชน จากสภาพครอบครัว การศึกษา ฐานะ ความเปนอยู และปจจัยอื่นๆ อันเปนสาเหตุใหเด็กตองกระทําความผิดขึ้น ดังนั้น เพ่ือใหเด็กหรือเยาวชนมีโอกาสปรับปรุง หรือแกไขตนเองและสํานึกในการกระทําความผิดที่ตนไดกระทําขึ้น พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553 จึงไดกําหนดใหศาลมีดุลพินิจใชวิธีการสําหรับเด็กโดยเปล่ียนโทษจําคุกเปนสงตัวเด็กหรือเยาวชนไปควบคุมเพ่ือฝกอบรมยังศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนหรือสถานที่อื่นที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเพ่ือขัดเกลา อบรมนิสัย ฟนฟูแกไข ใหเด็กมีความประพฤติในทางที่ดีตอไป หรือหากความผิดนั้นเปนความผิดเพียงเล็กนอยและเปนการกระทําผิดครั้งแรก ก็อาจใหมีการคุมประพฤติเด็กไวโดยใหบิดามารดา ผูปกครองหรือผูดูแลเด็กสอดสองดแูลเดก็แลวมารายงานตัวตอศาลเปนระยะๆ แทนการสงตัวไปยังศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนได หรือหากศาลเห็นวายังไมสมควรลงโทษเด็กหรือเยาวชนศาลก็อาจใชมาตรการพิเศษแทนการลงโทษได ท้ังนี้ตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553 มาตรา 90 และมาตรา 132 อยางไรก็ตาม ผูศึกษาเห็นวามาตรการพิเศษแทนการลงโทษหรือวิธีการสําหรับเด็กหรือเยาวชนดังกลาวเหมาะสําหรับเด็กหรือเยาวชนกระทําความผิดอาญาทั่วไป แตหากเปนคดีคามนุษยซึ่งเจาหนาที่ของสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยทําการคัดแยกเหย่ือหรือสืบคนขอเท็จจริงพบวา เด็กหรือเยาวชนท่ีกระทําความผิดฐานคามนุษยโดยเปนธุระจัดหา ลอไป หรือชักพาไปซึ่งบุคคลอายุยังไมเกินสิบแปดปเพ่ือใหบุคคลนั้นกระทําการคาประเวณีนั้น ไดคาประเวณีหรือเคยคาประเวณีมากอน ตอมาจึงตั้งตัวเปน “พอเลาหรือแมเลา” เด็กหรือเยาวชนเหลานี้ถือเปนผูเสียหายตามพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ.2546 ควรไดรับการสงเคราะหตามกฎหมายดังกลาวยังสถานคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหายจากการคามนุษย โดยเขารับการบําบัดฟนฟู ชวยเหลือ คุมครอง เยียวยา พัฒนาคุณภาพชีวิต และสงเสริมใหเด็กหรือเยาวชนนั้นมีงาน นอกจากนี้ ในคดีคามนุษยกฎหมายไดกําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการเรียกคาสินไหมทดแทนไวเปนพิเศษโดยกําหนดวา ในกรณีท่ีผูเสียหายมีสิทธิและประสงคท่ีจะเรียกคาสินไหมทดแทนอันเนื่องมาจากการกระทําความผิดฐานคามนุษย ใหพนักงานอัยการเรียกคาสินไหมทดแทนแทนผูเสียหายตามที่ไดรับแจงจากปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ

Page 41: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

34

มนุษยหรือผูที่ไดรับมอบหมาย ทั้งนี้ตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ.2551 มาตรา 35 และถาปรากฏวาในการกระทําความผิดมีการกระทําทารุณกรรม หนวงเหนี่ยวกักขัง ทํารายรางกาย หรือกดขี่ขมเหงโดยขาดมนุษยธรรมอยางรายแรงตอผูเสียหาย หากศาลพิพากษาใหจําเลยชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหายตามบทบัญญัติดังกลาวแลว กฎหมายยังใหอํานาจศาลส่ังใหจําเลยจายคาเสียหายเพ่ือการลงโทษเพ่ิมขึ้นไดตามที่เห็นสมควร ท้ังนี้ตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีคามนุษย พ.ศ.2559 มาตรา 14 แตหากจําเลยเปนเด็กหรือเยาวชนก็อาจเกิดปญหาเกี่ยวกับกระบวนพิจารณา ตลอดจนการบังคับคดีซึ่งมีขอพิจารณาอันเปนปญหาดังนี้

4.1 กรณีเด็กหรือเยาวชนเปนจําเลย หากมีกรณีอยูในสภาพท่ีพึงไดรับการสงเคราะห หรือพึงไดรับการคุมครองสวัสดิภาพ ศาลมีอํานาจดําเนินการใหเขารับการสงเคราะหตามพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ.2546 ไดหรือไม ในกรณีพนักงานเจาหนาที่หรือผูมีหนาที่คุมครองสวัสดิภาพตามพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ.2546 มาตรา 24 ไดรับแจงจากผูพบเห็นเด็กตกอยูในสภาพที่พึงไดรับการสงเคราะห ไดแก (1) เด็กเรรอน หรือเด็กกําพรา (2) เด็กที่ถูกทอดทิ้งหรือพัดหลง ณ ท่ีใดที่หนึ่ง (3) เด็กที่ผูปกครองไมสามารถอุปการะเล้ียงดูไดดวยเหตุใดๆ เชน ถูกจําคุก กักขัง พิการ ทุพพลภาพ เจ็บปวยเรื้อรัง ยากจน เปนผูเยาว หยา ถูกทิ้งราง เปนโรคจิตหรือจิตประสาท (4) เด็กท่ีผูปกครองมีพฤติกรรมหรือประกอบอาชีพไมเหมาะสมอันอาจสงผลกระทบตอพัฒนาการทางรางกายหรือจิตใจของเด็กที่อยูในความปกครองดูแล (5) เด็กที่ไดรับการเล้ียงดูโดยมิชอบ ถูกใชเปนเครื่องมือในการกระทําหรือแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ ถูกทารุณกรรมหรือตกอยูในภาวะอื่นใดอันอาจเปนเหตุใหเด็กมีความประพฤติเส่ือมเสียในทางศีลธรรมอันดีหรือเปนเหตุใหเกิดอันตรายแกกายหรือจิตใจ (6) เด็กพิการ (7) เด็กที่อยูในสภาพยากลําบาก (8) เด็กที่อยูในสภาพที่จําตองไดรับการสงเคราะหตามที่กําหนดในกฎกระทรวง ตามมาตรา 32 แหงพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ. 2546 หรือเด็กที่พึงไดรับการคุมครองสวัสดิภาพ ไดแก (1) เด็กท่ีถูกทารุณกรรม (2) เด็กที่เส่ียงตอการกระทําผิด (3) เด็กที่อยูในสภาพที่จําตองไดรับการคุมครองสวัสดิภาพตามที่กําหนดในกฎกระทรวง ตามมาตรา 40 แหงพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ.2546 ใหพิจารณาใหการสงเคราะหตามวิธีการที่เหมาะสมตามมาตรา 33 หากมีผูพบเห็นเด็กหรือเยาวชนคาประเวณีโดยมีเด็กหรือเยาวชนเปนธุระจัดหา หรือที่เรียกวา “พอเลาหรือแมเลา” เด็กหรือเยาวชนกลุมนี้ไดชื่อวาเปนผูกระทําความผิดฐานคามนุษยและจัดอยูในกลุมเด็กท่ีเส่ียงตอการกระทําความผิดหรือเด็กที่อยูในสภาพจําตองไดรับการคุมครองสวัสดิภาพตามที่กําหนดในกฎกระทรวง เมื่อพนักงานเจาหนาที่หรือผูมีหนาท่ีคุมครองสวัสดิภาพไดรับแจงก็จะทําการสืบคนขอเท็จจริงโดยประสานกับเจาพนักงานตํารวจและสัมภาษณคัดแยกผูเสียหายจากการคามนุษยภายใน 24 ชั่วโมง หากเปนผูเสียหายจะดําเนินการแจงสิทธิและสงตัวเขารับการคุมครองสวัสดิภาพในบานพักเด็กหรือสถานคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหายจากการคามนุษย หากอาจเปนผูเสียหายก็จะหาขอมูลเพ่ิมเติม

Page 42: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

35

รวมถึงการสงตรวจประเมินอายุเพ่ือใหทราบผลการคัดแยกท่ีแทจริงวาเปนผูเสียหายหรือไม หากไมใชผูเสียหายก็จะพิจารณาวาเปนผูเสียหายในเรื่องอื่นหรือเปนผูกระทําความผิดในคดีอื่นหรือไม และจะใหคําแนะนําหรือดําเนินการตามความเหมาะสม หากเปนผูกระทําความผิดเจาพนักงานตํารวจก็จะดําเนินคดีตามกฎหมาย ดังนั้น เด็กที่ถูกฟองเปนจําเลยในความผิดฐานคามนุษยโดยเฉพาะอยางย่ิงเด็กที่พนักงานเจาหนาที่หรือผูมีหนาท่ีคุมครองสวัสดิภาพคัดแยกเหย่ือหรือสืบคนขอเท็จจริงแลวเด็กมีพฤติการณคาประเวณีดวย ก็จะเขาขายเปนเด็กที่พึงไดรับการสงเคราะห หรือพึงไดรับการคุมครองสวัสดิภาพ แตพนักงานเจาหนาท่ีหรือผูมีหนาที่คุมครองสวสัดิภาพ ไมอาจใหการสงเคราะหไดเนื่องจากเด็กเหลานี้อยูในอํานาจพิจารณาพิพากษาของศาล ทั้งนี้ หากพิพากษาวาเด็กกระทําความผิดก็จะตองพิพากษาลงโทษจําคุกและเปล่ียนโทษจําคุกเปนสงตัวเด็กไปฝกอบรม หรือใชมาตรการพิเศษแทนการลงโทษโดยอาจมอบตัวเด็กหรือเยาวชนใหผูปกครองไปดูแลและรายงานตัวตอศาล หรือสงเด็กเขารับการบําบัดฟนฟูยังสถานพินิจและคุมครองเด็กภายในระยะเวลาตามที่ศาลกําหนดแลวใหผูอํานวยการสถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนรายงานตอศาล พนักงานเจาหนาที่หรือผูมีหนาที่คุมครองสวัสดิภาพยอมไมอาจดําเนินการใหการสงเคราะหตามเจตนารมณของกฎหมายคุมครองเด็กไดท้ังท่ีเด็กอยูในขายไดรับการสงเคราะหซึ่งจะเปนประโยชนแกเด็กมากกวาเพราะมีขั้นตอนการบําบัดฟนฟูและฝกอาชีพสําหรับผูเสียหายจากการคามนุษยในสถานคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหายจากการคามนุษยเปนการเฉพาะ

4.2 ปญหาการชดใชคาสินไหมทดแทนหรือคาเสียหายเพ่ือการลงโทษแกผูท่ีไดรับความเสียหาย 4.2.1 หากคูความตกลงกันในเรื่องคาสินไหมทดแทน ปญหาวาใครจะเปนผูมีอํานาจทําสัญญาประนีประนอมยอมความ เด็กซึ่งยังเปนเยาวชนจะทําการใดๆท่ีมีผลผูกพันทางกฎหมายโดยลําพังไมได ตองไดรับความยินยอมของผูแทนโดยชอบธรรม หรือผูแทนโดยชอบธรรมทําแทน เวนแตกิจการบางประเภทที่กฎหมายกําหนดใหผูเยาวทําเองได และหากนิติกรรมอันใดเกี่ยวกับทรัพยสินของผูเยาวที่จะตองไดรับอนุญาตจากศาล ผูแทนโดยชอบธรรมก็ตองไดรับอนุญาตจากศาลเสียกอน ทั้งนี้ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1574 ดังนั้น หากจําเลยซึ่งเปนเด็กหรือเยาวชนยินยอมชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหายแตไมสามารถชดใชใหเสร็จส้ินเพียงครั้งเดียว จําตองทําสัญญาประนีประนอมยอมความเพ่ือผอนชําระ ผูปกครองผูเสียหายหรือผูปกครองจําเลยจะทําสัญญาประนีประนอมยอมความแทนเด็กหรือเยาวชนไดหรือไม 4.2.2 สัญญาประนีประนอมยอมความมีผลผูกพันใครบาง โดยเหตุที่คําพิพากษาผูกพันคูความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 142 ดังนั้น หากผูปกครองไดรับอนุญาตจากศาลใหทําสัญญาประนีประนอมยอมความกับ

Page 43: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

36

เด็ก ตอมาผูปกครองมิไดปฏิบัติตามสัญญาประนีประนอมยอมความ ผูเสียหายจะไปบังคับเอากับเด็กไดหรือไม หรือสามารถบังคับเอากับผูปกครองไดหรือไม 4.2.3 การบังคับคดีเอากับจําเลยซ่ึงเปนเด็กหรือเยาวชน หากศาลพิพากษาวาเด็กหรือเยาวชนกระทําความผิดฐานคามนุษยและใหเด็กหรือเยาวชนชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหายตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ.2551 หรือหากมีการกระทําตามมาตรา 14 แหงพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีคามนุษย พ.ศ.2559 ศาลใหเด็กหรือเยาวชนจายคาเสียหายเพ่ือการลงโทษแกผูเสียหายตามบทบัญญัติดังกลาว ถาขอเท็จจริงปรากฏวา ขณะกระทําความผิดนั้นเด็กหรือเยาวชนอยูในความดูแลของบิดามารดาซึ่งเปนผูปกครอง บิดามารดาจะตองรับผิดรวมกับเด็กหรือเยาวชนหรือไม ตองพิจารณาตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 429 บัญญัติวา “บุคคลใดแมไรความสามารถเพราะเหตุเปนผูเยาวหรือผูวิกลจริตก็ยังตองรับผิดในผลท่ีตนทําละเมิด บิดามารดา หรือผูอนุบาลของบุคคลเชนวานี้ ยอมตองรับผิดรวมกับเขาดวย เวนแตจะพิสูจนไดวาตนไดใชความระมัดระวังตามสมควรแกหนาที่ซึ่งทําอยูนั้น” แมผูเสียหายตองการใหบิดามารดาหรือผูปกครองเด็กหรือเยาวชนรับผิดรวมกับเด็กหรือเยาวชนในคดีที่เด็กหรือเยาวชนถูกฟองในความผิดฐานคามนุษยโดยไมจําตองฟองใหบิดามารดารับผิดเปนอีกคดีหนึ่ง ยอมไมอาจกระทําไดเพราะบิดามารดามิใชคูความในคดี

4.3 ปญหาการบังคับคดีเมื่อศาลพิพากษาใหจําเลยชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหายตามมาตรา 35 แหงพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ.2551 หรือพิพากษาใหจําเลยจายคาเสียหายเพ่ือการลงโทษตามมาตรา 15 แหงพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีคามนุษย พ.ศ.2559 และพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 ตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ.2551 มาตรา 14 บัญญัติวา “ใหความผิดตามพระราชบัญญัตินี้เปนความผิดมูลฐานตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542” ดังนั้น จึงตองมีการดําเนินการเกี่ยวกับทรัพยสินของจําเลย โดยกฎหมายกําหนดใหพนักงานอัยการย่ืนคํารองขอใหศาลมีคําส่ังใหทรัพยสินท่ีปรากฏหลักฐานเปนที่เชื่อไดวาเปนทรัพยสินที่เกี่ยวกับการกระทําความผิดตกเปนของแผนดินตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 มาตรา 49 วรรคหนึ่ง เมื่อศาลทําการไตสวนคํารองของพนักงานอัยการแลว หากศาลเชื่อวาทรัพยสินตามคํารองเปนทรัพยสินท่ีเกี่ยวกับการกระทําความผิดและคํารองของผูรองซึ่งอาจอางเปนเจาของทรัพยสินหรือผูรับโอนทรัพยสินฟงไมขึ้น ใหศาลมีคําส่ังใหทรัพยสินนั้นตกเปนของแผนดินตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 มาตรา 51 วรรคหนึ่ง ปญหาที่เกิดขึ้นในทางปฏิบัติคือ แมศาลจะพิพากษาใหจําเลยชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหายตามพระราชบัญญัติปองกนัและปราบปรามการคามนุษย พ .ศ .2551 หรือพิพากษาให จํา เลยชดใชคา เ สียหายเ พ่ือการลงโทษตาม

Page 44: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

37

พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีคามนุษย พ.ศ.2559 แลว ในขณะเดียวกันทรัพยสินนั้นมิใชทรัพยสินที่เกี่ยวกับการกระทําความผิดที่เลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินขอใหพนักงานอัยการย่ืนคํารองขอใหศาลมีคําส่ังใหนําทรัพยสินนั้นคืนหรือชดใชคืนแกผูเสียหายและศาลไดมีคําส่ังใหทรัพยสินท่ีเกี่ยวกับการกระทําความผิดตกเปนของแผนดนิเนือ่งจากทรัพยสินท่ีผูกระทําความผิดฐานคามนุษยไดมาสวนใหญจะเปนทรัพยสินท่ีไดมาจากบุคคลอื่นแตกตางจากความผิดมูลฐานอื่น เชน ความผิดฐานฉอโกงหรือยักยอกซึ่งผูกระทําความผิดไดไปซึ่งทรัพยสินจากผูเสียหายจึงมิใชทรัพยสินที่ตองคืนหรือชดใชคืนแกผูเสียหายตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 มาตรา 49 วรรคทาย ไมวาจําเลยจะเปนผูใหญหรือเด็กหรือเยาวชน หากทรัพยสินตกเปนของแผนดินเสียแลวยอมไมมีทรัพยสินท่ีจะบังคับชดใชแกผูเสียหาย

4.4.ปญหาเก่ียวกับความชํานาญในหนาท่ีและการบังคับใชกฎหมายของพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ และศาล แมพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ.2551 ประกาศใชมานานแลว แตปญหาการคามนุษยก็เกิดขึ้นในสังคมไทยมิไดลดลง การดําเนินคดีเกี่ยวกับการคามนุษยจําเปนตองใชบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเปนการเฉพาะ โดยเฉพาะอยางย่ิงพนักงานสอบสวนซึ่งเปนผูมีหนาที่รวบรวมพยานหลักฐาน แมจะมีการประกาศใชพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีคามนุษย พ.ศ. 2559 ในการพิจารณาใชวิธีการไตสวนก็ตามก็จําเปนที่พนักงานสอบสวนจะตองรวบรวมพยานหลักฐานใหครบทุกดานโดยเฉพาะในคดีที่เด็กเปนจําเลยเพราะกฎหมายมิใหนําวิธีพิจารณาเกี่ยวกับการคามนุษยมาใช พนักงานสอบสวนย่ิงจําตองรวบรวมพยานหลักฐานใหมากที่สุด โดยผูศึกษาพบวาสวนใหญพนักงานสอบสวนกองบังคับการปองกันและปราบปรามการคามนุษยจะเดินทางไปทําการสอบสวนดวยตนเองแลวจึงมอบสํานวนการสอบสวนใหพนักงานสอบสวนทองที่กระทําความผิดรับสํานวนตอ ประกอบกับหนวยงานท่ีเกี่ยวของยังไมไดตระหนักถึงสิทธิเด็กเทาท่ีควรทําใหการนํากฎหมายวาดวยการคุมครองเด็กมาปรับใชกรณีเด็กหรือเยาวชนกระทําความผิดฐานคามนุษยยังไมเกิดประสิทธิภาพเทาที่ควรจะเปน

Page 45: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

38

บทท่ี 5 บทสรุปและขอเสนอแนะ

5.1 บทสรุป ปญหาการคามนุษยไดทวีความรุนแรงมากขึ้น โดยเฉพาะอยางย่ิงเกี่ยวกับการคาประเวณี แมวารัฐจะเรงปองกันและปราบปรามก็ตาม แตก็ไมทําใหปญหาดังกลาวนอยลงแตอยางใด เนื่องจากการคาประเวณีมักจะแฝงอยูในสังคมไทย ทําใหการปราบปรามใหปญหาดังกลาวหมดส้ินไปทําไดยาก การคาประเวณีเด็ก เปนปญหาสําคัญที่รัฐใหความสนใจและเรงแกปญหา เด็กท่ีถูกนํามาคาประเวณีอาจเกิดจากความสมัครใจเอง หรือถูกหลอกลวง หรือถูกบังคับมาคาประเวณี แตจะดวยเหตุใดก็ตาม เด็กก็ตกเปนเหย่ือของการคามนุษยอยางหลีกเล่ียงไมได ดังนั้น เด็กที่ตกเปนเหย่ือของการคามนุษยจึงเปนผูเสียหายและเปนผูท่ีพึงไดรับการสงเคราะห หรือผูที่พึงไดรับการคุมครองสวัสดิภาพตามพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ.2546 ซึ่งผูศึกษาพบวาเด็กที่อยูในกลุมเดียวกันนอกจากจะชักจูง บังคับ ขูเข็ญเด็กคนอื่นใหทําการคาประเวณีแลว เด็กคนดังกลาวยังเปนผูคาประเวณีเองดวย เด็กที่กระทําการเชนนี้ หากถูกจับกุมดําเนินคดีและถูกฟองเปนจําเลย ในสายตาของเจาหนาท่ีสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย เด็กเหลานี้ยังเปนผูเสียหายและเปนเด็กที่พึงไดรับการสงเคราะห หรือเด็กที่พึงไดรับการคุมครองสวัสดิภาพตามมาตรา 32 และมาตรา 40 แหงพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ.2546 หากเด็กเหลานั้นถูกฟองและตกเปนจําเลยก็จะตองเขาสูกระบวนการพิจารณาของศาลเยาวชนและครอบครัว ในที่สุดแลวหากศาลพิพากษาวาเด็กเหลานี้กระทําความผิด ศาลก็อาจใชมาตรการพิเศษแทนการลงโทษตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553 มาตรา 90 และมาตรา 132 หรือพิพากษาลงโทษจําคุกแลวเปล่ียนโทษจําคุกเปนสงตัวไปฝกอบรมตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553 มาตรา 142 แทนท่ีจะสงตัวเด็กเขารับการบําบัดฟนฟูในสถานคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหายจากการคามนุษยซึ่งเปนหนวยงานที่จัดตั้งขึ้นเพ่ือบําบัดฟนฟูผูเสียหายจากการคามนุษยโดยเฉพาะ ทําใหกระบวนการฟนฟูเด็กที่กระทําความผิดเกี่ยวกับการคาประเวณีไมไดเปนไปตามวัตถุประสงคและเจตนารมณที่มุงจะใหการสงเคราะหเด็กตามพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ.2546 อีกทั้งการเรียกคาสินไหมทดแทนตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ.2551 มาตรา 35 กําหนดวา ในกรณีที่ผูเสียหายมีสิทธิและประสงคที่จะเรียกคาสินไหมทดแทนอันเนื่องมาจากการกระทําความผิดฐานคามนุษย ใหพนักงานอัยการเรียกคาสินไหมทดแทนแทนผูเสียหาย ตามที่ไดรับแจงจากปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยหรือผูที่ไดรับมอบหมาย ในคดีท่ีจําเลยเปนเด็กหรือเยาวชน หากผูเสียหายมีสิทธิและ

Page 46: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

39

ประสงคที่จะเรียกคาสินไหมทดแทน และพนักงานอัยการย่ืนคํารองแทนผูเสียหาย หากคดีใดผูปกครองยินยอมชําระแทนเด็กหรือเยาวชนเต็มจํานวนที่พนักงานอัยการย่ืนคํารองยอมไมมีปญหาในคดีสวนแพง หากผูปกครองจําเลยไมมีเงินที่จะชําระ แตอยากจะทําสัญญาประนีประนอมยอมความเพ่ือผอนชําระใครจะเปนผูทําสัญญาประนีประนอมยอมความและสัญญาประนปีระนอมยอมความผูกพันใคร เพราะเมื่อจะตองบังคับคดีเอากับเด็กหรือเยาวชนโดยสวนมากก็มักจะไมเปนผลเนื่องจากเด็กหรือเยาวชนไมมีทรัพยสินท่ีจะนําเขาสูกระบวนการบังคับคดีหรือหากผูปกครองจําเลยไมไดทําสัญญาประนีประนอมยอมความ ตอมาศาลพิพากษาลงโทษจําเลยและใหจําเลยชดใชคาสินไหมทดแทนและคาเสียหายเพ่ือการลงโทษแกผูเสียหาย จึงเปนปญหาทําใหผูเสียหายไมไดรับชดใชคาสินไหมทดแทนตามที่พนักงานอัยการย่ืนคํารองเรียกคาสินไหมทดแทนแทนผูเสียหาย และยังพบปญหาในทางปฏิบัติเกี่ยวกับการบังคับคดีกรณีท่ีศาลพิพากษาใหทรัพยสินที่เกี่ยวกับการกระทําผิดตกเปนของแผนดินตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 ทําใหผูเสียหายจากการคามนุษยไมสามารถบังคับคดีเอาแกทรัพยสินของจําเลยได

5.2 ขอเสนอแนะ 5.2.1 การสงเด็กที่กระทําความผิดฐานคามนุษยและเด็กอยูในขายคาประเวณีหรือเคยคาประเวณีดวยใหเขารับการสงเคราะหในสถานคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหายจากการคามนษุย (บานสองแคว) จังหวัดพิษณุโลก ตามมาตรา 33 แหงพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ.2546 นั้น ตองเปนเด็กที่พึงไดรับการสงเคราะหตามมาตรา 32 หรือเด็กที่พึงไดรับการคุมครองสวัสดิภาพตามมาตรา 40 แตเมื่อเด็กถูกฟองเปนจําเลย และไดความจากพนักงานเจาหนาท่ีหรือเจาหนาที่ผูมีหนาที่คุมครองสวัสดิภาพจากการคัดแยกเหย่ือและสืบคนขอเท็จจริงวา จําเลยคาประเวณีหรือเคยคาประเวณี เด็กเส่ียงตอการกระทําความผิดหรือคาประเวณีตอไป แตพนักงานเจาหนาที่หรือเจาหนาที่ผูมีหนาท่ีคุมครองสวัสดิภาพไมสามารถสงเด็กเขารับการสงเคราะหยังสถานคุมครองดังกลาวไดเนื่องจากเด็กอยูในอํานาจศาล ดังนั้น จึงเห็นควรนําบทบัญญัติมาตรา 132 วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553 มาปรับใช ซึ่งบทบัญญัติดังกลาว ใหอํานาจศาลสงเด็กหรือเยาวชนไปยังสถานที่ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายและตามที่ศาลเห็นสมควรที่ยินยอมรับตัวเด็กหรือเยาวชนไว เนื่องจากสถานคุมครองดังกลาวจะรับการบําบัดฟนฟูเฉพาะแกผูเสียหายจากการคามนุษยเทานั้น หากศาลเห็นวาตามพฤติการณแหงคดียังไมสมควรมีคําพิพากษา ศาลยอมสงเด็กที่เส่ียงตอการกระทําผิดหรือเด็กที่อยูในสภาพท่ีจําตองไดรับการคุมครองสวัสดิภาพตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวงตามมาตรา 40 (2) (3) โดยอาศัยขอเท็จจริงจากการคัดแยกเหย่ือและสืบคนขอเท็จจริงดังกลาวใหเด็กเขารับการสงเคราะหยังสถานคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหายจากการคามนุษย (บานสองแคว) จังหวัดพิษณุโลก ได 5.2.2 การพิจารณาพิพากษาคดีหรือมีคําส่ังควรมีกฎหมายบัญญัติใหอํานาจดําเนนิคดีกับผูปกครองของเด็กหรือเยาวชนท่ีกระทําความผิดและถูกฟองในความผิดฐานคามนุษยดวย ควรแกไขเพ่ิมเติมบทบัญญัติของกฎหมายตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธี

Page 47: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

40

พิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553 มาตรา 10 โดยเพ่ิมเติม (6) วา “ศาลเยาวชนและครอบครัวมีอํานาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคําส่ังดังตอไปนี้...(6) คดีแพงท่ีเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา กรณีบิดามารดา ผูปกครองของจําเลยที่เปนเด็กหรือเยาวชน” 5.2.3 ในการพิจารณาคดีสวนแพง ควรมีกฎหมายใหอํานาจศาลเรียกบิดามารดา ผูปกครองเขามาเปนจําเลยรวมในคดีสวนแพงดวย ควรมีการแกไขเพ่ิมเติมบทบัญญัติพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553 ในหมวด 10 โดยเพ่ิมเติมบทบัญญัติมาตรา 111/1 วา “ในการพิจารณาพิพากษาคดีแพงที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา ใหศาลที่มีอํานาจพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัวมีอํานาจเรียกบิดามารดา ผูปกครองเขามารวมเปนจําเลยกับเด็กหรือเยาวชนได” โดยไมจําตองใชวิธีการรองสอดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 57 สวนบิดามารดา ผูปกครองของจําเลยมีขอตอสูอยางไรใหพิจารณาตามบทบัญญัติมาตรา 429 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย 5.2.4 ในการพิพากษาคดีสวนแพง หรือหากมีการทําสัญญาประนีประนอมยอมความกัน ควรใหมีผลผูกพันบิดามารดา ผูปกครองของเด็กหรือเยาวชนท้ังผูเสียหายและจําเลย เพ่ือใหสามารถบังคับคดีเอาจากบิดามารดา ผูปกครองได ควรมีการแกไขเพ่ิมเติมบทบัญญัติพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553 ในหมวด 11 โดยเพ่ิมเติมบทบัญญัติมาตรา 133/1 วรรคหนึ่ง “คําพิพากษาในสวนเรียกคาสินไหมทดแทนหรือคาเสียหาย ใหรวมเปนสวนหนึ่งแหงคําพิพากษาในคดีอาญา” วรรคสอง “ใหบิดามารดา ผูปกครองมีอํานาจทําสัญญาประนีประนอมยอมความแทนเด็กหรือเยาวชน และมีผลผูกพันบิดามารดา ผูปกครองรวมกับเด็กหรือเยาวชน” 5.2.5 เมื่อศาลพิพากษาให จําเลยชดใชคาสินไหมทดแทนแก ผู เ สียหายตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ.2551 มาตรา 35 หรือพิพากษาใหจําเลยจายคาเสียหายเพ่ือการลงโทษตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีคามนุษย พ.ศ.2559 มาตรา 14 แตในขณะเดียวกันศาลพิพากษาใหทรัพยสินที่เกี่ยวกับการกระทําความผิดตกเปนของแผนดินเปนอีกคดีหนึ่ง ทรัพยสินที่ผูกระทําความผิดฐานคามนุษยสวนใหญไดมาจากการกระทําความผิด มิใชทรัพยสินที่ตองคืนหรือชดใชคืนแกผูเสียหายตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 มาตรา 49 วรรคทาย ทําใหจําเลยไมมีทรัพยสินที่ผูเสียหายจะบังคับชําระคาสินไหมทดแทนและคาเสียหายเพ่ือการลงโทษตามบทบัญญัติดังกลาวได เห็นควรใหมีการแกไขกฎหมายใหผูเสียหายมีสิทธิบังคับเอาแกทรัพยสินดังกลาวกอน สวนท่ีเหลือจึงใหตกเปนของแผนดิน มิเชนนั้นบทบัญญัติทั้งสองมาตราดังกลาวอาจเปนหมัน 5.2.6 ควรจัดใหมีการอบรมบุคลากรหนวยงานท่ีเกี่ยวของทุกสวนท่ีมีอํานาจหนาที่บังคับใชกฎหมายเกี่ยวกับการคามนุษยและกฎหมายคุมครองเด็ก เพ่ือเพ่ิมพูนความรูความเขาใจและมีการแลกเปล่ียนประสบการณในการปฏิบัติหนาท่ี รวมท้ังหาแนวทางรวมกันในการปองกันและปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับการคามนุษยโดยเฉพาะการคาประเวณีเด็ก ตระหนัก

Page 48: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

41

ถึงสิทธิเด็กและใหการสงเคราะหเด็กตามเจตนารมณของกฎหมายคุมครองเด็ก ทั้งนี้เพ่ือใหเกิดความชํานาญในการปฏิบัติหนาท่ี 5.2.7. ควรใหหนวยงานที่เกี่ยวของ รวมทั้งศาลใหความรูเกี่ยวกับการคามนุษยโดยเฉพาะอยางย่ิงการคาประเวณีเด็กใหแกชุมชนตางๆ เพ่ือใหบิดามารดา ผูปกครองเด็กหรือเยาวชนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับกฎหมายดังกลาว ทั้งนี้ เพ่ือเปนภูมิคุมกันมิใหเด็กหรือเยาวชนตกเปนเหย่ือของการคามนุษยหรือเปนผูกระทําความผิดฐานคามนุษยเสียเอง

Page 49: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

42

บรรณานุกรม หนังสือ คณิต ณ นคร. (2553). ประมวลกฎหมายอาญา : หลักกฎหมายและพ้ืนฐานการเขาใจ พิมพครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : วิญูชน. วรวทิย ฤทธิทศิ (2548) หลักกฎหมายการดําเนินคดีในศาลเยาวชนและครอบครวั กรุงเทพฯ : วิญชูน. วิทยานิพนธ สุดจิต เจนนพกาญจน. (2546). กระบวนทัศนในการพัฒนากระบวนการยุติธรรมสําหรับเด็กและ เยาวชนไทย ว ิทยาน ิพนธ สาขาการบริหารสังคม คณะสังคมสงเคราะห กรุงเทพฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. บทความ การแกไขเด็กกระทําความผิด. เอกสารเผยแพรกิจการศาลเด็กและเยาวชน พ.ศ.2507. หนา 1 จิตติมา ธงไชย. (2553). รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 : ศึกษาเฉพาะ กรณีการคุมครองผูเสียหายและพยานที่เปนเด็กในการสอบสวน. หนา 2-3. ดุษฎี หลีละเมียร, “ศาลเยาวชนและครอบครวักบัความเปนศาลชํานัญพิเศษ,” บทบัญฑิตย 56 (ธันวาคม 2543) : 173-174.

พิชญา เหลืองรตันเจริญ. (2556). กระบวนการยุตธิรรมสําหรบัเด็กและเยาวชนที่ถกูกลาวหาวา กระทําความผิด Judicial Process for the Juvenile Accused. ดุลพาห เลมท่ี 2 ปท่ี 60 พฤษภาคม-สิงหาคม 2556 หนา 174-191. วัชรนิทร ปจเจกวญิูสกุล, “มาตรฐานการปฏิบตัิตอเดก็ที่ถูกกลาวหาวากระทําความผิดตาม อนุสัญญาวาดวยสิทธเิด็ก,” ดุลพาห 5, 41 (กันยายน-ตลุาคม) : 19.

Page 50: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

43

สถาบันวิจัยและใหคําปรึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. (2549). “ศึกษาความเปนไปไดในการกําหนด ช้ันโทษและการนาํไปปรับใชในประมวลกฎหมายอาญา” งานวิจัยสืบคนเมื่อวันท่ี 15 มิถุนายน พ.ศ.2555 หนา 1-8. ระเบียบขอบังคับ ระเบียบกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยวาดวยการใหความชวยเหลือแก บุคคล สื่ออินเทอรเน็ต ดร.กิตติศักดิ์ เจิมสิทธิประเสริฐ และคนอื่นๆ. (2558) โครงการวิจัยเรื่อง “การคาประเวณีหญิง จากประเทศในแถบอนุภูมิภาคลุมน้ําโขงในประเทศไทย” (Modern Slavery : Inside the besiness of sex trade of GMS women enteringintoThailand.[ออนไลน]. เขาถึงไดจากwww.tijthailand.org/useruploades/files/research_modern_slavery pdf (วันที่คนขอมูล : 29 กรกฎาคม 2560)

Page 51: 16 . 2560 - storage.googleapis.com

44

ประวัติผูศึกษา

ชื่อ – นามสกุล พิทักฐ รัตนเดชากร ตําแหนงปจจุบัน ผูพิพากษาหัวหนาคณะชัน้ตนในศาลเยาวชนและครอบครัว จังหวดัแพร คุณวุฒิการศึกษา นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคาํแหง นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง เนติบัณฑิตไทย สํานักอบรมศึกษากฎหมายแหงเนติบัณฑิตยสภา สมัยที่ 45 ประสบการณการทํางาน พ.ศ.2542 – 2544 ผูชวยผูพิพากษา – ผูพิพากษาประจํา สํานักงานศาลยุติธรรมชวยราชการใน ตําแหนงผูพิพากษาศาลจังหวัดเชียงใหม พ.ศ.2544 – 2549 ผูพิพากษาศาลจังหวัดฝาง พ.ศ.2549 – 2554 ผูพิพากษาศาลจังหวัดพะเยา พ.ศ.2554 – 2556 ผูพิพากษาศาลจังหวัดแพร พ.ศ.2556 – 2557 ผูพิพากษารองหัวหนาศาลเยาวชนและ ครอบครัวจังหวัดนราธิวาส พ.ศ.2557 – 2558 ผูพิพากษารองหัวหนาศาลเยาวชนและ ครอบครัวจังหวัดลําปาง พ.ศ.2558 – 2560 ผูพิพากษาหัวหนาคณะชั้นตนในศาล จังหวัดลําปาง พ.ศ.2560 – ปจจุบัน ผูพิพากษาหัวหนาคณะชั้นตนในศาล เยาวชนและครอบครัวจังหวัดแพร

---------------------------------------------------------------