Download - ไบโอดีเซล (Biodiesel)

Transcript
Page 1: ไบโอดีเซล (Biodiesel)

ไบโอดีเซล (Biodiesel)

โครงการ การจัดทําระบบฐานขอมูลพลังงานเพือ่การวิเคราะหและ

วางแผนยุทธศาสตรพลังงานของประเทศ

Page 2: ไบโอดีเซล (Biodiesel)

สารบัญ

บทท่ี 1 ไบโอดีเซล (BIODIESEL)............................................................................................................. 1

1.1) ความเปนมาของไบโอดีเซล ...........................................................................................................1 1.2) ไบโอดีเซลในประเทศไทย .............................................................................................................3 1.3) ศักยภาพของไบโอดีเซลจากปาลมน้ํามันในประเทศไทย ...............................................................3 1.4) คุณสมบัติของไบโอดีเซล...............................................................................................................6 1.5) ประเภทของไบโอดีเซล..................................................................................................................6 1.6) ขั้นตอนการผลิต .............................................................................................................................8 1.7) มาตรฐานคุณภาพ ...........................................................................................................................8 1.8) ขอแตกตางระหวางไบโอดเีซลกับน้ํามันดเีซล ...............................................................................8 1.9) เทคโนโลยีการผลิตไบโอดีเซล.......................................................................................................8 1.10) ประโยชนของการใชไบโอดีเซล ...............................................................................................9 1.11) ผลกระทบของไบโอดีเซลที่มีตอเครื่องยนต ............................................................................11 1.12) อนาคตของไบโอดีเซล.............................................................................................................11 1.13) สรุปเกี่ยวกับไบโอดีเซล ...............................................................................................................13

เอกสารอางอิง ................................................................................................................................................. 14

จัดทําโดย …………………………………...……………………………………………………………...15

Page 3: ไบโอดีเซล (Biodiesel)

สารบัญรูป รูปที่ 1.1 โครงสรางของกลีไตรเซอไรด ...........................................................................................................1 รูปที่ 1.2 ผังกระบวนการผลิตไบโอดีเซล .........................................................................................................8 รูปที่ 1.3 ชุดตนแบบการผลิตไบโอดีเซลแบบตอเนื่อง .....................................................................................9

Page 4: ไบโอดีเซล (Biodiesel)

สารบัญตาราง ตารางที่ 1.1 ขอกําหนดคุณสมบัติของไบโอดีเซลและวธกีารตรวจสอบ .........................................................2 ตารางที่ 1.2 เปรียบเทียบคณุสมบัติของไบโอดีเซลจากน้ํามันพืชชนดิตางๆ....................................................6

Page 5: ไบโอดีเซล (Biodiesel)

E-learning โครงการ จัดทําระบบฐานขอมูลพลังงานเพื่อการวิเคราะหและวางแผนยุทธศาสตรพลังงานของประเทศ

บทท่ี 1

1.1)

ไบโอดีเซล (Biodiesel)

ความเปนมาของไบโอดีเซล

ไบดีเซลเปนที่รูจักมานานแลวในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 อาฟริกาใตใชน้ํามันพืชขับเคล่ือนเครื่องยนตแตในชวงนั้นน้ํามันปโตรเลียมยังหางายและราคาถูก จึงไมไดรับความสนใจ จนในป 2513 เกิดวิกฤติการณน้ํามัน หนวยงานในภาครัฐรวมทั้งสถาบันตางๆของกลุมประเทศผูใชน้ํามันจึงไดทําการวิจัยและพัฒนาเชื้อเพลิงชนิดนี้ จนกระทั่งผลิตในเชิงพานิชยได ไบโอดีเซลเปนพลังงานทดแทนจากนํามันพืชเพื่อใชทดแทนนํามันดีเซล มีช่ือทางเคมีคือ เอสเทอร (ESTER) โดยการเรียกชื่อจะขึ้นอยูกับชนิดของแอลกอฮอล ที่ใชในการทําปฏิกิริยา เชน เมทิลเอสเทอร (เมื่อใชเมทิลแอกอฮอลในการทําปฏิกิริยา) เปนตน ปฺฏิกิริยาเพื่อใหไดสารเอสเทอร มี 2 กระบวนการดวยกนั ไดแก

• Esterification ซ่ึงเปนกระบวนการที่ใชกรด เปนสารเรงปฏิกิริยา

• Transesterification ซ่ึงเปนปฏิกิริยาที่ใชดางเปนสารเรงปฏิกิริยา กระบวณการทางเคมีเพื่อเปล่ียนใหมีสมบัติใกลเคียงกับน้ํามันดีเซล คือ ปฏิกิริยาทรานเอสเทอริฟเคชัน (Transesterification) ของกลีไตรเซอไรด (Triglyceride) ที่มีอยูในน้ํามันพืชและน้ํามันสัตวกับเอทานอลหรือเมทานอล โดยกรดหรือเบสเปนตัวเรงปฏิกิริยาภายใตอุณหภูมิสูง เพื่อเปล่ียนโครงสรางของกลีไตรเซอไรดใหอยูในรูปของเอทิลเอสเทอร (Ethyl ester) หรือเมทิลเอสเทอร (Methyl ester)

รูปที่ 1.1 โครงสรางของกลีไตรเซอไรด

การเรียกชื่อ ขึ้นกับชนิดของแอลกอฮอลที่ใชในการทําปฏิกิริยา เชน เมทิลเอสเทอร เปนเอสาเทอรที่ไดจากการใชเมทานอลเปนสารในการทําปฏิกิริยา หรือ เอทิลเอสเทอร เปนเอสาเทอรที่ไดจากการใชเอทานอล เปนสารในการทําปฏิกิริยา เปนตน ไบโอดีเซลโดยทั่วไปหมายถึงไบโอดีเซลบริสุทธิ์ จะใชสัญลักษณ B100 หมายถึงน้ํามันเชื้อเพลิงที่มีไบโอดีเซลอยางเดียว แตถาเปนไบโอดีเซลผสมจะใชสัญลักษณ BXX หมายถึงเชื้อเพลิงที่ประกอบดวยไบ

สถานบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน มหาวิทยาลัยเชยีงใหม (website :- www.erdi.or.th) รวมกับ สํานักนโยบายและแผนยุทยธศาสตร สํานักปลัดกระทรวงพลังงาน กระทรวงพลังงาน (website :- www.energy.go.th)

1

Page 6: ไบโอดีเซล (Biodiesel)

E-learning โครงการ จัดทําระบบฐานขอมูลพลังงานเพื่อการวิเคราะหและวางแผนยุทธศาสตรพลังงานของประเทศ

โอดีเซลรอยละ XX และดีเซลรอยละ 100-XX เชน B20 หมายถึงน้ํามันเชื้อเพลิงที่ประกอบดวยไบโอดีเซลรอยละ 20 ผสมกับน้ํามันดีเซลรอยละ 80 การกําหนดมาตรฐานและวิธีการตรวจสอบคุณสมบัติตางๆของไบโอดีเซลเพื่อเปนการควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑไบโอดีเซลประเภทเมทิลเอสเทอรของกรดไขมันลวนหรือไบโอดีเซลชนิด B100ดังแสดงในตารางที่ 1.1

ตารางที่ 1.1 ขอกําหนดคุณสมบัติของไบโอดีเซลและวธกีารตรวจสอบ

สถานบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน มหาวิทยาลัยเชยีงใหม (website :- www.erdi.or.th) รวมกับ สํานักนโยบายและแผนยุทยธศาสตร สํานักปลัดกระทรวงพลังงาน กระทรวงพลังงาน (website :- www.energy.go.th)

2

Page 7: ไบโอดีเซล (Biodiesel)

E-learning โครงการ จัดทําระบบฐานขอมูลพลังงานเพื่อการวิเคราะหและวางแผนยุทธศาสตรพลังงานของประเทศ

1.2)

1.3)

ไบโอดีเซลในประเทศไทย

สําหรับประเทศไทยเริ่มมีการวิจัยประมาณ พ.ศ. 2524 โดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วท.) ศึกษาวิจัยการใชน้ํามันถ่ัวเหลืองและเอสเทอรของน้ํามันปาลมมาเปนพลังงานทดแทนผลการวิจัยพบวาน้ํามันถ่ัวเหลืองมีความหนืดสูงทําใหเครื่องยนตติดยาก สะดุด การสันดาปไมสมบูรณ และมีตระกรันขาวในถังน้ํามันมาก ตอมามีการทดลองใชเอสเทอรของน้ํามันปาลมที่เรียกวา FAME (Fatty acid Methyl Ester) กับเครื่องยนตดีเซล พบวาน้ํามันที่ไดมีความหนืดใกลเคียงกับน้ํามันดีเซล และในป พ.ศ. 2543 เกิดวิกฤตการณน้ํามัน ทําใหประเทศไทยเริ่มตื่นตัวและวิจัยเรื่องพลังงานทดแทนอีกครั้ง และ พ.ศ. 2544 ชาวบานอําเอทับสะแก รวมมือกันพัฒนาและผลิตไบโอดีเซลดวยมะพราวเปนผลสําเร็จสามารถเปดสถานีจําหนายน้ํามันไบโอดีเซลเปนแหงแรกในประเทศไทย และจําหนายใหแกเกษตรกรเพื่อใชทดแทนน้ํามัน ศักยภาพของไบโอดีเซลในประเทศไทย วัตถุดิบที่มีศักยภาพในการผลิตไบโอดีเซลในประเทศไทยไดแก น้ํามันพืชใชแลว และน้ํามันพืชสกัดใหมอีก 8 ชนิด

• น้ํามันปาลม

• น้ํามันมะพราว

• น้ํามันถ่ัวเหลือง

• น้ํามันถ่ัวลิสง

• น้ํามันละหุง

• น้ํามันงา

• น้ํามันเมล็ดทานตะวัน

• น้ํามันสบูดํา วัตถุดิบหลักของไบโอดีเซล ไดแก ปาลมน้ํามัน เนื่องจากปาลมน้ํามันเปนพืชที่มีศักยภาพในการแขงขันสูงกวาพืชน้ํามันชนิดอื่น ทั้งดานการผลิตและการตลาด คือ มีตนทุนการผลิตและราคาต่ํากวาน้ํามันพืชชนิดอื่น นอกจากนี้ปาลมยังสามารถนําไปใชประโยชนไดอยางหลากหลายทั้งในสินคาอุปโภคและบริโภค

ศักยภาพของไบโอดีเซลจากปาลมน้ํามนัในประเทศไทย

ในปจจุบันสามารถผลิตไบโอดีเซล 500,000 ลิตร/วัน จากน้ํามันปาลมที่เหลือจากการบริโภคในประเทศ และโรงงานสกัดน้ํามันปาลมดิบสามารถรองรับการเพิ่มขึ้นของผลปาลมดิบไดเกือบสองเทา เนื่องจาก กําลังการผลิตรวมของโรงงานสกัดน้ํามันปาลมดิบทั้งสิ้น 10.81 ลานตันผลปาลมสดตอป เมื่อเทียบกับวัตถุดิบ โรงงานสกัดน้ํามันปาลมดิบจะมีกําลังผลิตสวนเกินรอยละ 50 ในป 2555 จะสามารถผลิตไบโอดีเซลไดถึง 8.5 เนื่องจาก ในป 2551 พื้นที่ปลูกปาลมน้ํามันสามารถขยายอีก 10 ลานไร นอกจากนี้ ยังมีปาลมสเตียรินซึ่งเปนผลพลอยไดจากการกลั่นน้ํามันปาลม ซ่ึงสามารถ

สถานบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน มหาวิทยาลัยเชยีงใหม (website :- www.erdi.or.th) รวมกับ สํานักนโยบายและแผนยุทยธศาสตร สํานักปลัดกระทรวงพลังงาน กระทรวงพลังงาน (website :- www.energy.go.th)

3

Page 8: ไบโอดีเซล (Biodiesel)

E-learning โครงการ จัดทําระบบฐานขอมูลพลังงานเพื่อการวิเคราะหและวางแผนยุทธศาสตรพลังงานของประเทศ

นํามาผลิตไบโอดีเซลไดอีก แตปาลมน้ํามันเปนพืชที่ตองการน้ําและสารอาหารมาก จึงเหมาะกับสภาพภูมิอากาศทางภาคใตเทานั้น

รายช่ือและสถานะภาพไบโอดีเซลระดับชุมชนแสดงตามรายภาคมีรายละเอียดังตอไปนี้ ภาคเหนือ ลําดับที่ ชุมชน ตําบล อําเภอ จังหวัด วัตถุดิบ อนุมัติ ตดิตัง้แลว

1 ชุมชนเกษตรทฤษฎีใหมและอนุรักษส่ิงแวดลอม เนินมะปราง เนินมะปราง พิษณุโลก น้ํามันพืชใชแลว

2 ชุมชนทาตะโก หนองหลวง ทาตะโก นครสวรรค สบูดํา/น้ํามันพืชใชแลว

3 เครือขายเกษตรกร อ.แมสรวย เจดียหลวง แมสรวย เชียงราย สบูดํา/น้ํามันพืชใชแลว

4 เครือขายเกษตรกร อ.พาน สันติสุข พาน เชียงราย สบูดํา/น้ํามันพืชใชแลว

5 เครือขายเกษตรกร อ.เวียงชัย ดอนศิลา เวียงชัย เชียงราย สบูดํา/น้ํามันพืชใชแลว

6 เครือขายชุมชนรักษปาตนนํ้าลาว แมเจดียใหญ เวียงปาเปา เชียงราย สบูดํา/น้ํามันพืชใชแลว

7 ศูนยฝกอบรมมอนแสงดาว ดอยลาน เมือง เชียงราย สบูดํา/น้ํามันพืชใชแลว

8 ชุมชนทัพมาน เวียง เชียงแสน เชียงราย น้ํามันพืชใชแลว

9 ศูนยศึกษาการพัฒนาหวยฮองไครอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ดอยสะเก็ด เชียงใหม สบูดํา/น้ํามันพืชใชแลว

10 กองการสัตวและเกษตรกรรมท่ี 3 กรมการสัตวทหารบก แมสา แมริม เชียงใหม น้ํามันพืชใชแลว

11 ชุมชนบานสันปาหมากใต ศรีดอนชุม ดอกคําใต พะเยา น้ํามันพืชใชแลว

12 อบต.บานสาง บานสาง เมือง พะเยา น้ํามันพืชใชแลว

13 เทศบาลตําบลอุโมงค อุโมงค เมือง ลําพูน น้ํามันพืชใชแลว

14 ไฟฟาพลังนํ้าผาบอง เมือง แมฮองสอน สบูดํา/น้ํามันพืชใชแลว

15 ศูนยสาธิต อุทัยธานี อุทัยเกา หนองฉาง อุทัยธานี สบูดํา/น้ํามันพืชใชแลว

16 วิสาหกิจชุมชน ต.คอกควาย คอกควาย บานไร อุทัยธานี สบูดํา/น้ํามันพืชใชแลว

17 ชุมชนอําเภอบานโคก บานโคก บานโคก อุตรดิตถ สบูดํา/น้ํามันพืชใชแลว

18 กลุมวิสาหกิจชุมชนแมสอด-แมระมาด แมสอด ตาก น้ํามันพืชใชแลว ภาคกลาง ลําดับท่ี ชุมชน ตําบล อําเภอ จังหวัด วัตถุดิบ อนุมัติ ตดิตัง้แลว

1 วัดเสือ ศรีประจันต สุพรรณบุรี สบูดํา/นํ้ามันพืชใชแลว

2 อบต.เขาดิน เขาดิน เดิมนางบวช สุพรรณบุรี สบูดํา/นํ้ามันพืชใชแลว

3 ชุมชนเกษตรทฤษฎีใหม โคกแฝด หนองจอก กรุงเทพฯ นํ้ามันพืชใชแลว

4 วชิราวุธวิทยาลัย ดุสิต กรุงเทพฯ นํ้ามันพืชใชแลว

5 ชุมชนบานหนองกระทุม หนองกุม บอพลอย กาญจนบุรี นํ้ามันพืชใชแลว

6 ชุมชนสัจจะสะสมทรัพยผูเล้ียงสัตวนํ้า แพรกหนามแดง อัมพวา สมุทรสงคราม น้ํามันพืชใชแลว

7 ศูนยศึกษาการพัฒนาหวยทรายอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ สามพระยา ชะอํา เพชรบุรี สบูดํา/นํ้ามันพืชใชแลว

8 ศูนยการพัฒนาการเกษตรเบ็ดเสร็จ เมือง นครนายก สบูดํา/นํ้ามันพืชใชแลว

9 สหกรณการเกษตรบานแพว บานแพว สมุทรสาคร น้ํามันพืชใชแลว

10 เฉลิมพระเกียรติ พุแค เฉลิมพระเกียรติ สระบุรี นํ้ามันพืชใชแลว

11 ชุมชนบานกลาง มวงงาม เสาไห สระบุรี นํ้ามันพืชใชแลว

12 ชุมชนปอมเพชร หอรัตนไชย เมือง อยุธยา นํ้ามันพืชใชแลว

13 ชุมชนอนุรักษแมนํ้าปราจีนบุรี ทางาม เมือง ปราจีนบุรี นํ้ามันพืชใชแลว

14 ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา สบูดํา/นํ้ามันพืชใชแลว

15 คายธฯรัตน (โครงการพระราชดําริปาหาดทรายใหญ) ประจวบคีรีขันต นํ้ามันพืชใชแลว

สถานบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน มหาวิทยาลัยเชยีงใหม (website :- www.erdi.or.th) รวมกับ สํานักนโยบายและแผนยุทยธศาสตร สํานักปลัดกระทรวงพลังงาน กระทรวงพลังงาน (website :- www.energy.go.th)

4

Page 9: ไบโอดีเซล (Biodiesel)

E-learning โครงการ จัดทําระบบฐานขอมูลพลังงานเพื่อการวิเคราะหและวางแผนยุทธศาสตรพลังงานของประเทศ

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ลําดับท่ี ชุมชน ตําบล อําเภอ จังหวัด วัตถุดิบ อนุมัติ ตดิตัง้แลว

1 สหกรณการเกษตร อ.นาหวา นาหวา นครพนม สบูดํา/นํ้ามันพืชใชแลว

2 ศูนยอินแปง กุดบาก กุดบาก สกลนคร สบูดํา/นํ้ามันพืชใชแลว

3 ศูนยศึกษาการพัฒนาภูพานอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ ภูพาน สกลนคร สบูดํา/นํ้ามันพืชใชแลว

4 กลุมอนุรักษส่ิงแวดลอม ภูคุมขาว สหัสขนัธ กาฬสินธุ สบูดํา/นํ้ามันพืชใชแลว

5 หมูบานดงสวนพัฒนา นาทัน คํามวง กาฬสินธุ สบูดํา/นํ้ามันพืชใชแลว

6 ชุมชนกลุมสามัคคีชาวนา สามัคคี รองคํา กาฬสินธุ นํ้ามันพืชใชแลว

7 ศูนยการบริการและถายทอดเทคโนโลยีการเกษตร บานดุง อุดรธานี สบูดํา/นํ้ามันพืชใชแลว

8 กลุมเกษตรทํานา ชีทวน ชีทวน เขื่องใน อุบลราชธานี สบูดํา/นํ้ามันพืชใชแลว

9 ชุมชนบะขาม ในเมือง เมือง ขอนแกน นํ้ามันพืชใชแลว

10 โรงเรียนบัวหลวงวิทยาคม เมือง บุรีรัมย นํ้ามันพืชใชแลว

11 ศูนยการเรียนรูและพัฒนาอาชีพบานแทน บานแทน ชัยภูมิ นํ้ามันพืชใชแลว

12 ศูนยศึกษาการพัฒนาของชาวบาน วังนํ้าเขียว วังนํ้าเขียว นครราชสีมา สบูดํา/นํ้ามันพืชใชแลว

13 กลุมเกษตรกร ต.ทัพร้ัง พระทองคํา(กิ่ง) นครราชสีมา นํ้ามันพืชใชแลว

14 กลุมเกษตรกร ต.บานเกา ดานขุนทด นครราชสีมา นํ้ามันพืชใชแลว

15 สหกรณกรเกษตรคงสามัคคี เมืองคง คง นครราชสีมา นํ้ามันพืชใชแลว

16 ชุมชน ต.กลางดง กลางดง ปากชอง นครราชสีมา นํ้ามันพืชใชแลว

17 ชุมชนบานไชยมงคล เมือง นครราชสีมา นํ้ามันพืชใชแลว ภาคใต ลําดับท่ี ชุมชน ตําบล อําเภอ จังหวัด วัตถุดิบ อนุมัติ ตดิตัง้แลว

1 ชุมชนสหกรณการเกษตรดอนยาง ดอนายาง ปะทิว ชุมพร น้ํามันพืชใชแลว

2 กลุมเกษตรกร จ.ชุมพร ตากแดด เมือง ชุมพร ปาลม/น้ํามันพืชใชแลว

3 ศูนยศึกษาและพัฒนาชุมชนไมเรียง ฉวาง นครศรีธรรมราช น้ํามันพืชใชแลว

4 ชุมชนชองปาเทศบาลตําบลจันดี จันดี ฉวาง นครศรีธรรมราช น้ํามันพืชใชแลว

5 ชุมชนปากพนงั ปากพนงั นครศรีธรรมราช น้ํามันพืชใชแลว

6 กลุมพัฒนาการเกษตร การะเกด เชียรใหญ นครศรีธรรมราช สบูดํา/น้ํามันพืชใชแลว

7 ยานตาขาว นาชุมเห็ด ยานตาขาว ตรัง น้ํามันพืชใชแลว

8 อบจ.ตรัง เมือง ตรัง น้ํามันพืชใชแลว

9 ชุมชนในทอน กันตัง กันตัง ตรัง น้ํามันพืชใชแลว

10 ชุมชนบานสองพี่นอง คลองศก พนม สุราษฎรธานี น้ํามันพืชใชแลว

11 ชุมชนทาชนะ ประสงค ทาชนะ สุราษฎรธานี น้ํามันพืชใชแลว

12 กรมการพลังงานทหาร (กองบิน 7) สุราษฎรธานี สบูดํา/น้ํามันพืชใชแลว

13 เทศบาลตําบลตลาดไชยา เมือง สุราษฎรธานี สบูดํา/น้ํามันพืชใชแลว

14 ชุมชนขุนทะเลบางใหญ เมือง สุราษฎรธานี สบูดํา/น้ํามันพืชใชแลว

15 เทศบาล ต.กะรน กะรน เมือง ภูเก็ต น้ํามันพืชใชแลว

16 เทศบาลเมืองกระบี่ เมือง กระบ่ี น้ํามันพืชใชแลว

17 เทศบาลตําบลตลาดไชยา เมือง กระบ่ี น้ํามันพืชใชแลว

18 กองพลพัฒนาที่ 4 กรมการพลังงานทหาร คลองหอยโขง สงขลา น้ํามันพืชใชแลว

19 ชุมชน ศูนยสงเสริมวิสาหกิจชุมชน จ.สตูล ปาลมพัฒนา มะนงั สตูล น้ํามันพืชใชแลว

20 วิสาหกิจชุมชนพัทลุง เขาชัยสน เขาชัยสน พัทลุง น้ํามันพืชใชแลว ภาคตะวันออก ลําดับท่ี ชุมชน ตําบล อําเภอ จังหวัด วัตถุดิบ อนุมัติ ตดิตัง้แลว

1 วิสาหกิจชุมชนพลังงานทดแทนจากสบูดํา ทับมา เมือง ระยอง สบูดํา/นํ้ามันพืชใชแลว

2 ศูนยศึกษาการพัฒนาคุงกระเบนอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ ทาใหม จันทบุรี สบูดํา/นํ้ามันพืชใชแลว

สถานบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน มหาวิทยาลัยเชยีงใหม (website :- www.erdi.or.th) รวมกับ สํานักนโยบายและแผนยุทยธศาสตร สํานักปลัดกระทรวงพลังงาน กระทรวงพลังงาน (website :- www.energy.go.th)

5

Page 10: ไบโอดีเซล (Biodiesel)

E-learning โครงการ จัดทําระบบฐานขอมูลพลังงานเพื่อการวิเคราะหและวางแผนยุทธศาสตรพลังงานของประเทศ

1.4) คุณสมบัตขิองไบโอดีเซล

ตารางที่ 1.2 เปรียบเทียบคณุสมบัติของไบโอดีเซลจากน้ํามันพืชชนดิตางๆ

ที่มา : สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย

1.5) ประเภทของไบโอดีเซล

สามารถแบงตามประเภทของน้ํามันที่นํามาใชไดเปน 3 ประเภท

1.5.1) น้ํามันพชืหรือน้ํามันสตัว

ไบโอดีเซลประเภทนี้ก็คือน้ํามันพืชแทๆ (เชน น้ํามันมะพราว, น้ํามันปาลม, น้ํามันถ่ัวลิสง, น้ํามันถ่ัวเหลือง) หรือน้ํามันจากไขมันสัตว (เชน น้ํามันหมู) ซ่ึงสามารถเอามาใชไดเลยกับเครื่องยนตดีเซลโดยไมตองผสมหรือเติมสารเคมีอ่ืน หรือไมตองนํามาเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของน้ํามันใหเปลืองเวลา เปลืองทรัพยากรอีก น้ํามันพืชหรือสัตวมีปญหาคอนขางมาก เนื่องจากคุณสมบัติของมันตางกับดีเซลคอนขางมาก อยางที่กลาวมาแลวขางตน ก็เลยมีปญหาเรื่องการสันดาปไมสมบูรณ เครื่องสะดุด มีผลตอลูกสูบและวาลว มีตะกรันขาวอยูในถังน้ํามัน และหนืด ความหนืดสูงที่อุณหภูมิต่ําลงทําให จากที่สตารตไมคอยจะติดอยูแลวกลายเปนไมติดไปเลยในที่อากาศเย็นๆ แตมีขอดีก็คือมีราคาถูก พอใชไดกับเครื่องยนตรอบต่ํา แตก็ไมคอยนิยมใชกัน ไบโอดีเซลแบบลูกผสม ไบโอดีเซลชนิดนี้เปนลูกผสมระหวางน้ํามันพืช (หรือสัตว) กับน้ํามันกาด น้ํามันดีเซลหรืออะไรก็ไดเพื่อใหไบโอดีเซลที่ไดมีคุณสมบัติใกลเคียงกับน้ํามันดีเซลใหมากที่สุด เชน โคโคดีเซล (coco-diesel) ที่ อ.ทับสะแก ประจวบคีรีขันธ ซ่ึงเปนการผสมกันระหวางน้ํามันมะพราวกับน้ํามันกาด หรือปาลมดีเซล (palm-diesel) เปนการผสมระหวางน้ํามันปาลมกับน้ํามันดีเซล ไบโอดีเซลชนิดนี้จะลดปญหาเรื่องความหนืดลงไปไดบาง แตก็ยังมีปญหาตอนที่อากาศเย็น และปญหาเรื่องการอุดตันของเครื่องยนตคือ ไสกรองจะอุดตันเร็วกวาปกติ สําหรับปญหาอื่นๆไมมี คุณสมบัติ

สถานบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน มหาวิทยาลัยเชยีงใหม (website :- www.erdi.or.th) รวมกับ สํานักนโยบายและแผนยุทยธศาสตร สํานักปลัดกระทรวงพลังงาน กระทรวงพลังงาน (website :- www.energy.go.th)

6

Page 11: ไบโอดีเซล (Biodiesel)

E-learning โครงการ จัดทําระบบฐานขอมูลพลังงานเพื่อการวิเคราะหและวางแผนยุทธศาสตรพลังงานของประเทศ

สวนมากจะเหมือนกับน้ํามันดีเซล เครื่องจะเดินเรียบไมมีปญหาเรื่องสะดุดกุกกักเหมือนแบบแรก เครื่องสตารตติดงาย (แตควรมีการอุนน้ํามันกอน) เหมาะสําหรับการใชกับเครื่องยนตรอบตํ่า หรือเคร่ืองจักรกลการเกษตร

1.5.2) ไบโอดีเซลแบบเอสเทอร

โอดีเซลประเภทนี้ตองผานกระบวนการแปรรูป ดวยกระบวนการทางเคมีที่เรียกวา ทรานสเอสเทอริฟเคชั่น (Transesterification) คือ การนําเอาน้ํามันพืชหรือสัตวที่มีกรดไขมันไปทําปฏิกิริยากับแอลกอฮอลโดยใชกรดหรือดางเปนตัวเรงปฏิกิริยา ทําใหไดเอสเทอร โดยจะเรียกชนิดของไบโอดีเซลแบบเอสเทอรตามชนิดของแอลกอฮอลที่ใชในการทําปฏิกิริยา ไบโอดีเซลชนิดเอสเทอรนี้มีคุณสมบัติที่เหมือนกับน้ํามันดีเซลมากที่สุด ทําใหไมมีปญหากับเครื่องยนตครับ เราสามารถนํามาใชกับรถยนตได แตปญหาที่จะมีก็คือตนทุนการผลิตที่แพงนั่นเอง ขอดีคือคาซีเทน (cetane คาดัชนีการจุดติดไฟ) สูงกวาน้ํามันดีเซล นั่นคือจุดติดไฟไดงายกวาน้ํามันดีเซล ทําใหการจุดระเบิดทําไดดี การสันดาปสมบูรณ คารบอนมอนอกไซดก็เลยนอย ไมมีควันดําและซัลเฟอรไดออกไซดออกสูส่ิงแวดลอม ความหนืดคงที่ ขอเสียคือตนทุนสูงกวาไบโอดีเซลแบบอื่นๆ เครื่องยนตใหกําลังต่ํากวาน้ํามันดีเซล มีการสรางแกสไนโตรเจนออกไซด (NOx) เพิ่มขึ้น แลวก็อาจตองดัดแปลงสวนประกอบของเครื่องยนตที่เปนยาง (rubber) ซ่ึงอาจถูกทําลายโดยไบโอดีเซล แตสามารถใชกับเครื่องยนตรอบสูงอยางรถยนตได ปจจัยสําคัญ ในกระบวนการผลิตไบโอดีเซลมี 5 ปจจยัไดแก

• อุณหภูมิในการทําปฏิกริยา

• อัตราสวนระหวางน้ํามันและแอลกอฮอล

• ชนิดและความเขมขนของสารเรงปฏิกิริยา

• การผสมสารตั้งตน

• Purity of reactants

สถานบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน มหาวิทยาลัยเชยีงใหม (website :- www.erdi.or.th) รวมกับ สํานักนโยบายและแผนยุทยธศาสตร สํานักปลัดกระทรวงพลังงาน กระทรวงพลังงาน (website :- www.energy.go.th)

7

Page 12: ไบโอดีเซล (Biodiesel)

E-learning โครงการ จัดทําระบบฐานขอมูลพลังงานเพื่อการวิเคราะหและวางแผนยุทธศาสตรพลังงานของประเทศ

1.6) ขั้นตอนการผลิต

รูปที่ 1.2 ผังกระบวนการผลิตไบโอดีเซล

1.7)

1.8)

1.9)

มาตรฐานคุณภาพ

ตัวจุดวาบไฟ (flash point)โดยปกติมาตรฐานจะอยูที่ 130 องศาเซียลเซียส ถาหากสูงกวานี้ คือเปน 150 องศาเซียลเซียส หรือ 170 องศาเซียลเซียส จะทําใหรถสตารทติดยาก

ขอแตกตางระหวางไบโอดีเซลกับน้ํามันดเีซล

• จุดวาบไฟของน้ํามันดีเซลต่ํา ประมาณ 50 กวา ในขณะที่จุดวาบไฟของน้ํามันไบโอดีเซล ประมาณ 100 กวาขึ้นไป

• ไมมีกํามะถันจึงไมกอใหเกดิสารซัลเฟอรไดออกไซด เหมือนน้ํามนัดเีซล

• ลดมลภาวะจากคารบอนมอนอกไซด

• ลดควันดําถึง 75 เปอรเซ็นต เมื่อเปรียบเทียบกับน้ํามันดีเซล

• มีความปลอดภัยในการใชงานมากกวาน้ํามันดีเซลเพราะจุดติดไฟสูงกวา (น้ํามันดีเซล 69 องศาเซลเซียสน้ํามันไบโอดีเซล 150 องศาเซลเซียส) มีกล่ินสะอาดไมเปนอันตรายเพราะผลิตจากไขมันพืชและสัตว

• มีคาซีเทน (Cetane Index) สูงกวาน้ํามนัดีเซลทําใหเครื่องยนตสตารทตดิงายเครื่องยนตเดินเรยีบ

• ลดการนําเขาน้ํามันปโตรเลียมทําใหประหยัดเงินตราไวในประเทศ

เทคโนโลยีการผลิตไบโอดีเซล

เทคโนโลยีการผลิตไบโอดีเซลแบบกะ (Batch Technology) มีขอดีคือราคาถูกแตคุณภาพของผลิตภัณฑอาจมีความไมสม่ําเสมอและมีกําลังการผลิตตอคร้ังไมมากนัก

สถานบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน มหาวิทยาลัยเชยีงใหม (website :- www.erdi.or.th) รวมกับ สํานักนโยบายและแผนยุทยธศาสตร สํานักปลัดกระทรวงพลังงาน กระทรวงพลังงาน (website :- www.energy.go.th)

8

Page 13: ไบโอดีเซล (Biodiesel)

E-learning โครงการ จัดทําระบบฐานขอมูลพลังงานเพื่อการวิเคราะหและวางแผนยุทธศาสตรพลังงานของประเทศ

เทคโนโลยีการผลิตแบบตอเนี่องดวยวิธีทรานเอสเทอริฟเคชั่น เปนกระบวนการที่มีคณุภาพของผลติภัณฑสม่ําเสมอ พื้นที่ในการติดตั้งนอยกวาแบบกะที่อัตรากําลังการผลิตที่เทากัน แตการลงทุนสูงกวา

รูปที่ 1.3 ชุดตนแบบการผลิตไบโอดีเซลแบบตอเนื่อง ชุดตนแบบการผลิตไบโอดีเซลแบบตอเนื่อง มีขนาดกําลังการผลิต 150 ลิตรตอวัน สามารถผลิตไบโอดีเซลจากน้ํามันปาลมดิบที่มีกรดไขมันอิสระไมเกินรอยละ 5 โดยไบโอดีเซลที่ไดมีคาตามมาตรฐานสากล ตัวเครื่องตนแบบมีขนาด กวางxยาวxสูง เทากับ 2.1x3.9x2.5 เมตร น้ําหนักรวมโดยประมาณ 1.5 ตัน ซ่ึงสามารถวางบนรถบรรทุก 6 ลอ เพื่อใชในการนําไปสาธิตการผลิตใหแกชุมชนตางๆ ไดโดยสะดวก เปนการเพิ่มขีดความสามารถดานเทคโนโลยี เพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากพืชของประเทศซึ่งนําไปสูการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน เทคโนโลยีการผลิตแบบตอเนื่องชนิด 2 ขั้นตอน เปนการใชกระบวนการเอสเทอริฟเคชั่นในชวงแรกและใชกระบวนการทรานเอสเทอริฟเคชั่นเปนขั้นตอนที่สอง ซ่ึงวิธีการนี้จะมีความเหมาะสมกับวัตถุดิบทุกชนิด โดยเฉพาะน้ํามันที่มีคากรดไขมันอิสระสูง

1.10) ประโยชนของการใชไบโอดีเซล

ก) ดานสิง่แวดลอม

การใชไบโอดี เซลสามารถลดมลพิษทางอากาศ ซ่ึงเปนผลจากการเผาไหมในเครื่องยนต คณะกรรมการไบโอดีเซลแหงชาติ (National Biodiesel) และสํานักงานปองกันสิ่งแวดลอม (US Environment Protection Agency) ของประเทศสหรัฐอเมริกา ไดทําวิจัยและทดลองใชน้ํามันไบโอดีเซลสูตรตางๆ กับเครื่องยนตดีเซล และไดรายงานวาไบโอดีเซลสูตร B100 และ B20 สามารถลดมวลปลดปลอยจากการเผาไหมไดอยางมีนัยสําคัญ ในวนกรมอูทหารเรือ กองทัพเรือ ก็ไดรายงานผลการทดลองใชน้ํามันไบโอดีเซลกับเครื่องยนตดีเซลขนาด 145 แรงมา วาสามารถลดควันดําไดมากกวารอยละ 40

สถานบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน มหาวิทยาลัยเชยีงใหม (website :- www.erdi.or.th) รวมกับ สํานักนโยบายและแผนยุทยธศาสตร สํานักปลัดกระทรวงพลังงาน กระทรวงพลังงาน (website :- www.energy.go.th)

9

Page 14: ไบโอดีเซล (Biodiesel)

E-learning โครงการ จัดทําระบบฐานขอมูลพลังงานเพื่อการวิเคราะหและวางแผนยุทธศาสตรพลังงานของประเทศ

การใชไบโอดีเซลสามารถลดการปลอยแกสเรือนกระจก เพราะผลิตจากพืช การผลิตไบโอดีเซลจากน้ํามันพืชที่ใชแลว ชวยลดการน้ําน้ํามันที่ใชแลวไปประกอบอาหารซ้ํา และยังชวยปองกันมิใหนําน้ํามันพืชที่ใชแลว (ซ่ึงมีสารไดออกซินที่เปนสารกอมะเร็งไปผลิตเปนอาหารสัตว

ข) ดานสมรรถนะเครื่องยนต

การผสมไบโอดีเซลในระดับรอยละ 1-2 สามารถชวยเพิ่มดัชนีการหลอล่ืนใหกับน้ํามันดีเซล จากผลการทดลองของสถาบันวิจัยและเทคโนโลยีของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) พบวาการเติมไบโอดีเซลที่ผลิตจากน้ํามันพืชที่ใชแลวและน้ํามันมะพราวในอัตรารอยละ 0.5 สามารถเพิ่มดัชนีการหลอล่ืนไดถึง 2 เทา ประสิทธิภาพการเผาไมดีขึ้น เนื่องจากในไบโอดีเซลมีออกซิเจนผสมอยูประมาณรอยละ 10 ทําใหการผลสมระหวางอากาศกับน้ํามันมีการกระจายตัวอยางสม่ําเสมอ และเปนการเพิ่มอัตราสวนปริมาณตรของอากาศตอน้ํามันไดเปนอยางดีจึงทําใหการเผาไหมดีขึ้น ถึงแมวาคาความรอนของไบโอดีเซลจะต่ํากวาน้ํามันดีเซลประมาณรอยละ 10 แตขอดอยนี้ไมมีผลกระทบตอการใชงาน เพราะการใชไบโอดีเซลทําใหการเผาไหมดีขึ้น จึงทําใหกําลังเครื่องยนตไมลดลง

ค) ดานเศรษฐศาสตร

การใชไบโอดีเซลชวยสรางงานในชนบทดวยการสรางตลาดพลังงานไวรองรับผลผลิตทางการเกษตรที่เหลือจากการบริโภค การใชไบโอดีเซลสามารถชวยลดการน้ําเขาน้ํามันดิบจากตางประเทศไดบางสวน ซ่ึงในแตละปประเทศไทยสูญเสียเงินตราตางประเทศเพื่อการน้ําเขาน้ํามันดิบกวา 300,000 ลานบาท

ง) ดานการผลิตน้ํามันเชื้อเพลิงในประเทศ

ประเทศไทยมีสัดสวนการใชน้ํามันดีเซลสูงกวาน้ํามันเบนซินมาก ตลาดน้ํามันดีเซลในประเทศไทยมีมูลคามากกวาน้ํามันเบนซินกวา 2 เทา และในอนาคตมีแนวโนมที่โรงกล่ันอาจจะผลิตน้ํามันดีเซลไมเพียงพอตอการใชภายในประเทศ ดังนั้นการใชไบโอดีเซลจึงชวยลดความไมสมดุลของการผลิตของโรงกลั่นได การผสมน้ํามันไบโอดีเซลในอัตราสวนรอยละ 1-2 สามารถเพิ่มความหลอล่ืนในน้ํามันดีเซลได โดยเฉพาะกรณีที่จะมีการลดปริมาณกํามะถันในน้ํามันดีเซล

จ) ดานความมั่นคง

การใชน้ํามันไบโอดีเซลที่สามารถผลิตไดภายในประเทศ ถือเปนการเสริมสรางความมั่นคงและเสถียรภาพทางดานพลังงานของประเทศ

สถานบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน มหาวิทยาลัยเชยีงใหม (website :- www.erdi.or.th) รวมกับ สํานักนโยบายและแผนยุทยธศาสตร สํานักปลัดกระทรวงพลังงาน กระทรวงพลังงาน (website :- www.energy.go.th)

10

Page 15: ไบโอดีเซล (Biodiesel)

E-learning โครงการ จัดทําระบบฐานขอมูลพลังงานเพื่อการวิเคราะหและวางแผนยุทธศาสตรพลังงานของประเทศ

1.11)

1.12)

ผลกระทบของไบโอดีเซลท่ีมีตอเคร่ืองยนต

เนื่องจากน้ํามันไบโอดีเซลตามมาตรฐานสากลนั้นมีคุณสมบัติเทียบเคียงไดกับน้ํามันดีเซลที่ผลิตจากน้ํามันปโตรเลียม ดังนั้นผลกระทบตอเครื่องยนตถือไดวาไมมีผลทางดานลบ หรือในกรณีของเครื่องยนตเกา อาจมีความจําเปนตองเปลี่ยนซีลยางบางสวนเทานั้นเอง โดยทั่วไป การใชน้ํามันไบโอดีเซลในตางประเทศนั้นนิยมนําไปผสมเปนสูตรตางๆ เชน B2 (ไบโอดีเซล 2% : ดีเซล 98%) มีจําหนวยทั่วไปในมลรัฐมินนิโซตา ประเทศสหรัฐอเมริกา และจะบังคับใชทั้งมลรัฐ ในป พ.ศ. 2548 B5 (ไบโอดีเซล 5% : ดีเซล 95%) มีจําหนวยทั่วไปในประเทศฝรั่งเศส โดยกวาครึ่งหนึ่งของน้ํามันดีเซลที่จําหนวยเปนน้ํามันสูตร B5 B20 (ไบโอดีเซล 20% : ดีเซล 80%) เปนน้ํามันผสมที่คณะกรรมการไบโอดีเซลแหงชาติ และนักงานปองกันส่ิงแวดลอมของประเทศสหรัฐอเมริกาแนะนําใหใชตามกฎหมายยานยนตเชื้อเพลิงทดแทนของประเทศ (Alternative Motor Fuels Act : AMFA 1988) ปจจุบันนิยมใชในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะรถของบริษัทและรถของหนวยงานราชการกวา 147 แหง รวมทั้งการใชยานยนตในพื้นที่ที่ตองคํานึงถึงมลพิษเปนพิเศษ เชน รถรับสงนักเรียน รถประจําทาง เรือ หรือเครื่องจักรกลที่ใชในเหมืองแร ทั้งนี้ไดรับการรับรองจากบริษัทผูผลิตระบบหัวฉีดน้ํามันเและเครื่องยนต B40 (ไบโอดีเซล 40% : ดีเซล 60%) เปนสูตรที่ใชในรถขนสงมวลชนในประเทศฝรั่งเศส ทั้งนี้เพื่อผลในการลดมลพิษ B100 (ไบโอดีเซล 100%) เปนน้ํามันไบโอดีเซลรอยละ 100 ที่ใชในประเทศเยอรมนีและออสเตรีย โดยไดรับการรับรองจากบริษัทผูผลิตรถยนตรายใหญของประเทศ

อนาคตของไบโอดีเซล

(วารสารโลกพลังงาน) สมาคมเชื้อเพลิงชีวภาพแหงสหรัฐอเมริกาคาดวา จากแรงจูงใจของรัฐบาล การใชไบโอดีเซลของสหรัฐในตนศตวรรษนี้จะถึงระดับ 2 พันลานแกลลอนตอป หรือประมาณ 8% ของการบริโภคดีเซลบนทางหลวงสวนใหญจะเปนการใชในขบวนรถโดยสารและรถบรรทุกขนาดหนักในรูปของ B20 แมวาการใชไบโอดีเซลจะยังอยูในวงแคบ ในประเทศอุตสาหกรรมบางประเทศ เชน สหรัฐ,แคนาดาและเยอรมันนี เปนตนแตเหตุผลทางสิ่งแวดลอม และการพึ่งพาตนเอง ทําใหการใชเช้ือเพลิงชีวภาพ เชนไบโอดีเซล จะแพรหลายไปทั่วโลกแนนอนในอนาคต เฉพาะในสหรัฐอเมริกา ประเทศเดียวกฎหมายวาดวยอากาศบริสุทธิ์ (CAAA) และ นโยบายพลังงาน (EPACT) จะทําใหมีการใชไบโอดีเซล ทดแทนดีเซลปกติมากขึ้น เพราะรถยนตที่ใชในหนวยงานของรัฐบาล

สถานบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน มหาวิทยาลัยเชยีงใหม (website :- www.erdi.or.th) รวมกับ สํานักนโยบายและแผนยุทยธศาสตร สํานักปลัดกระทรวงพลังงาน กระทรวงพลังงาน (website :- www.energy.go.th)

11

Page 16: ไบโอดีเซล (Biodiesel)

E-learning โครงการ จัดทําระบบฐานขอมูลพลังงานเพื่อการวิเคราะหและวางแผนยุทธศาสตรพลังงานของประเทศ

ก) อนาคตของไบโอดีเซลในประเทศไทย

ถาผลการวิจัยจากหนวยงานภาครัฐตางๆ ที่กําลังศึกษากันอยูขณะนี้ ออกมาวาไบโอดีเซลไมมีปญหาดานผลกระทบตอเครื่องยนตในระยะยาว ก็ขึ้นอยูกับภาครัฐวาจะสงเสริมการผลิตจริงจังมากนอยแคไหน แมไบโอดีเซลจะทดแทนการใชน้ํามันดีเซลไดไมหมด ผลดีที่เห็นเดนชัดนอกเหนือจากราคาที่ถูกกวาราคาน้ํามันดีเซลปกติแลว การลดมลพิษทางอากาศและการพึ่งพาทรัพยากรของเราเองจะชวยสรางมูลคาเพิ่มและเปนผลดีตอเกษตรกรไทยอยางมาก “ไบโอดีเซล” จึงนาจะเปนเชื้อเพลิงชนิดหนึ่งแหงความหวังของไทยเราไดในอนาคต ดีเซลจากพืชทางเลือกใหมของพลังงาน จากสถานการณปจจุบันประเทศไทยมีความตองการใชน้ํามันเชื้อเพลิงในปริมาณมาก โดยเฉพาะน้ํามันดีเซลใชมากถึง 43 ลานลิตรตอวัน คิดเปน 46.6 % ของปริมาณน้ํามันที่ใชภายในประเทศ มีสัดสวนการใชสูงกวาน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดอ่ืนๆ ราคาน้ํามันก็ปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่อง อีกทั้งความตองการเสริมสรางความมั่นคงในดานพลังงานของประเทศ รวมถึงความตองการลดมลพิษเพื่อใหส่ิงแวดลอมดีขึ้น ทําใหมีหลายหนวยงานไดทําการวิจัยและพัฒนาวัตถุดิบภายในประเทศ เชน น้ํามันพืชชนิดตางๆ น้ํามันพืชใชแลว ฯลฯ มาผลิตเปนผลิตภัณฑใชแทนน้ํามันดีเซล เรียกวา “ไบโอดีเซล” การใชไบโอดีเซลสามารถลดมลพิษทางอากาศ ซ่ึงเปนผลจากการเผาไหมในเครื่องยนตไดสวนหนึ่ง เนื่องจากองคประกอบของไบโอดีเซลไมมีธาตุกํามะถัน แตมีออกซิเจนเปนองคประกอบประมาณ 10 % โดยน้ําหนัก จึงชวยการเผาไหมไดดีขึ้นและลดมลพิษซัลเฟอรไดออกไซด ไฮโดรคารบอนคารบอนมอนนอกไซด ฝุนละออง ฯลฯ นอกจากนี้ไบโอดีเซลมีคุณสมบัติในการหลอล่ืนดีกวาน้ํามันดีเซล จึงมีการนําไบโอดีเซลมาใชผสมน้ํามันดีเซลในสัดสวนตางๆ กัน หรือใชโดยไมตองผสมกับน้ํามันดีเซลเลยก็ได แตไบโอดีเซลเปนตัวทําละลายที่ดี จึงอาจทําใหทอทางเดินน้ํามัน ซ่ึงทําจากยางและพลาสติกบวม และรั่วได ดังนั้นการใชไบโอดีเซลในรถยนตจะตองสอบถามบริษัทผูผลิตรถยนตกอนวาสามารถใชไบโอดีเซลเปนเชื้อเพลิงไดหรือไม ประเทศไทยมีการเพาะปลูกพืชน้ํามันหลายชนิดใชในการบริโภค เชน ถ่ัวเหลือง ปาลม-น้ํามัน ถ่ัวลิสง มะพราว ละหุง งา ฯลฯ ในบรรดาพืชน้ํามันทั้งหมด ปาลมน้ํามันมีปริมาณผลผลิตสูงและราคาถูก จึงเหมาะสมในการนํามาผลิตไบโอดีเซล แตในการผลิตควรคํานึงถึงปริมาณและความตองการใชน้ํามันในการบริโภคและในอุตสาหกรรมดวย เชน ในป 2545 มีผลผลิตปาลมน้ํามัน 4 ลานตัน หรือน้ํามันปาลม 68,000 ตันตอเดือน ตลาดมีความตองการใช 55,000 ตันตอเดือน จะเหลือน้ํามันปาลมสวนเกิน 13,000 ตันตอเดือน นั่นคือปริมาณของน้ํามันที่จะนํามาผลิตเปนไบโอดีเซลในเชิงพาณิชยไมมากนัก ดังนั้นจึงตองมีการวางแผนใหรอบคอบ เพื่อใหคุมคาที่สุดในเชิงเศรษฐศาสตร ในตางประเทศมีการผลิตและจําหนายไบโอดีเซล เชน สหรัฐอเมริกา เบลเยี่ยม สวีเดน ฝร่ังเศส ออสเตรีย เยอรมัน ฯลฯ โดยนิยมนําไปผสมเปนสูตรตางๆ เชน B2 (ไบโอดีเซล 2%:ดีเซล 98%) มีจําหนายในมลรัฐมินนิโซตา และ B20 (ไบโอดีเซล 20%:ดีเซล 80%) มีจําหนายในรัฐไอโอวา ประเทศสหรัฐอเมริกา B5 (ไบโอดีเซล 5%:ดีเซล 95%) มีจําหนายในประเทศฝรั่งเศส B100 (ไบโอดีเซล 100%)ใชในประเทศเยอรมัน

สถานบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน มหาวิทยาลัยเชยีงใหม (website :- www.erdi.or.th) รวมกับ สํานักนโยบายและแผนยุทยธศาสตร สํานักปลัดกระทรวงพลังงาน กระทรวงพลังงาน (website :- www.energy.go.th)

12

Page 17: ไบโอดีเซล (Biodiesel)

E-learning โครงการ จัดทําระบบฐานขอมูลพลังงานเพื่อการวิเคราะหและวางแผนยุทธศาสตรพลังงานของประเทศ

และออสเตรีย เปนตน ไบโอดีเซลที่ผลิตและจําหนายเปนการคาในตางประเทศตองมีคุณภาพตามมาตรฐานกําหนด ปจจุบันประเทศสหรัฐอเมริกาไดกําหนดมาตรฐาน ASTM D 6751 สหภาพยุโรปไดกําหนดมาตรฐาน EN 14214 ประเทศเยอรมันไดกําหนดมาตรฐาน DIN 51606 สวนประเทศไทยมีการผลิตไบโอดีเซลในระดับโรงงาน ที่อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี มีกําลังผลิต 30,000 ลิตรตอวัน โดยใชน้ํามันมะพราวและน้ํามันพืชใชแลวเปนวัตถุดิบ ซ่ึงเปนการผลิตเพื่อใชในกิจการตนเอง โดยใชกับเรือเฟอรี่ และใชในการศึกษาวิจัยเทานั้น ดังนั้นหากมีผลการศึกษาในเรื่องดังกลาวชัดเจนมากขึ้น และมีความพรอมในการใชและจําหนายในเชิงพาณิชย กรมธุรกิจพลังงานก็จะดําเนินการกําหนดมาตรฐานน้ํามันไบโอดีเซลเพื่อบังคับใชตอไป แตอยางไรก็ตามสําหรับน้ํามันดีเซลทั่วไป กรมธุรกิจพลังงานไดมีการกําหนดมาตรฐานควบคุมคุณภาพอยูแลว

1.13) สรุปเก่ียวกับไบโอดีเซล

ไบโอดีเซล เปนเชื้อเพลิงทางเลือกที่เหมาะกับประเทศไทยในอนาคต เนื่องจากประเทศไทยตองพึ่งพาน้ํามันเชื้อเพลิงจากตางประเทศ แตเปนประเทศเกษตรกรรม มศักยภาพในการผลิตวัตถุดิบสําหรับเชื้อเพลิงชนิดนี้สูงมาก สามารถปลูกพืชน้ํามันไดหลายชนิด การศึกษาวิจัยในอนาคตจะชวยลดตนทุนการผลิตใหแขงขันไดกับเชื้อเพลิงจากปโตรเลียม และลดการผูกขาดของน้ํามันเชื้อเพลิงจากปโตรเลียม นอกจากนี้ความสามารถที่ผลิตไดจากไขมันพืช และสัตวหลากหลายชนิด หรือแมแตน้ํามันปรุงอาหารที่ใชแลว อาจทําใหตนทุนการผลิตไบโอดีเซลในประเทศไทยไมสูงนักเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่น นอกจากลดการพึ่งพาเชื้อเพลิงจากตางประเทศ แลว การใชไบโอดีเซลยังชวยสรางงานสรางอาชีพใหกับเกษตรกรนับลานคนในการผลิตวัตถุดิบใหกับอุตสาหกรรมไบโอดีเซล และน้ํามันปรุงอาหารที่ใชแลวนับลานลิตรตอวันจะไดมีการนํากลับมาใชประโยชนอีก โดยไมตองเททิ้งใหเปนภาระตอส่ิงแวดลอมอีกตอไป และขอดีสําหรับโลก การใชไบโอดีเซลไมทําใหคารบอนไดออกไซดสุทธิในบรรยากาศเพิ่มขึ้น ลดดีกรีปรากฎการณโลกรอน (Greenhouse Effect) ใหเกิดชาลง

สถานบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน มหาวิทยาลัยเชยีงใหม (website :- www.erdi.or.th) รวมกับ สํานักนโยบายและแผนยุทยธศาสตร สํานักปลัดกระทรวงพลังงาน กระทรวงพลังงาน (website :- www.energy.go.th)

13

Page 18: ไบโอดีเซล (Biodiesel)

E-learning โครงการ จัดทําระบบฐานขอมูลพลังงานเพื่อการวิเคราะหและวางแผนยุทธศาสตรพลังงานของประเทศ

เอกสารอางอิง

เถลิงเดช พิลาศรี.”กาซชีวภาพ”, ศูนยสงเสริมพลังงานชีวมวล มูลนิธิพลังงานเพื่อส่ิงแวดลอม,กันยายน 2549. สุวิมล สวยสม.ระบบบําบัดน้าํเสียแบบยูเอเอสบี : UASB.วารสารเทคโนโลยีกาซชีวภาพ ฉบับที่:6,2550. รศ.ดร. สมชัย จันทรสวาง.รายงานวิจัยเร่ือง เทคโนโลยีแกสชีวภาพ ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร มหาวิทยา

ลันเกษตรศาสตร,2550 กองบรรณาธิการ:ระบบไบโอแกสในฟารมสุกร.วารสารเมืองปศุสัตว .12-16.2549 สมพงษ ใจมา.รายงานการวิจัยเร่ือง การใชประโยชนจากกาซชีวภาพ,รายงานวิศวกรรมพลังงาน สถาน

เทคโนโลยีกาซชีวภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม สิงหาคม 2548. คณะกรรมาธิการการพลังงาน สภาผูแทนราษฎร. (2545). "พลังงานทดแทน เอทานอล และไบโอดีเซล".

พิมพคร้ังที่ 1 บริษัท แปลน พร้ินทติ้ง จํากัด โยธิน วิมุกตานน. (2548). “นโยบายการสนับสนุนใหมีการผลิตและจําหนายแกสโซฮอลทดแทนการนําเขา

น้ํามันเบนซิน”. ปญหาพิเศษปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา

http://www.teennet.cmu.ac.th(10 กรกฎาคม 2550) http://www.school.net.th/library/create-web/10000/science/10000-5735.html http://www.dede.go.th/dede/index.php?id=879http://www.environnet.in.th/evdb/info/mineral/mineral24.htmlhttp://www.fda.moph.go.th/fda-net/html/product/psion/methanol.htm http://www.pattani1.go.th/kmc/modules.php?name=News&file=article&sid=351 http://www.lightparty.com/Energy/Butanol.htmhttp://www.butanol.com/index.htmhttp://www.thaienergynews.com/ArticleShowDetail.asp?ObjectID=89 http://www.queen6cyclebirthday.in.th/network/gas.htm http://www.thaienergy.org/index.php?option=com_content&task=blogcategory&id=1&Itemid http://kanchanapisek.or.th/kp1/data/35/gas_kw2.htmhttp://www. biogas\bio2.mht http://www.manager.co.th.

สถานบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน มหาวิทยาลัยเชยีงใหม (website :- www.erdi.or.th) รวมกับ สํานักนโยบายและแผนยุทยธศาสตร สํานักปลัดกระทรวงพลังงาน กระทรวงพลังงาน (website :- www.energy.go.th)

14

Page 19: ไบโอดีเซล (Biodiesel)

E-learning โครงการ จัดทําระบบฐานขอมูลพลังงานเพื่อการวิเคราะหและวางแผนยุทธศาสตรพลังงานของประเทศ

จัดทําโดย

นาย ชชัวาล คําวงศ รหัส 500631067 นายณัฐวิทย พงศพันธุ รหัส 500631069 นาย นุกูลกิจ ทูนกาศ รหัส 500631073 นาย วิลาวัลย ปนอ่ิน รหัส 500631138 นาย วิไลวรรณ ลีนะกุล รหัส 500631139

ภาควชิาเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม

ทัศนะและขอคิดเห็นตางๆ ท่ีปรากฎในเอกสาร เปนความเห็นสวนตัว ผูท่ีใชงานเอกสารชุดนี้ ไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอไป

สถานบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน มหาวิทยาลัยเชยีงใหม (website :- www.erdi.or.th) รวมกับ สํานักนโยบายและแผนยุทยธศาสตร สํานักปลัดกระทรวงพลังงาน กระทรวงพลังงาน (website :- www.energy.go.th)

15