Download - ÂÙâ·à» ‚Â Utopiamcuaad.mcu.ac.th/ac/currlncharge/BO/write/82b27807e9.pdf · Utopia พระวันดีกนฺตวีโร (ปะวะเส)* พระครูสุตธรรมาภรณ

Transcript
Page 1: ÂÙâ·à» ‚Â Utopiamcuaad.mcu.ac.th/ac/currlncharge/BO/write/82b27807e9.pdf · Utopia พระวันดีกนฺตวีโร (ปะวะเส)* พระครูสุตธรรมาภรณ

ÂÙâ·à»‚ÂUtopia

พระวันดี กนฺตวีโร (ปะวะเส)*

พระครูสุตธรรมาภรณ**

ผศ.ดร.จรัส ลีกา***

๑. บทนํา เหตุผลของการท่ีผูเขียนไดนํา หนังสือยูโทเปย (Utopia) มาวิจารณนี้ เน่ืองดวย หนังสือเลมน้ีมีแนวคิดทางปรัชญาที่ไดรับการยอมรับในวงวิชาการไปท่ัวโลก โดยแนวคิดทางปรัชญาท่ีนาสนใจ ในเร่ืองของสังคมอุดมคติ ทีต่ัง้อยบูนพ้ืนฐานของศลีธรรม และเปนแนวคดิทีเ่กิดจากสภาวะทางสังคมท่ีเปนจริงในชวงเวลาขณะนั้น ซึ่งโทมัส มอร (Thomas More) ที่นําเสนอรูปแบบแนวคิดสังคมอุดมคติ เปนแบบแผนชีวิตในสังคมอันสวยงามที่ไรความขดัแยง คนในสงัคมมคีวามคดิไปไหนทศิทางเดียวกันอีกท้ังยังใชชีวิตอยางสงบสุข โทมัส มอร นักปรัชญามานุษยนิยมชาวอังกฤษเขียนขึ้นเมื่อป ค.ศ.๑๕๑๖ ในยุคสมัยของพระเจาเฮนรีที่ ๘ แหงราชวงศทวิดอร (สมัยเดียวกบักรงุศรีอยธุยาตอนตน)

มอร เปนนักการศาสนาท่ีเครงครัดจนไดรับการสถาปนาเปนนักบุญเม่ือป ค.ศ. ๑๙๓๕ และเปนนกัการเมอืงมอืสะอาด แตมอรตองเสียชวีติจากการถูกประหารชีวิตดวยการตัดศีรษะเมื่อวันที่ ๖ กรกฎาคม ค.ศ. ๑๕๓๕ สืบเน่ืองจากความเห็นขัดแยงทางการเมืองตอพระเจาเฮนรี่ที่ ๘ โทมัส มอร เขียนขึ้นเปนภาษาละตินและตอมาไดรับการแปลเปนภาษาอังกฤษในป ค.ศ. ๑๕๕๑ ฉบับที่ผูเขียนนํามาวิจารณนี้เปนฉบับแปลเปนภาษาไทยโดยสมบัติ จันทรวงศ๑ เปนฉบับที่มีเนื้อหาการแปลอยางลึกซึ้งและมีเนื้อหาท่ีชัดเจน โทมัส มอร ไดนาํเสนอแนวคดิเรือ่งยโูทเปย ในขณะทีเ่ขาดาํรงตาํแหนงเปนตัวแทนจากรฐัไปเจรจาการคาท่ีแฟลนเดอร หลังจากที่พระเจาชารลสแหงเนเธอรแลนดขึน้ภาษีนาํเขาขนสัตวในอตัราท่ีสงูล่ิว

* อาจารยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตรอยเอ็ด** อาจารย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย*** อาจารยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน

๑ สมบัติ จันทรวงศ, ยูโทเปย (Utopia), (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๖), หนา ๑-๒๓๒.

Page 2: ÂÙâ·à» ‚Â Utopiamcuaad.mcu.ac.th/ac/currlncharge/BO/write/82b27807e9.pdf · Utopia พระวันดีกนฺตวีโร (ปะวะเส)* พระครูสุตธรรมาภรณ

248 ¸ÃÃÁ·ÃÃȹ � ปท่ี ๑๗ ฉบับที่ ๑ ประจําเดือน มกราคม - เมษายน ๒๕๖๐

เขาเห็นความลําบากยากแคนของประชาชน ความไมเทาเทียมกันระหวางขุนนางกับชาวนา ดงัขอความวา “ตราบใดทีท่รพัยสนิสวนตัวยังมอีย ูและตราบเทาที่เงินเปนมาตรฐานของทุกสิ่งทุกอยางอยูแลว ขาพเจาไมเช่ือวา จะมีรฐัใดท่ีปกครองอยางยุติธรรม หรือยางมีความสุขได” และการที่มอรไดรับอิทธิพลและแรงบันดาลใจจากหนังสือ Republic ของเพลโตทีว่าดวยการปกครองทีด่ ีและเมื่อยอนนึกถึงความทุกขยากของอังกฤษในเวลานั้น มอรจึงเขียนถึงสังคมในอุดมคติท่ีมีชื่อวา “ยูโทเปย (Utopia)” ขึ้น โดยตั้งใจเขียนเปนวรรณกรรมเสียดสีลอเลียนความโงเขลาและความเลวรายของสังคมในสมัยนั้น สังเกตจากการตั้งชื่อตางๆ อาทิ ยูโทเปย มาจากภาษากรีก หมายถึงเมืองที่ดีหรือเมืองที่ไมมี ณ แหงหนใด โครงสรางของเนือ้หาของยโูทเปย (Utopia) แบงออกเปน ๔ ตอนทีผ่เูขยีนไดสรปุออกมาใหเหน็แกนของเน้ือหาในแตละตอนดังนี้ ตอนที่ ๑ ลักษณะเปนความเรียงเขียนในรปูแบบจดหมายท่ีเขยีนถงึเพือ่นของเขาคือ ปเตอร ไจลส ท่ีมีกลาวถึงการเขียนหนังสอื ยโูทเปย (Utopia) ตอนที่ ๒ ลักษณะเปนความเรียงเขียนในรูปแบบจดหมายที่ปเตอร ไจลส เขียนถึงบูสลิเด็นเพือ่นของคือคือ ปเตอร ไจลส ท่ีมกีลาวถึงการเขียนหนังสือ ยูโทเปย (Utopia) ตอนที่ ๓ มีเนื้อหาที่กลาวถึงสถานการณของสังคมในยุคศตวรรษที่ ๑๕ โดยสมมติตัวละครโดยใชชื่อเดียวกับผูแตงไดมีนักคิดชาวอังกฤษชื่อ โทมัส มอรทีม่พีืน้ฐานมาจากตระกลูผดูรีะดบัสงู ในยุคน้ันระบอบทุนนิยมในอังกฤษนับไดวามีความ

กาวหนาที่สุด การผลิตสินคาโดยเฉพาะผาขนสัตวเปนทีต่องการของตลาดเปนอยางมากทาํใหนายทนุเจาของกิจการส่ิงทอ (โรงหัตถกรรม) ไดกําไรมหาศาล ประกอบกบัการลาอาณานคิมเพือ่แสวงหาวตัถดุบิมาปอนกิจการและการขยายตลาดเพือ่ขายสินคาของตน บรรดานายทนุเจาของกจิการสวนมากไดแกเจาท่ีดินศักดินาซ่ึงถือครองที่ดินที่ใช ในการเกษตรกรรมเปนจํานวนมากไดยกเลกิการผลติดานเกษตรกรรมในระบอบศักดินาแบบเดิม โดยเรียกคืนที่ดินจากเกษตรกรผูเชาเปลี่ยนมาเปนทุงหญาเลี้ยงแกะเพื่อตัดขนปอนโรงงานของพวกเขา ทําใหชาวนาผูเชา ไพรนับลานคนตองสูญเสียทีดิ่นทํากนิลมละลาย พากนัอพยพเขาเมอืงเพือ่หางานทํา แตโรงงานตางๆ ก็ไมสามารถสนองแหลงงานได ผทูีโ่ชคดีไดงานทําจําเปนตองรักษางานของตนไวอยางสุดชีวิตแมจะถูกกดขี่แรงงานอยางหนักหนวงก็ตาม สภาพสังคมเชนน้ีกระทบกระเทือนความรูสึกของโทมัส มอร เปนอยางมาก ทานเห็นวาการปกครองแบบกษัตริยเปนใหญนั้นเปนรากฐานของความยากจน เพราะกษัตริยและราชวงศถือครองทีดิ่นกันเปนจํานวนมาก เปนเจาชวีติของประชาชนทัง้ปวงโดยไมมขีอบเขตจาํกดั มลูเหตสุาํคญัทีท่าํใหเกิดความยากจนอีกประการหนึ่งก็คือในสังคมมีอภิสิทธิ์ชนมากเกินไป ตั้งแตกษัตริยลงมาจนถึงพวกขุนนาง เจาที่ดิน ทหาร ขาราชการ คนพวกนี้ยังชีพอยูดวยการอาศัยแรงงานของผูอื่น นอกจากปญหาตางๆ ในสังคมแลว ทานยังไดมองเห็นวาสงัคมแบงออกเปนชนชัน้ ความคดิของทานในการจะขจัดความเลวรายเหลานี้ใหหมดส้ินไป จําเปน

Page 3: ÂÙâ·à» ‚Â Utopiamcuaad.mcu.ac.th/ac/currlncharge/BO/write/82b27807e9.pdf · Utopia พระวันดีกนฺตวีโร (ปะวะเส)* พระครูสุตธรรมาภรณ

249¸ÃÃÁ·ÃÃȹ �ปท่ี ๑๗ ฉบับที่ ๑ ประจําเดือน มกราคม - เมษายน ๒๕๖๐

ตองชักจูงใจชนชั้นสูงและอภิสิทธิ์ชนท้ังหลายใหกลับใจมาทํานุบํารุงเอาใจใส ดูแลประชาชนแทนการเอารัดเอาเปรียบและการกดข่ี ประหน่ึงวาเปนการเสนอแนวคดิของทานตอกษตัรยิและชนชัน้สูงใหปรับเปลี่ยนทาทีของตนตอพลเมืองเสียใหม มีหลักการสําคัญๆไดแกการยกเลิกกรรมสิทธิ์สวนบุคคล ทุกอยางเปนกรรมสิทธิ์ของสวนรวมเปลีย่นแปลงความสมัพนัธทางการผลติเสยีใหมโดยจัดการดํารงชีวิตเปนหนวยที่มีลักษณะครอบครัวแตละหนวยจะประกอบดวยชายหญิง ๒๐ คู และมีทาสสองคน ทาสในความหมายของทานไมไดมีลักษณะชนช้ัน หากแตมาจากผูกระทําความผิดรายแรงถงึขัน้ประหารชวีติ และใหทาํงานทีม่รีะดบัตํา่กวาสมาชกิของชมุชน การผลติดานเกษตรกรรมเปนหลัก ซึ่งจะเปนการผลิตรวมกัน แตสมาชิกชุมชนท่ีมีความถนัดทางดานอื่นๆ เชน ชางฝมือแขนงตางๆ สามารถผลิตผลงานของตนออกมาไดดวย ผลิตผลทั้งหมดจะนําไปยังตลาดกลางใครตองการสิ่งใดก็สามารถนําเอาไปได ทางดานการปกครอง คณะผูปกครองของรัฐยโูทเปยมาจากการเลอืกตัง้จากมหานครท้ัง ๕๔ แหง ทาํหนาท่ีบริหารควบคมุชีวติทางเศรษฐกจิท้ังหมด จดัสรรการผลติและการบริโภคอยางมีโครงการ ดังนั้น ในสังคมของรัฐยูโทเปยจึงมีความเปนประชาธิปไตย ไมมีวิกฤตเศรษฐกิจอันเนื่องมาจากไมมีการผลิตที่ลนเกิน ไมมกีารวางงาน ไมมคีวามรุนแรง และไมมีสงคราม แนวคิดของทานจะยงัคงหวงัพึง่พากษตัรยิและชนชั้นปกครองที่มีคุณธรรมอยู เปนแนวคิดที่กาํหนดจากชัน้บนลงมา โดยยงัมองไมเหน็บทบาททางการเมืองของชนชั้นลาง

ตอนที่ ๔ เปนความเรียงเชิงบรรยายของลักษณะทางภูมิศาสตรและสังคมการเมืองของยูโทเปย (Utopia) มีเนื้อหาที่กลาวถึง เมืองที่สมบูรณและสันติสุข ซึ่งกอตั้งโดยกษัตริยยูโทปส โดยการตัดที่ดินสวนท่ีเชื่อมกับทวีปออกไปกวาง ๑๕ ไมล จนกลายเปนเกาะกลางนํ้าขนาดใหญ มีแมนํ้าลอมรอบและมีแผนดินลอมรอบอีกชั้นเพื่อปองกันพายแุละการบกุรกุของผคูนจากดินแดนอืน่ อีกทั้งยูโทเปยใชการปกครองแบบสาธารณรัฐ มีทั้งหมด ๔๔ นคร แตละเมืองมีระยะการเดินทางใชเวลาไมเกิน ๑ วัน อาคารบานเรือนในยูโทเปยมีความสวยงามเรยีบงาย มขีนบธรรมเนยีมประเพณี และกฎหมายอยางเดียวกัน มีนครหลวงชื่อ อโมโรเปนศูนยกลางเปนเมืองศูนยกลางแหงยูโทเปย ก็แปลวาเมืองแหงความมืดมัว สวนตัวละครที่เปนผูถายทอดเร่ืองราวของยูโทเปยก็ชื่อ ราฟาเอล ไฮโธลเดย (Hytholday) ซึ่งแปลวาผูที่พูดแตเรื่องไรสาระ หรือประเทศขางเคียงอยางชาวโพลีเลอไรทส (Polylerites) กแ็ปลวาคนเหลวไหล ซึง่ลวนแลวแตแสดงถึงเจตนาของผูเขียนท่ีจะช้ีใหเห็นวายูโทเปย (Utopia) นี้เปนเพียงเร่ืองท่ีสมมุติขึ้นเทาน้ัน รูปแบบบ านเ รือนของชาวยูโทเป ย (Utopia) ดานหลงัของทุกบานเปนสวนปลูกดอกไม ผลไมหรือพืชผัก และมีถนนอยูดานหลังของสวนอีกดวย ประตูบานมีสองทาง เปดปดไดโดยงาย ปราศจากกลอน เพราะไม จําเปน เน่ืองจากทรัพยสินเปนของสวนรวม จึงไมมีอะไรตองปดบังหรือปดกั้นไมใหคนอื่นใชดานหลังของทุกบานเปนสวนปลูกดอกไม ผลไมหรือพืชผัก และมีถนนอยู

Page 4: ÂÙâ·à» ‚Â Utopiamcuaad.mcu.ac.th/ac/currlncharge/BO/write/82b27807e9.pdf · Utopia พระวันดีกนฺตวีโร (ปะวะเส)* พระครูสุตธรรมาภรณ

250 ¸ÃÃÁ·ÃÃȹ � ปท่ี ๑๗ ฉบับที่ ๑ ประจําเดือน มกราคม - เมษายน ๒๕๖๐

ดานหลังของสวน ประตูบานมีสองทาง ปราศจากกลอนเพราะไมมีความจําเปน เนื่องจากทรัพยสินในยูโทเปย (Utopia) เปนของสวนรวมทั้งหมด จึงไมมีอะไรตองปดบังหรือปดกั้นไมใหผูอื่นใชถือเปนการเอ้ือเฟอเผ่ือแผ นอกเมืองมีการทําอาชีพเกษตรกรรมอยางเฟองฟู ชาวยูโทเปย (Utopia) มีชีวิตความเปนอยูที่ดี หรืออาจเรียกไดวา กินดีอยูดี ไมมกีารแกงแยงกัน มกีารแบงสนัปนสวนใหแกกนัอยางเปนระบบระเบียบ ชาวเมืองทุกคนมีหนาที่การงานเปนของตนเอง ไมมใีครสักคนท่ีเกยีจครานแทบไมมใีครมีเวลาวางแตก็ใชวาจะทาํงานจนหามรุงหามคํ่า พวกเขาทํางานเพียงสามชั่วโมงตอนเชา พกัรบัประทานอาหารกลางวัน แลวทาํงานอีกสามชั่วโมงตอนบาย เขานอนตอนสองทุม โดยนอนไมตํา่กวาวนัละแปดชัว่โมง อกีทัง้ทีย่โูทเปย (Utopia) ก็ไมมีสิ่งอบายมุขยั่วยุแตอยางใดไมวาจะเปนการพนันหรือรานเหลารานสุรา สําคัญที่สุดคือชาวยโูทเปย (Utopia) ชอบทีจ่ะคนควาหาความรู เพ่ิมความชํานาญตางๆ ใหแกตนเอง รักการอานและการถกเถียงกันเพื่อเพิ่มพูนความรูใหมๆ พวกเขาไมใหความสําคญักบัวตัถ ุนัน่เพราะมคีานิยมในเร่ืองการรักษาคุณธรรมและความพงึพอใจในการใชชวีติพืน้ทีบ่รเิวณนอกเมืองมท่ีีทาํการเกษตรจํานวนมาก ชาวยูโทเปย (Utopia) จะคัดเลือกชาวเมืองปละสามสิบครอบครัวไปอยูทีฟ่ารมหรือสวนเพ่ือทาํงานสรางผลผลิตใหเมอืงเปนเวลาสองป คนทีก่ลบัมาก็จะสอนชาวเมอืงอืน่ๆ ใหทาํการเกษตรเปน แลวพอถึงเวลาก็ไปผลัดเปลี่ยน ทุกสามสิบฟารมหรือสวนจะมีผูดูแลปกครองหน่ึงคนท่ีคัดเลือกข้ึนกันเอง

เรยีกวา ไซโฟแกรนท (เทยีบไดกบัสมาชิกสภา) อยูภายใตการดูแลของทารนิบอร (เทียบไดกับรัฐมนตรี) ซึ่งแตละคนดูแล สิบไซโฟรแกรนท เจาผูครองนครและทารนบิอรไมสามารถออกกฎหมายโดยไมผานพิจารณาของสภา และกฎหมายฉบับหนึง่ตองผานการอภิปรายหรือถกเถียงในสภาไมตํา่กวาสามคร้ัง การเปล่ียนแปลงส่ิงใดใดในรัฐจึงทําไดยาก หากคนสวนใหญในเมืองไมเห็นดวยวาเปนไปเพ่ือประโยชนของสวนรวม ชาวยูโทเปยจงึปกครองกันเองดวยกฎหมายเพียงไมกี่ขออยางเหมาะสม แตถงึกระนัน้ทกุส่ิงทกุอยางกม็กีารแบงปนกนัอยางเทาเทียม และทุกคนมีชีวิตที่สมบูรณ จงึเหน็ไดวา ยโูทเปย (Utopia) เปนสงัคมในฝนเพราะการสรางคานิยมในเร่ืองการรักษาคุณธรรมและความพึงพอใจในการใชชีวิต ชาวยูโทเปยไมใหความสําคัญกับวัตถุ โดยเห็นวาเงินและทองเปนสิ่งหยาบชา ไมมีคา มีไวสําหรับทําโซสําหรับทาส หรือจางคนช่ัวไปทําสงครามแทน (เปนการกําจัดสิ่งชั่วรายไปในตัว) (Utopia) ไมมีกฎหมายออกมาบงัคบัประชาชนมากมาย พวกเขาอยรูวมกันดวยการใหเกยีรติซึง่กันและกัน ใสเส้ือผาเรียบงายคลายคลึงกัน เสื้อผาแตละชุดใชทนทานนานถึงเจ็ดป และผูคนในระดับผูปกครองก็ไมมีสิ่งบงบอกดวยวัตถุใดใดไมวาจะเปนเสื้อผาอาภรณหรือสิง่ประดบัท่ีชีใ้หเหน็วาแตกตางจากประชาชนอื่นๆ

๒. ทัศนะวิจารณ แนวคิดยูโทเปยเปนการนําเสนอผาน

Page 5: ÂÙâ·à» ‚Â Utopiamcuaad.mcu.ac.th/ac/currlncharge/BO/write/82b27807e9.pdf · Utopia พระวันดีกนฺตวีโร (ปะวะเส)* พระครูสุตธรรมาภรณ

251¸ÃÃÁ·ÃÃȹ �ปท่ี ๑๗ ฉบับที่ ๑ ประจําเดือน มกราคม - เมษายน ๒๕๖๐

รปูแบบสงัคมในเชิงอดุมคตใินครสิตศตวรรษท่ี ๑๖ ยุคเรเนซองส (Renaissance)๒ ไดเกดิแนวคดิตางๆ เก่ียวกบัยโูทเปยไดปรากฏตัวข้ึนมาพรอมกบัความกาวหนา จุดมงุหมายกเ็พือ่ปรบัปรงุสงัคมในหนทางที่สุดขั้ว คนแรกๆ ของบรรดานักคิดยูโทเปยคือ โทมัส มอร ซึ่งเขานําเสนอแนวคิดในเชิงอุดมคติเก่ียวกบัยูโทเปย (Conceptual island of Utopia) มนัเปนการวิพากษวจิารณถงึสังคมรวมสมัยของเขาในประเทศอังกฤษ และยังเปนการนําเสนอรูปแบบซึง่เปนทางเลือกอีกทางหน่ึงของสังคมท่ีสมบูรณแบบดวย โทมัส มอร ไดรับอิทธิพลและแรงบันดาลใจจากหนังสือ Republic ของเพลโตที่วาดวยการปกครองทีด่ ีเพลโตไดวางหลกัการ รฐัมคีวามสาํคญัเหนืออื่นใด พลเมืองทุกคนจะตองชวยกันสรางรัฐใหอดุมสมบูรณ มคีวามม่ังค่ังท้ังภายในและภายนอกแมจะเสยีผลประโยชนสวนตวัไปบาง เพือ่ประโยชนของรัฐก็ตองยินยอม เพราะรัฐเปนหลักประกันทุกดานใหกับพลเมือง๓ เพลโตเชื่อวา รัฐที่มีความยุติธรรมสถิตเปนหลัก ความยุติธรรมคือ การแบงแยกชนช้ันและการแบงหนาที่๔ ความยุติธรรมมีความสัมพันธกับลักษณะสังคมที่มีรูปแบบตางกัน

จะอธิบายเนือ้หาของความยติุธรรมตางกนั รฐัเปนเครือ่งมอืของมนษุยในการใชความยตุธิรรม ซ่ึงหลกัของความยุติธรรมจะถูกรองรับดวยกฎหมาย๕ ความเสมอภาคไมไดหมายถึงการมีสิทธิในทางทรัพยสินหรืออํานาจทางการเมือง แตเสมอภาคตามทัศนะของเพลโต คอืทกุคนมีความเทาเทียมกันในการปฏิบัติหนาท่ีของแตละบุคคลที่พึงมีตอรัฐ สิทธิเสมอภาคกันในหนาที่ลักษณะนี้บุคคลจะเกิดความยุติธรรมขึ้นในการทําหนาที่ของตน๖

ยโูทเปย จงึเปนสงัคมอดุมคตทิีม่พีืน้ฐานแนวคดิของทฤษฎีจิตนิยม (Idealism) ไดแกพวกท่ีถือวา จิตเทานัน้เปนความแทจรงิ สสารเปนเพยีงปรากฏการณของจติเทานัน้ ชาวจิตนยิมเชือ่วา จิต เปนอมตะ ไมสญูสลาย รางกายของมนษุยเปนเพยีงปรากฏการณชัว่ขณะหน่ึงของจิต เปนท่ีอาศัยชัว่คราวของจิตเม่ือรางกายดับลง จิตก็ยังคงอยู ไมแตกดับไปตามรางกาย พวกจิตนยิมพยายามท่ีจะหาคําตอบใหกบัตัวเองวาจิตคืออะไร มีบอเกิดมาจากอะไร มีแหลงท่ีมาอยางไร มีธรรมชาติเปนอยางไร มีจุดมุงหมายอยางไร เปนการศึกษาโลกในลักษณะท่ีเปนนามธรรม เพราะพวกเขาเชื่อวา จิตเทานั้นที่เปน

๒ เจษฎา ทองรงุโรจน, พจนานุกรมองักฤษ-ไทย ปรชัญา, (กรงุเทพมหานคร : สาํนักพมิพแสงดาว, ๒๕๕๗), หนา ๗๖๙.

๓ ฟน ดอกบัว, ปวงปรัชญากรีก, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพศยาม, ๒๕๔๔), หนา ๑๔๕.๔ เอม็. เจ. ฮารมอน, ความคดิทางการเมอืงจากเพลโตถงึปจจบุนั, เสนห จามรกิ (ผแูปล), (กรุงเทพมหานคร

: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๒๒), หนา ๔๑.๕ พรพิพา บรรทมศิลป, “การวิเคราะหเร่ืองความยุตธิรรมในอุตมรัฐของเพลโต”, วทิยานพินธอกัษรศาสตร

มหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย), ๒๕๒๓.๖ ไพฑูรย พัฒนใหญยิ่ง และคณะ, จริยศาสตร, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต, ๒๕๕๑),

หนา ๑๔๑-๑๔๒.

Page 6: ÂÙâ·à» ‚Â Utopiamcuaad.mcu.ac.th/ac/currlncharge/BO/write/82b27807e9.pdf · Utopia พระวันดีกนฺตวีโร (ปะวะเส)* พระครูสุตธรรมาภรณ

252 ¸ÃÃÁ·ÃÃȹ � ปท่ี ๑๗ ฉบับที่ ๑ ประจําเดือน มกราคม - เมษายน ๒๕๖๐

ความแทจริง สสารเปนแตเพียงสิ่งท่ีปรากฏ หรือเปนปรากฏการณของจิต ไมสามารถดํารงอยูชัว่กาลนาน หรือสสารจะตองมกีารแตกสลาย แตจิตหรือวิญญาณไมมีการแตกสลายเปนอมตะ ดังนั้น ลักษณะของจิตหรือวิญญาณ จึงมีลักษณะตางๆ ตามทัศนะหรือแนวความคิดของนักปรัชญาแตละทาน๗

ดงัน้ัน ยโูทเปยจงึมแีนวคดิทางอภปิรชัญาในกลมุจตินยิม โดยไดรบัอทิธพิลมาจาก Republic ของเพลโต จึงเปนสังคมอุดมคติท่ีเหมือนกันของอตุมรฐัหลายดาน ซึง่แนวคิดโดยใหความสาํคญักบัคุณธรรม จริยธรรม เชน ปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นเพราะการมีทรัพยสินสวนตัว เขาจึงไดเสนอสังคมที่ทรัพยสินสวนกลางไมใหมีทรัพยสินสวนตัว เนนการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมตามกฎธรรมชาติ และปกครองกันอยางดีดวยกฎหมายเพียงไมกี่ขอ ทกุสิง่ทกุอยางมกีารแบงปนกนัอยางเทาเทียม และทุกคนมีชีวิตที่สมบูรณ๘ และในขอแตกตางกันกับอุตมรัฐของเพลโตก็คือ ยูโทเปยเปนสังคมแบบในจินตนาการ แตสังคมในอุตมรัฐเปนการคิดคนเพื่อแสวงหาการกระทํา จากแนวคิดของแบบจิตนิยมนี้เอง จึงมีอทิธพิลตอปรัชญาเชิงจริยศาสตร ท่ียนืยันถึงความสงางามและคณุคาของมนษุยทกุคน โดยอาศยัหลกัความสามารถของบุคคลนั้นในการบงชี้ไดดวยตนเองวาสิ่งใดถูกสิ่งใดผิด โดยไดการยอมรับโดย

มนุษยทั่วไปท่ีมีคุณภาพ โดยเฉพาะคุณภาพเชิงตรรกะหรอืเชงิเหตผุล มนษุยนยิมเปนองคประกอบเฉพาะหลายๆ ตัวของระบบปรัชญาและไดรับการผนวกไวในหลายสาํนกัคดิทางศาสนา เชน กฎหมายทีจ่ะใชควบคุมประชาชนจะตองสมเหตุสมผล โทษทีก่าํหนดจะตองคํานงึถึงมนุษยธรรมกฎหมายมีขึน้เพ่ือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชน ชาวยูโทเปยจะตองปองกันการทําผิดมากกวาลงโทษคนผิด พวกเขาเห็นวาการพยายามกระทําผิดน้ันเลวเทาๆ กับการทําผิด และโทษสําหรับความผิดที่รายแรงคือเอาตัวไปเปนทาส ชาวยูโทเปยมีกฎหมายไมกีฉ่บบั และเห็นวากฎหมายท่ีออกมามีวตัถุประสงคเดียวคือ สั่งสอนบุคคลใหทําหนาท่ีของตน๙ โทมัส มอร คิดเร่ืองยูโทเปยขึ้นมาเพื่อใหเปนสังคมแหงคุณธรรม ชาวยูโทเปยถือวาความเมตตตากรุณา และความดีตามธรรมชาติเปนความรูสึกท่ีดีที่สุดที่ติดตัวเขามาต้ังแตเกิดตองถูกทําลายไปโดยการฆาสัตวตัดชีวิต และธรรมชาติไมเคยสอนใหตัวเองลดทอนความสุขของผูอื่น ดวยเหตุนี้ชาวยูโทเปยจงึมหีลกัมนุษยธรรมเปนหลักการปฏิบติั ทีใ่หความสําคญักบัเพ่ือนมนุษยมากกวาส่ิงอืน่ใด ดงันัน้ สรปุไดวาจริยศาสตรทีป่รากฏอยูในยูโทเปยจึงมแีนวคิดมนุษยนิยม ซ่ึงเนนความมีเมตตากรุณาตอมนุษยและสัตว ใหความสําคัญการปฏิบัติตอมนุษยในสังคมดวยกัน

๗ เจษฎา ทองรุงโรจน, พจนานกุรมอังกฤษ-ไทยปรัชญา, (กรงุเทพมหานคร : สาํนกัพมิพแสงดาว, ๒๕๕๗), หนา ๔๓๑.

๘ ทอมัส มอร (Thomas More), ยูโทเปย (Utopia), แปลโดย สมบัติ จันทรวงศ, พิมพครั้งที่ ๓, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๖), หนา ๔๓.

๙ เร่ืองเดียวกัน, หนา ๑๐๓.

Page 7: ÂÙâ·à» ‚Â Utopiamcuaad.mcu.ac.th/ac/currlncharge/BO/write/82b27807e9.pdf · Utopia พระวันดีกนฺตวีโร (ปะวะเส)* พระครูสุตธรรมาภรณ

253¸ÃÃÁ·ÃÃȹ �ปท่ี ๑๗ ฉบับที่ ๑ ประจําเดือน มกราคม - เมษายน ๒๕๖๐

อยางไรก็ตามแมยูโทเปยจะเปนสังคมอุดมคติ แตสังคมใหคาหรือคุณคาตอสิ่งนั้นนอยมาก แลวไปกําหนดคุณคาใหกับสิ่งอื่นอยางสูงสง เชน ใหคุณคากับเรื่องรูปแบบการปกครอง ผูนํา เปนตน การพิจารณาใหคณุคาทีไ่มถกูจดุ จงึเปนตนเหตุของปญหาตางๆ แมแตการใหคุณคาในเรื่องลึกๆ อยางความดีกับความชั่วการยึดถือเชนนี้ไมสามารถทาํใหมนษุยกาวพนสิง่ดงักลาวได การหลดุพนที่แทจริงคือ การมีสภาพจิตปกติอยูเหนือความแตกตางของสองสิ่งน้ี ทุกปญหาของโลกจึงเปนปญหาของกิเลสตัณหา ชีวิตและสังคมจึงไมสามารถคงความปกติตามกฎธรรมชาติได ระบบการเมืองที่เปนไปเพื่อการกอบโกย เปนการทําใหทุกระบบในสังคมผิดปกติไปหมด โทมัส มอร จึงมีแนวคิดใหคนเราถือครองทรัพยากรเทาท่ีจําเปน และเหลือทรัพยากรสวนกลางไว เพื่อปองกันการขาดแคลน แมโทมัส มอร จะนําเสนอไวรอยรอยปแลว แตเนื้อหามีความเหมาะสมกับสถานการณในปจจุบันอยางมาก และคาดวาจะเหมาะสมกับสถานการณทางการเมืองทุกชวงเวลา เพราะหนังสือเก่ียวกับแนวคิดทางสังคมอุดมคตินั้น แตกตางจากหนังสือประเภทอื่น ตรงที่สามารถแสดงความจรงิขามกาลเวลาได เพราะไมวาเวลาใดกฎธรรมชาติหรือสัจธรรมก็ยังประกาศตัวเอง วามีการคงสภาพแหงการเปนอยางนั้น คือยังคงสภาพเปนไปตามกฎธรรมชาติ แมโทมัส มอร จะมีจดุมงุหมายของการนําเสนอที่ใหความสําคัญกับระบบการเมือง แตแทที่จริงแลว ยูโทเปยเปนการจัดระบบของมนุษยดวยกนัเสยีมากกวา แตในหลายตอนของหนังสอืนี ้ทาน

แสดงใหเห็นวา แมเราจะเรียกกิจกรรมนี้วาเปนเรือ่งการเมือง แตกจิกรรมการเมืองท่ีถกูตอง กเ็ปนอยางอื่นไปไมได ตองทําไปตามเกณฑ ตามท่ีธรรมชาติกาํหนดไววาทุกชวีติจะอยูรอดไดอยางไร ทั้งในแงของรางกายและจิตวิญญาณ เนื้อหาในหนังสือจึงแสดงกฎธรรมชาติที่ชี้ทางเอาไวอยางตายตัว กฎธรรมชาติในหนังสือดังกลาว ยังตองคงเดิมไวเสมอ เน้ือหาดังกลาวจึงขามกาลเวลาได เพราะเวลาไหนๆ มนุษยก็มีปญหา คือมีปญหาวาชีวิตคืออะไร การไมเขาใจวาชีวิตคืออะไร เปนตนเหตขุองปญหาตางๆ รวมท้ังปญหาการเมอืงดวย นี่คือลักษณะเดนของหนังสือที่เปนแนวคิดทางปรัชญาของโทมัส มอรคือ อางอิงไดโดยไมมีขอบเขตของเวลา ดงันัน้ตราบใดท่ีมนษุยยงัมคีวามเห็นแกตัว และความรูสึกดังกลาวนี้กําลังสรางปญหาใหกับสังคม หนังสือเลมนี้สามารถหยิบมาอานทบทวนไดตลอดเวลา ถงึแมจะสรางขึน้มาจากจินตนาการ แตเนือ้หาไดชีไ้ปท่ีความเห็นแกตวัของมนษุยโดยตรง โดยขอรองใหเปล่ียนไปเหน็แกสงัคมเสียบาง ไมเชนนั้นจะเดือดรอนกันไปท้ังหมด เพราะเราอยูในโลกใบเดียวกัน ยูโทเปยที่ทานนําเสนอนั้น ทานไดเนนวามนุษยเราไดละท้ิงระเบียบทางศีลธรรมและศาสนาในบทแรกทานจึงการนําเสนอใหมีการถอยหลังเขาคลอง โดยฟงแลวอาจเขาใจวาเปนการลาหลงั แตเปนการสงความหมายวาแตเดิมเราไมมีปญหาการเมือง เพราะมีความละอายตอบาปแตในระยะหลังนีเ้ราเห็นแกปากทองอยางเขมขนพรอมที่จะทําชั่วไดทุกเมื่อ คุณธรรมความดี และความสํานึกดีของมนุษยจึงจําเปนในการปองกันไมใหเกิดความขัดแยง และเปนการ

Page 8: ÂÙâ·à» ‚Â Utopiamcuaad.mcu.ac.th/ac/currlncharge/BO/write/82b27807e9.pdf · Utopia พระวันดีกนฺตวีโร (ปะวะเส)* พระครูสุตธรรมาภรณ

254 ¸ÃÃÁ·ÃÃȹ � ปท่ี ๑๗ ฉบับที่ ๑ ประจําเดือน มกราคม - เมษายน ๒๕๖๐

สรางสันติภาพไปในตัวบรรณานุกรม

๑. ภาษาไทย (๑) หนังสือ :เจษฎา ทองรุงโรจน. พจนานุกรมอังกฤษ-ไทยปรัชญา. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพแสงดาว, ๒๕๕๗. ทอมัส มอร (Thomas More). ยูโทเปย (Utopia). แปลโดย สมบัติ จันทรวงศ. พิมพคร้ังที่ ๓.

กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๖.ไพฑูรย พัฒนใหญยิ่ง และคณะ. จริยศาสตร. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต, ๒๕๕๑.ฟน ดอกบัว. ปวงปรัชญากรีก. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพศยาม, ๒๕๔๔.สมบัติ จันทรวงศ. ยูโทเปย (Utopia). กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๖.เอม็. เจ. ฮารมอน. ความคิดทางการเมืองจากเพลโตถึงปจจบุนั. เสนห จามริก (ผแูปล). กรงุเทพมหานคร

: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๒๒. (๒) วิทยานิพนธ/ดุษฎีนิพนธ/สารนิพนธ/รายงานการวิจัย :พรพพิา บรรทมศลิป. “การวเิคราะหเรือ่งความยุตธิรรมในอุตมรฐัของเพลโต”. วทิยานพินธอกัษรศาสตร

มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๒๓.