W W. N G T H A I. C O M 2558 120 Ó p -...

10
ฉบับภาษาไทย นิตยสารคุณภาพ ในเครืออมรินทร์ W W W. N G T H A I. C O M กุ ม ภ า พั น ธ์ 2558 120 บ า ท เผยโฉม ศิลปินคนแรก ของโลก ฉบับรวมฮิต สิ ่งแรก ในโลก นักวิทยาศาสตร์หญิง คนแรกของไทยในแอนตาร์กติกา นักบินผาดแผลงหญิง คนแรกของไทย ขวบปีแรก ของชีวิต คนไทยคนแรก ที่พิชิตเอเวอเรสต์ ตัวอย่าง

Transcript of W W. N G T H A I. C O M 2558 120 Ó p -...

  • NA

    TIO

    NA

    L G

    EO

    GR

    APH

    ICคนไทยคนแรก ศิลปินคนแรกของโลก วิกฤติทะเล

    กลืนแผ่นดิน ไรจอมพลัง ขวบปีแรกของชีวิต

    ฉบับภาษาไทย

    นิตยสารคุณภาพ

    ในเครือ

    อมริน

    ทร์

    W W W. N G T H A I. C O M กุ ม ภ า พั น ธ ์ 2 5 5 8 1 2 0 บ า ท

    เผยโฉม

    ศิลปินคนแรก ของโลก

    ฉบับรวมฮิต

    ส่ิงแรกในโลก

    นักวิทยาศาสตร์หญิง คนแรกของไทยในแอนตาร์กติกานักบินผาดแผลงหญิง คนแรกของไทย

    ขวบปีแรก ของชีวิตคนไทยคนแรก ที่พิชิตเอเวอเรสต์

    ตัวอย่าง

  • O F F I C I A L J O U R N A L O F T H E N AT I O N A L G E O G R A P H I C S O C I E T Y

    22 คนไทยคนแรก

    พบเรื่องราวของคนไทยไม่เป็นสองรองใคร  จากนักวิทยาศาสตร์ถึงนักบินผาดแผลง  คนเก็บอดีตถึงนักล่าไดโนเสาร์  และนักปีนเขา เรื่อง  ราชศักดิ์  นิลศิริภาพถ่าย  เอกรัตน์  ปัญญะธารา 

    74

    42 ศิลปินคนแรก ๆ ของโลก

    นวัตกรรมอันยิ่งใหญ่ที่สุดอย่างหนึ่งของมนุษยชาติคือ  การแสดงออกเชิงสัญลักษณ์  ใครคือผู้อยู่เบื้องหลังงานศิลป์ชิ้นแรกๆ ของโลกเหล่านี ้               เรื่อง  ชิป  วอลเตอร์ภาพถ่าย  สตีเฟน  อัลวาเรซ

    94ไรจิ๋วจอมพลัง

    พวกมันคืบคลานและออกลูกออกหลานในถิ่นอาศัยแสนพิสดาร  บ้างตั้งฐานปฏิบัติการบนร่างกายสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น  เช่นบนใบหน้าของคุณ  เรื่อง  ร็อบ  ดันน์ภาพถ่าย  มาร์ติน  เอิกแกร์ลี

    106ขวบปีแรกของชีวิต

    สมองของทารกซึ่งเป็นเครื่องจักรแห่งการเรียนรู้อันน่าทึ่ง  ต้องการความรักในการพัฒนาโดยเฉพาะในช่วงเวลาหัวเลี้ยวหัวต่ออย่างขวบปีแรกเร่ือง  ยุธิจิต  ภัตตาจาร์จิ ภาพถ่าย  ลินน์  จอห์นสัน

    ทะเลกลืนกินแผ่นดิน

    ระดับทะเลที่สูงขึ้นนอกชายฝั่งฟลอริดา  คือหนังตัวอย่างของผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เมืองชายฝั่งทั่วโลกพึงระวังเรื่อง  ลอรา  ปาร์กเกอร์  ภาพถ่าย  จอร์จ  สไตน์เมตซ์

    ประจักษ์พยาน | โลกกำาลังจมน้ำา  ช่างภาพผู้ห่วงใยปัญหาสิ่งแวดล้อม  บันทึกภาพชีวิตผู้คนที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยทั่วโลก      เรื่องและภาพถ่าย  กีเดียน  เมนเดล

    ที่เมืองคออีร์ปูร์นาธาน ชาห์  ในปากีสถานชาวบ้านคนหนึ่งยืนแช่นํ้าท่วมสูงเกือบถึงอก อุทกภัยเมื่อปี 2010 ทําให้พื้นที่ถึงหนึ่งในห้าของประเทศจมอยู่ใต้นํ้า

    กุมภาพันธ์ 2558

    ปี ท่ี 1 4 • ฉ บั บ ท่ี 1 6 3

    ตัวอย่าง

  • กุมภาพันธ์ 2558

    คอลัมน์ประจำา

    4 จากบรรณาธิการ

    6 จดหมาย

    8 มุมมองเปลี่ยนโลก

    13 สำารวจโลก

    ธรรมชาติ

    ถั่วคุดซู  จอมเลื้อยลามทุ่ง

    ภูมิอากาศ

    การเปลี่ยนแปลงสภาพ

        ภูมิอากาศกับคอนเทรล

        หรือ “เมฆหางเครื่องบิน”

    อารยธรรม

    คืนชีวิตให้งานศิลป์

        แห่งนครวัด

    18 ภาษาภาพ

    ภาพเด่นของคุณ

        ภาพนี้ต้องขยาย

    135 สัตว์ก็มีหัวใจ

    136  ฉบับหน้า

    แผ่นพับพิเศษ ทุกสิ่งต้องมีครั้งแรก

    ภาพปก ราว 36,000 ปีก่อน ศิลปินรุ่นแรกๆ ของโลกรังสรรค์แผงภาพรูปม้า(The Horse Panel) ขึ้นภายในถํ้า โชเว-ปง-ดาร์กประเทศฝรั่งเศส 

    ภาพถ่าย  สตีเฟน  อัลวาเรซ

    สํานักงานนิตยสารบริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำ�กัด (มห�ชน)เลขที่ 378ถนนชัยพฤกษ์ แขวงตลิ่งชันเขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170

    กองบรรณาธิการโทรศัพท์ 0-2422-9999 ต่อ 4700โทรส�ร 0-2422-9999 ต่อ 4715E-mail: [email protected]

    แยกสีและพิมพ์ที่ฝ�่ยโรงพิมพ์บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำ�กัด (มห�ชน) เลขที่ 376ถนนชัยพฤกษ์ (บรมร�ชชนนี)เขตตลิ่งชันกรุงเทพฯ 10170โทรศัพท์ 0-2422-9000โทรส�ร 0-2433-2742,0-2434-1385

    จัดจําหน่ายทั่วประเทศโดยบริษัทอมรินทร์บุ๊คเซ็นเตอร์ จำ�กัด เลขที่ 108หมู่ที่ 2ถนนบ�งกรวย-จงถนอมตำ�บลมห�สวัสดิ์อำ�เภอบ�งกรวยจังหวัดนนทบุรี 11130โทรศัพท์ 0-2423-9999โทรส�ร 0-2449-9222,0-2449-9500 - 6

    ฝ่ายโฆษณาโทรศัพท์ 0-2422-9999 ต่อ 4750

    ฝ่ายสมาชิกโทรศัพท์ 0-2423-9999 กด 2โทรส�ร 0-2449-9222, 0-2449-9500 - 6 E-mail: [email protected]

    ภ�พและข้อเขียนเป็นของเนชั่นแนล จีโอกร�ฟฟิกขอสงวนลิขสิทธิ์ต�มกฎหม�ย

    ติดต่อเรา

    A_PEA ECO NG_02-58.pdf 1 1/13/15 1:59 PM

    ตัวอย่าง

  • มองไปสู่อนาคตเนชั่นแนล  จีโอกราฟฟิก ฉบับนี้มุ่งเสนอแนวคิดว่าด้วยเรื่องแรก ๆ  ทั้งการค้นพบ  นวัตกรรมและการกระทำาที่เปลี่ยนโลกนี้ไป  ในการทำาเช่นนั้น  คำาถามที่เกิดตามมาคือ  เราจะคาดการณ์สิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้อย่างไร อะไรจะเป็นสิ่ง “แรก ๆ” ที่จะเปลี่ยนแปลงเรา ครอบครัว  ชุมชน  และโลกของเราในอีก5,  10  หรือ 20 ปีข้างหน้า

       เพื่อตอบบางคำาถามเหล่านั้น  เราขอคำาแนะนำาจากผู้เชี่ยวชาญและนักอนาคตวิทยา ผู้ใคร่ครวญถึงความเปลี่ยนแปลงที่กำาลังจะมาถึงตัวอย่างเช่น  พอล  แซฟโฟ  กูรูด้านไฮเทคทำานายไว้เมื่อป ี 1994 (สี่ปีก่อนจะมีการก่อตั้งเว็บไซต์กูเกิล) ว่า  อนาคตเป็นของ “คนที่ควบคุมเครื่องมือในการกลั่นกรอง  ค้นหา  และการให้ความหมาย  ซึ่งเราจะต้องพึ่งพาเพื่อนำาทางผ่านพืน้ที่แห่งข้อมูลอันซำ้าซากท่วมท้นในไซเบอร์สเปซ”ช่างแม่นเสียนี่กระไร! 

      ไม่ว่าจะเป็นการปิดฉากยุคของเครื่องยนต์แบบเผาไหม้ที่ใช้ในรถยนต์ทั่วไป  หรือแนวโน้มของการหย่าร้างที่ลดลง  เราหวังว่าคุณจะได้อาหารความคิดด ีๆ จากผู้เชี่ยวชาญเหล่านั้น  ขณะที่เราก้าวย่างเข้าสู่ป ี 2015  คำาเตือนข้อหนึ่งคือ  ขึ้นชื่อว่า “ทำานาย” ย่อมไม่มีคำาว่า “ถูกต้อง” เสมอไป  ดังคำาทำานายหนึ่งที่ว่าไซเบอร์พังก ์ (cyberpunk) จะระบาดในช่วงทศวรรษ 1990  ทำานองเดียวกับวัฒนธรรมฮิปปี้สมัยทศวรรษ 1970  เรายังคงตั้งตาคอยขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมนั้นอยู่เรามามองไปข้างหน้าเพื่อร่วมเป็นประจักษ์พยานในสิ่งแรก ๆ ต่อไปกันเถิด 

    จากบรรณาธิการ

    แรกน้ันสำ�คัญไฉน

    ซูซาน  โกลด์เบิร์กบรรณาธิการนิตยสารเนชั่นแนล  จีโอกราฟฟิก

    เร�จะใช้ชีวิตอย่�งไรภ�ยใน 5 ถึง 10 ปีข้�งหน้�

    พอล  แซฟโฟ  นักพยากรณ์ด้านเทคโนโลยี

    เร�จะรักอย่�งไรภ�ยใน 10 ถึง 20 ปีข้�งหน้�

    เพ็ปเปอร์  ชวอร์ตซ์ศาสตราจารย์  มหาวิทยาลัยวอชิงตัน

    รถยนต์ไร้คนขับจะใช้ถนนร่วมกับรถยนต์ธรรมดา  ผู้คนจะเลิกครอบ-ครองรถยนต์ส่วนตัว  เมื่อต้องการไปที่ไหนสักแห่ง  คุณจะสมัครเป็นสมาชิกศูนย์บริการรถยนต์  แล้วรถก็จะมาจอดรอหน้าประตูบ้านคุณ

    เรากำาลังก้าวผ่านยุคของเศรษฐกิจแบบซื้อขาย   เราจะสมัครเป็นสมาชิกเพื่อใช้บริการ  แทนการจ่ายเงินเพื่อซื้อหามาครอบครอง อย่างเช่น  สมาร์ตโฟน  เราจะไม่ซื้อซอฟต์แวร์อีกต่อไป  แต่จะสมัครใช้งานแทน

    ศาสนาใหม่อาจเกิดขึ้นในอีกหนึ่งหรือสองทศวรรษข้างหน้า  บางทีอาจมีรากฐานมาจากสิ่งแวดล้อม  เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นเสมือนตัวทำาละลายที่สลายกาวซึ่งยึดโครงสร้างทางสังคมของโลกไว้ด้วยกัน รวมถึงสั่นคลอนระบบความเชื่อของเราจนถึงแก่น

    การหย่าร้างอาจลดลง  หลังจากคนที่เกิดในยุคเบบี้บูม (baby boom)  ซึ่งมีอัตราการหย่าร้างสูง  แก่ตัวลงเข้าสู่ช่วงอาย ุ 50-60 ปี

    เรายังจะเห็นผู้คนจำานวนมากขึ้นที่รักกัน  แต่ไม่ได้ใช้ชีวิตร่วมกัน แม้จะเป็นคู่รัก  แต่พวกเขาอาจอยู่กันคนละที่เพราะอาชีพการงานหรือครอบครัว  หรือไม่ก็เพราะผูกพันกับสถานที่ที่อาศัยอยู่  บางทีเราอาจได้เห็นผู้คนไปมาหาสู่กันระหว่างสถานดูแลผู้สูงอายุตัวอย่าง

  • ศิลปกรรม: โอลิเวอร์ มันเดย์

    เร�จะแก่ตัวอย่�งไรภ�ยใน 20 ปีข้�งหน้�

    ไบรอน  รีส  ผู้ประกอบการด้านเทคโนโลยี

    เร�จะขับเคลื่อนอย่�งไรภ�ยใน 50 ปีข้�งหน้�ไมเคิล  บรูน  ผู้อำานวยการ  องค์กรเซียร์ราคลับ

    เร�จะรักษ�อย่�งไรภ�ยใน 10 ถึง 20 ปีข้�งหน้�แบร์ตาลัน  เมชโกนักอนาคตวิทยาด้านการแพทย์ผู้เขียนหนังสือ The Guide tothe Future of Medicine

    ในหลายทศวรรษข้างหน้า  การแพทย์และสาธารณสุขจะมุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยีพร้อม ๆ ไปกับการรักษาความเป็นมนุษย์เอาไว้

    ทุกคนจะได้รับการหาลำาดับเบสของจีโนมเพื่อเข้าถึงการรักษาเฉพาะบุคคล

    เราจะประเมินผลสุขภาพเกือบทั้งหมดที่บ้านโดยใช้อุปกรณ์วินิจฉัยโรคและสมาร์ตโฟน

    การปฏิวัติด้านการพิมพ์สามมิติจะสร้าง“ชุดหุ่นยนต์” และกายอุปกรณ์สำาหรับผู้ป่วยในราคาที่หาซื้อได้

    ผู้เขียนหนังสือ  Inf inite  Progress:  How  the  Internet  and  Technology  WillEnd  Ignorance,  Disease,  Poverty,  Hunger,  and  War

    นับตั้งแต่เทคโนโลยีเติบโตแบบยกกำาลัง  เราจะได้เห็นวิถีชีวิตเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นภายในเวลาเพียงไม่กี่ปี  แม้ว่าเราต้องใช้เวลาถึง 4,000 ปีกว่าจะเปลี่ยนจากการใช้ลูกคิดมาเป็นไอแพ็ด  ทว่าในอีก 20 ปีข้างหน้า  เราจะมีบางสิ่งที่ก้าวหน้ากว่าไอแพ็ดพอ ๆ กับที่มันก้าวหน้ากว่าลูกคิด  นั่นหมายความว่าในไม่ช้าเราจะสามารถแก้ปัญหาพื้นฐานเชิงเทคนิคได้ทั้งหมด  ปัญหาเหล่านั้นรวมถึงโรคภัยไข้เจ็บ  ความยากจน  ความหิวโหย  พลังงาน  และความขาดแคลนถ้าเราอายุยืนขึ้นได้อีกสักไม่กี่ปี  “ก็มีความเป็นไปได้จริง ๆ ว่า  คนเราจะไม่ตาย เพราะการตายอาจเป็นเพียงปัญหาทางเทคนิคข้อหนึ่งที่เราแก้ไขได้”

    ผู้เขียนหนังสือ Coming Clean: Breaking America’s Addiction to Oil and Coal

    ภายใน 50 ปี  โลกน่าจะมีระบบเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยพลังงานสะอาด 100 เปอร์เซ็นต์  ภายใน 20-30 ปี  ไฟฟ้าที่ใช้จะมาจากแหล่งพลังงานสะอาดหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ได้  และไร้คาร์บอน  ไม่นานหลังจากนั้น  พลังงานสุริยะและพลังงานลมจะแทนที่พลังงานนิวเคลียร์  เมื่อถึงตอนนั้น  เราจะผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนได ้ 100 เปอร์เซ็นต์  พอถึงป ี 2030  เราน่าจะลดการใช้นำ้ามันเพื่อการขนส่งลงได้ครึ่งหนึ่ง  และลดลงได้อีกครึ่งหนึ่งในอีกสิบปีหลังจากนั้น

    เมื่อเราเลิกใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลได้ในที่สุด  เราจะไม่เพียงเห็นสภาพภูมิอากาศมีเสถียรภาพกว่าที่เป็นอยู่เท่านั้น  แต่เรายังจะรู้สึกมั่นคงปลอดภัยที่รู้ว่า  พลังงานทั้งหมดของเรามาจากแหล่งที่ปลอดภัย  มั่นคง  และยั่งยืน

    “มีความเป็นไปได้จริง ๆ ว่า คนเราจะไม่ตาย

    เพราะการตายอาจเป็นเพียงปัญหาทางเทคนิค

    ข้อหนึ่งที่เราแก้ไขได้” —ไบรอน  รีส

    ตัวอย่าง

  • 6 NATIONAL GEOGRAPHIC • กุ ม ภ า พ ัน ธ 2558

    ขอบคุณที่ปรึกษาประจำาฉบับ:  คุณนฤมล  นุชวานิช  และคุณธนิดา  สุขจรน ิ(ภาษาศาสตร์)  อ.อรุณ เฉตตีย ์(ภาษาอินเดีย)  คุณกุณฑีรา  สถิตยุทธการ (ภาษาอิสราเอล)  อ.สิทธา  เลิศไพบูลย์ศิริ (กลุ่มภาษาอินโด)คุณปณต  ไกรโรจนานันท์  และคุณรุ่งโรจน์  จุกมงคล (สัตววิทยา)  ดร.สุขสวัสดิ์  พลพินิจ (กีฏวิทยา)รศ.สรรค์ใจ  กลิ่นดาว  และดร.บุศราศิริ  ธนะ (ธรณีวิทยา)  คุณสุชาดา  วงศ์ภาคำา (พฤกษศาสตร์) นพ.มัยธัช  สามเสน (แพทยศาสตร์)คณะผู้แปล:  ศรรวริศา  เมฆไพบูลย ์(ทะเลกลืนกินแผ่นดิน)  ปณต  ไกรโรจนานันท์ (ไรจิ๋วจอมพลัง)นพ.อรรคพัฐ  โกสิยตระกูล (ขวบปีแรกของชีวิต)  อัครมุนี  วรรณประไพ (ศิลปินคนแรก ๆ ของโลก)บุณฑริกา  แสงอรุณ (โลกกำาลังจมนำ้า)

    สิ่งแรกหรือครั้งแรกในโลก  แต่ก็ไม่เป็นสองรองใคร  ตั้งแต่นักเก็บสะสมอดีตผู้อุทิศชีวิตเพื่ออนุรักษ์ความทรงจำามิให้ถูกหลงลืม  นักบินผาดแผลงหญิงคนแรกของไทยผู้หลงใหล  “โลกอัปไซด์ดาวน์”  บนฟากฟ้า  นักล่าไดโนเสาร์ผู้บุกเบิกวงการบรรพชีวินวิทยาของไทย  หนุ่มใหญ่นักฝันผู้กลายเป็นคนไทยคนแรกณ  จุดสูงที่สุดบนพื้นพิภพ  ไปจนถึงนักวิทยาศาสตร์หญิงคนแรกของไทยผู้ทำาความฝันวัยเด็กให้เป็นจริงด้วยการไปเยือนดินแดนแอนตาร์กติกามาแล้วถึงสองครั้งสองครา  พลิกไปอ่านเรื่องราวของเขาและเธอเหล่านั้นกันได้เลยครับ ก่อนจากกัน  ขออนุญาตนำาเศษเสี้ยวประวัติศาสตร์เล็ก ๆ ของ  เนชั่นแนลจีโอกราฟฟิก  ฉบับภาษาไทยมาฝากกันครับ  ปกแรกทางซ้ายคือ  นิตยสารเนชั่นแนล  จีโอกราฟฟิก  ฉบับเดือนตุลาคม  ค.ศ.  1906  (พ.ศ.  2449) ซึ่งเป็นฉบับแรกที่ตีพิมพ์เรื่องราวและภาพถ่ายจากเมืองไทย  (สารคดีว่าด้วยการคล้องช้างสมัยรัชกาลที่ห้า)  ส่วนปกที่สองคือปกนิตยสาร  เนชั่นแนล จีโอกราฟฟิก  ฉบับภาษาไทย  เดือนสิงหาคม  2544  ซึ่งเป็นฉบับปฐมฤกษ์ของเราครับ  สองเล่มนี้อายุอานามห่างกันไม่มากไม่น้อย  95  ปีพอดิบพอดี

    ลุ้นรับ Dentiste' Exclusive Oral Care Set

    จาก Smooth-E มูลค่า 1,500 บาท

    จำานวน 2 รางวัล เพียงอ่าน เนชั่นแนล

    จีโอกราฟฟิก ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ 2558

    แล้วตอบคำาถามต่อไปนี้

    ➊ ตัวกระตุ้นและกิจกรรมต่างๆ ช่วยสร้างโครงข่ายประสาทให้สมองของทารกได้อย่างไร

    ➋ ในอนาคต  ฟลอริดาอาจถูกนํ้าท่วมเป็นวงกว้างเนื่องจากสาเหตุใด

    ➌ ไรมีวิธีโยกย้ายจากถิ่นอาศัยแห่งหนึ่งไปยังอีกแห่งหนึ่งอย่างไร 

    ➍ ศิลปวัตถุโลเวนเมนช์น่าทึ่งที่สุดในแง ่ใด➎ ท่านมีความคิดเห็นต่อสารคดีเรื่องคนไทยคนแรก อย่างไรบ้าง

    ➏ ท่านชอบและไม่ชอบสารคดีเรื่องใดในฉบับนี้มากที่สุด  เพราะเหตุใด

    กติกา: ตอบคําถามให้ครบทุกข้อ

    พร้อมระบุชื่อ  ที่อยู่  และหมายเลข

    โทรศัพท์  ส่งไปรษณียบัตรหรือ

    จดหมายมายัง  กองบรรณาธิการ

    นิตยสารเนชั่นแนล  จีโอกราฟฟิก

    ฉบับภาษาไทย  บริษัทอมรินทร์

    พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง  จํากัด

    (มหาชน)  เลขที ่378

    ถนนชัยพฤกษ์  แขวงตลิ่งชัน

    เขตตลิ่งชัน  กรุงเทพฯ 10170 

    วงเล็บมุมซอง “ชิงโชค NGM”

    หมดเขตร่วมสนุกภายในวันที่

    28 กุมภาพันธ์ 2558

    รายชื่อผู้โชคดีประจำาเดือนธันวาคม 2558

    (หนังสือ ท่องโลก A-Z เล่ม 1

    มูลค่า 325 บาท)

    1. คุณนนท์นที ใจสาร จังหวัดพิษณุโลก

    2. ด.ญ. ปราณขวัญ มณีเนตร

    จังหวัดปทุมธานี

    3. คุณพะอบทิพย์ จันทนามัย กรุงเทพฯ

    อ่านดี ๆ มีรางวัล

    Events & Promotions

    เนชั่นแนล  จีโอกราฟฟิก ในมือคุณผู้อ่านฉบับนี้นำาเสนอเรื่องราวว่าด้วย“สิ่งแรก ๆ”  ตั้งแต่ศิลปิน รุ่นแรก ๆ ของโลก  ไปจนถึงขวบปีแรกของชีวิต และเพื่อให้เข้ากับธีมเล่มเรายังภูมิใจนำาเสนอเรื่องราวชีวิตและผลงานของคนไทยที่แม้อาจไม่ใช่

    จดหมาย

    [email protected]

    รำ�ลึก 10 ปีสึน�มิ รู้สึกสงสารชาวบ้านในพื้นที่ที่ถูกสึนามิถล่ม  ต้องสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก  ที่อยู่อาศัย  และอาชีพ  แต่โลกก็ยังหมุนต่อไป  ธุรกิจท่องเที่ยวที่สลบไปได้สักพักก็ฟื้นคืนกลับมาใหม่  ทำาให้เห็นความจริงตามหลักพระพุทธศาสนาที่ว่า  เมื่อสิ่งหนึ่งดับไป  ก็มีสิ่งใหม่

    เกิดขึ้นทดแทน  พอถึงเวลาหนึ่งก็สูญสิ้นไป  แต่ภัยพิบัติแบบสึนามิทำาให้คนไทยรู้จักปกป้องตัวเองมากขึ้น  เช่น  สร้างหอเตือนภัยจากแผ่นดินไหวหรือสึนามิ  ซึ่งเป็นก้าวหนึ่งที่นำาไปสู่การใช้ชีวิตอย่างไม่ประมาท

    ผะอบทิพย์  จันทนามัยกรุงเทพฯ

    ตัวอย่าง

  • เขียนถึงเรา

    จดหมายจ่าหน้าซองถึงนิตยสารเนชั่นแนล  จีโอกราฟฟิก  ฉบับภาษาไทย  บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง  จำากัด  (มหาชน)  378ถนนชัยพฤกษ์  เขตตลิ่งชัน  กรุงเทพฯ  10170อีเมล  [email protected]โทรสาร  0-2422-9999  ต่อ  4715 โปรดระบุชื่อ  ที่อยู่  และหมายเลขโทรศัพท์ที่ติดต่อได้ในวันทำางาน  นิตยสารขอสงวนสิทธิ์ในการแก้ไขและตัดทอนข้อความของท่านเพื่อความเหมาะสม

    จดหมาย

    การเกิดแผ่นดินไหวแล้วตามมาด้วยสึนามิเป็นอุบัติภัยธรรมชาติที่ยังไม่มีเครื่องมือตรวจสอบเพื่อคาดหมายพยากรณ์ล่วงหน้าได ้เพราะความรู้ด้านวิทยาการยังก้าวหน้าไปไม่ถึง  ด้วยเหตุนี้จึงเกิดความเสียหายใหญ่หลวงต่อชีวิต และทรัพย์สิน  ส่งผลที่ตามมาคือการฟื้นฟูบ้านเมืองให้เป็นระเบียบขึ้น และการวางผังเมือง  ตลอดจนการจัดการกับสิ่งปลูกสร้างทั้งของเก่าและของใหม่  เพื่อลดความเสียหายในอนาคต  กระตุ้นให้ทางราชการเร่งหามาตรการต่าง ๆ  เพื่อเตือนภัยแก่ประชาชนอย่างถูกต้อง  แม่นยำา และรวดเร็วขึ้น  เช่น  ติดตั้ง เครื่องมือตรวจวัดปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดอุบัติภัย  การซักซ้อม หนีภัยของประชาชน  เพื่อไม่ให้ ตื่นตระหนกเกินไป  ทำาให้การช่วยเหลือเป็นระบบช่วยลดความเสียหายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    ปกรณ์  อุทัยพันธุ์สงขลา

    เป็นการบอกเล่าและตีแผ่ทุกสิ่งทุกอย่างที่สึนามิทิ้งไว้เป็นอนุสรณ์  สิ่งที่ขาดหาย  สิ่งที่เพิ่มเติม ทั้งหมดล้วนอยู่ในความเปลี่ยนแปลงตลอดระยะเวลาสิบปีที่ผ่านมา

    และคาดว่าตลอดไป  สิ่งเดียวที่ กาลเวลาไม่อาจทำาอะไรได้คือ ความทรงจำาของผู้คน... บทเรียน ในครั้งนั้นควรเป็นเครื่องเตือนใจแก่คนรุ่นหลัง  ขอให้จริงจังกับระบบเตือนภัย  เราเอาชีวิตใครกลับมาไม่ได้  แต่เราสามารถปกป้องชีวิตของทุกคนได้เมื่อเกิดเหตุการณ์ครั้งใหม่  แต่ภายใต้วิกฤติก็ยังมีโอกาส  นั่นคือระบบนิเวศใต้นำ้ามีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น

    รวีวรรณ  บุญเชิดกรุงเทพฯ

    อ�ห�รคือคว�มรื่นรมย์ตราบใดที่เรายังมีใครนั่งร่วมรับประทานอาหารด้วย  อาหารก็ยังเป็นความชอบ  ความสนุก  และความรื่นรมย์  เราสนุกที่ทำา             กิจกรรมนี้กับญาติสนิทมิตรสหายด้วยความชอบและความผูกพัน   โดยเฉพาะเมื่อรับประทานอาหารพร้อมกับนึกถึงความรักที่ใส่ลงไป  อาหารสื่อความหายได้หลายอย่าง  ไม่ใช่แค่สื่อว่า  ฉันรวย  ฉันจน แต่ยังสื่อถึงความเหนื่อยยากของผู้คนที่อยู่เบื้องหลังวัตถุดิบเหล่านั้น และความรักที่คน “ปรุง” ใส่เข้าไปในอาหาร  รอยยิ้มที่ปรากฏบนใบหน้าของทุกคนเวลารับประทานอาหารมีพลังบรรเทาความเจ็บปวด ความทุกข์ทรมานได้  อาหารเป็นได้หลายอย่าง  สื่อได้มากกว่าที่คิด  แต่ก็อย่าลืมขอบคุณผู้มอบอาหารนี้ให้เรา  คือ  โลก ดวงอาทิตย์  และพระเจ้า 

    ปราณขวัญ  มณีเนตรปทุมธานี

    [email protected]

    หัวหน้ากองบรรณาธิการ ลลิตา ผลผลากองบรรณาธิการ  ฤทธิยา เตชะเสน,  ภัทราพร จงแจ่ม, ราชศักดิ์ นิลศิริซับเอดิเตอร  มนทิรา วงศ์ชะอุ่มประสานงานต่างประเทศ  หทัยภัทร นวปราโมทย์เลขานุการและพิสูจนอักษร  ภุมรินทร์ วณิชย์เจริญนำาบรรณาธิการฝ่ายศิลป์  ธวัลรัตน์ ลิ้มวัฒนพันธ์ชัยฝ่ายศิลปกรรม  ทิพาพร อภิธรรมสุนทร,เรืองเพชร เวชวิทย์ช่างภาพ  เอกรัตน์ ปัญญะธารา

    ที่ปรึกษาฝ่ายโฆษณา  อุไรวรรณ สุนทรหงษ์ผู้อำานวยการฝ่ายโฆษณา วลีรัตน์ ศักดิ์ขจรยศผู้จัดการฝ่ายธุรกิจโฆษณา พรศิริ เทศชุติธรรมกูลฝ่ายโฆษณา  ธัญวรรณ สิตไทย, อัญชิษฐา สวยดีครีเอทีฟโฆษณา  คณาพร ผาสุขประสานงานโฆษณา  บุปผชาติ จั่นขุนทด

    ผู้จัดการส่วนบัญชีโฆษณา  วันนา จันทิมาแผนกบัญชีโฆษณา  อัญชลี หลั่งนำ้าสังข์,วิยะดา จันทร

    ประสานงานการผลิต  ไตรรัตน ์ทรงเผ่า

    ผู้อำานวยการฝ่ายการตลาดและสื่อสารแบรนด

    นำ้าทิพย์ เงินแย้มการตลาดและสื่อสารแบรนดศุภมิต นำาประดิษฐ์, เบญจพร นาทีกาญจนลาภ,นริสา สืบสาม

    คณะที่ปรึกษาไพฑูรย์ พงศะบุตร, จิรายุพิน จันทรประสงค์,นิพนธ์ ทรายเพชร, ประมวล โกมารทัต,  ดร.บรรพต ณ ป้อมเพชร  

    บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่งจำากัด (มหาชน) 378 ถนนชัยพฤกษ์เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170โทรศัพท์ 0-2422-9999โทรสาร 0-2434-3555, 0-2434-3777E-mail: [email protected]: http://www.amarin.co.th

    ผู้ก่อตั้งชูเกียรติ อุทกะพันธุ์

    ประธานกรรมการบริหารเมตตา อุทกะพันธุ์

    รองประธานกรรมการบริหารสุภาวดี โกมารทัต

    กรรมการผู้จัดการใหญ่ระริน อุทกะพันธุ์ ปัญจรุ่งโรจน์

    กรรมการผู้จัดการสายธุรกิจโรงพิมพชีวพัฒน์ ณ ถลาง

    สุภาวดี โกมารทัต  บรรณาธิการที่ปรึกษาและบรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณานวลจันทร ศุภนิมิตร  กรรมการผู้จัดการสายงานนิตยสารโกวิทย ผดุงเรืองกิจบรรณาธิการบริหาร

    ตัวอย่าง

  • รีเบกกา เฮล

    มุมมองเปลี่ยนโลก

    เสนอชื่อคนที่คุณอยากฟังมุมมองเปลี่ยนโลกไดที่ nationalgeographic.com/3Q

    ชื่อรายการ A NEW WILD มีความหมายว่าอย่างไร

    ผมต้องการสื่อว่า มนุษย์เราเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาต ิ และ การอนุรักษ์ธรรมชาติเท่ากับเป็นการช่วยตัวเราเองด้วย ธรรมชาต ิไม่ใช่สิ่งไกลตัวเรา แต่เป็นสิ่งที่มีชีวิต มีลมหายใจ และเป็น ส่วนหนึ่งของเรา

    ท�าไมรายการนี้ถึงมีความส�าคัญนัก

    ผมรักธรรมชาติ ผมอาศัยอยู่ที่มอนแทนา เติบโตขึ้นใน แอฟริกา ส�าหรับผม ป่าเขาล�าเนาไพรเกือบจะเหมือนที่พักพิงทางจิตวิญญาณ แต่ความรักเพียงอย่างเดียวไม่อาจรักษา ธรรมชาติไว้ได้ ในบางกรณีอย่างที่คุณจะได้ดูในรายการ เวลาที่ธรรมชาติเสียสมดุลหรือถูกท�าลาย ผลกระทบที่มีต่อชีวิตมนุษย์นั้นใหญ่หลวงนัก ผมคิดว่าคนทั่วไปยังไม่ตระหนักถึง เรื่องนี้ เพราะถ้าเราเข้าใจ เราคงจะไม่ท�าในหลาย ๆ เรื่อง อย่างที่ท�าอยู่ตอนนี้หรอกครับ

    ถ้าเช่นนั้น คุณยังมีความหวังกับอะไรบ้าง

    รายการของเราน�าเสนอเรื่องราวที่มีทางออก เราจะพา คุณไปถึงแนวหน้า เช่น พาคุณไปดูแพนด้ายักษ์ซึ่งเป็น สัตว์หายากที่สุดชนิดหนึ่งในโลกและอาศัยอยู่ในสถานที่ที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดแห่งหนึ่งในโลก ได้หวนคืนกลับ สู่ป่า คุณจะได้เห็นว่า ชุมชนหลายแห่งในบังกลาเทศ อยู่ร่วมกับเสืออย่างไร ทั้ง ๆ ที่พวกมันสังหารคน ในครอบครัวของพวกเขา ส่วนที่เมืองออสติน รัฐเทกซัส เมืองทั้งเมืองช่วยกันอนุรักษ์ค้างคาวไว้ หรือจะเป็นในอ่าวนิวยอร์กที่ซึ่งประชากรหอยนางรมก�าลังฟื้นตัวขึ้นใต้ร่มเงาตึกระฟ้า เรื่องราวเหล่านี้ท�าให้ผมมีความหวังว่า เมื่อใดก็ตามที่เราเข้าใจธรรมชาติ เราจะสามารถเก็บเกี่ยวพลังที่จะท�าให้ ทั้งธรรมชาติและชีวิตเราดีขึ้นไปพร้อม ๆ กันได้

    ท�ำไมผมถึงรัก

    รำยกำร NEW WILD

    เอ็ม.  สัญชัยยัน เป็นนักชีววิทยาเชิงอนุรักษ์และรองประธานกรรมการบริหารขององค์กรอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมนานาชาต ิ (Conservation International) เขายังเป็นพิธีกรรายการโทรทัศน ์ EARTH: A New Wild ของเนชั่นแนล จีโอกราฟฟิก ซึ่งจะออกอากาศในวันที ่ 4 กุมภาพันธ ์ ทางช่องพีบีเอส สัญชัยยันตระเวนเดินทางไปยัง 15 ประเทศในช่วงห้าปีที่ผ่านมา เพื่อถ่ายท�าภาพยนตร์สารคดีห้าตอนจบชุดนี้

    ตัวอย่าง

  • REM

    OV

    E POSTER

    HER

    E

    A B C

    ทุกสิ่งต้องมีครั้งแรก  อันที่จริงมีเรื่องที่เป็น “ครั้งแรก” เกิดขึ้นหลายครั้ง

    เสียจนเราอาจหลงลืมไปว่า  เหตุการณ์สำาคัญ ๆ ครั้งแรกเหล่านั้นเกิดขึ้นเมื่อไรบ้าง 

    เหตุการณ์ครั้งแรกบางเรื่องเกิดขึ้นนานกว่าที่เราคิด  เช่น  การผ่าตัดทำาคลอด

    ครั้งแรกในสหรัฐฯ เกิดขึ้นเมื่อปี 1794  โดยสามีของผู้ป่วยเป็นผู้ลงมือผ่าตัดเอง 

    ส่วนเหตุการณ์ครั้งแรกอื่น ๆ เกิดขึ้นตามลำาดับที่อาจอยู่เหนือความคาดหมาย 

    เช่น  มีการทำาแผนที่ดวงจันทร์เป็นเวลาหลายร้อยปีก่อนการทำาแผนที่ก้นสมุทร

    ไฟ

    หนึ่งล้านปีก่อน

    มนุษย์เรียนรู้วิธีการใช้ไฟ

    1st

    เริ่มเลี้ยงปศุสัตว์

    9000 ปีก่อน

    คริสตกาล

    มีการนำาแกะและแพะมาเลี้ยงในตะวันออกกลาง

    ตามด้วยหมูและวัวควาย

    กีฬาโอลิมปิก

    776 ปีก่อน

    คริสตกาล

    การแข่งขันมีความ เชื่อมโยงอย่างใกล้ชิด

    กับเทศกาลเฉลิมฉลองบูชามหาเทพซูส

    ดินปืน

    ศตวรรษที่เก้า

    ชาวจีนค้นพบดินปืนระหว่างคิดค้นสูตรนำ้าอมฤต

    แท่นพิมพ์

    ค.ศ. 1439

    เทคโนโลยีนี้ปฏิวัติวงการ

    การผลิตหนังสือ

    แผนที่โลกฉบับ

    สมบูรณ์แผ่นแรก

    ค.ศ. 1507

    มีการแสดงแผนที่ซีกโลกตะวันตก

    เป็นครั้งแรก

    เปียโน

    ราว ค.ศ. 1700

    ว่ากันว่า บาร์โทโลเมียว คริสโตโฟรี เป็นผู้คิดค้น

    เปียโนสมัยใหม่

    แผนที่ทางวิทยาศาสตร์

    ของดวงจันทร์

    ค.ศ. 1679

    โจวันน ี กัสซีนี วาดภาพภูมิทัศน์ของดวงจันทร์โดยอาศัยภาพที่เห็นผ่านกล้องโทรทรรศน์

    สิทธิบัตรระฆังดำาน้ำา

    (Diving Bell)

    ค.ศ. 1691

    เอดมันด์ แฮลลีย์นักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษ

    ผู้ค้นพบดาวหางแฮลลีย์ได้รับสิทธิบัตรระฆังดำานำ้า

    เซกซ์แทนต์ (เครื่องวัดมุม

    แนวนอน) กลางศตวรรษที่สิบแปด

    เป็นเครื่องมือที่ออกแบบมาเพื่อช่วยระบุลองจิจูด (เส้นแวง)

    โดยการวัดระยะทางเป็นมุมระหว่างดวงจันทร์กับ

    ดาวที่อยู่ใกล้เคียง

    การผ่าท้องทำาคลอด

    ในสหรัฐฯ

    ค.ศ. 1794

    เอลิซาเบท เบนเนตต ์ กับลูกสาวตัวน้อยปลอดภัยดี

    หลังจากสามีของเธอซึ่ง เป็นแพทย์ ผ่าท้องทำาคลอด

    สำาเร็จเป็นรายแรกของสหรัฐ ฯ

    สายล่อฟ้า

    ค.ศ. 1752

    เบนจามิน แฟรงกลิน และบุตรชาย ประดิษฐ์

    คิดค้นวิธีป้องกันอาคาร จากการถูกฟ้าผ่า

    ช็อกโกแลตเดินทางไปถึงยุโรป

    ค.ศ. 1519

    ชาวอัซเต็กทำาให้เอร์นัน กอร์เตส รู้จักช็อกโกแลตเป็นครั้งแรก ซึ่ง

    ต่อมาเขาได้นำาเมล็ดโกโก้ติดตัวกลับไปสู่ยุโรปด้วย

    เครื่องสูบลม

    ค.ศ. 1650

    ออตโต ฟอน เกริกเคอ คิดค้นเครื่องสูบลมขึ้นมา

    ซึ่งเขาใช้ในการศึกษาแสงและเสียงใน

    สุญญากาศ

    เรือดำาน้ำา

    ค.ศ. 1620

    มีรายงานว่า กอร์เนลิส เดรบเบิล

    วิศวกรชาวดัตช์ นำาหนังชุบนำ้ามัน

    มาห่อหุ้มลำาเรือ

    มหาวิทยาลัย

    ค.ศ. 859

    มหาวิทยาลัยแห่งอัลกอรอวิยินในโมร็อกโก มีสตรีนามฟาฏิมะฮ ์

    อัลฟะฮ ์รี เป็นผู้ก่อตั้ง

    งานวรรณกรรม

    ชิ้นสำาคัญโดยสตรี

    ค.ศ. 1010

    มุรุซะกิ ชิกิบุ สตรีชนช้ันขุนนางของญี่ปุ่น ประพันธ์

    นวนิยายเรื่อง ตำ�น�นเกนจิ (The Tale of Genji)

    แว่นตา

    ศตวรรษที่สิบสาม การใช้แว่นตาแบบสวม

    ได้รับการบันทึกไว้เป็นครั้งแรกในอิตาลี

    ธนบัตร

    ศตวรรษที่สิบสอง

    พ่อค้าวาณิชชาวจีนเริ่มใช้ธนบัตร

    เพื่อหลีกเลี่ยงการพกพาเหรียญหนัก ๆ

    ล้อ

    3500 ปีก่อน

    คริสตกาล

    ล้อยุคแรกใช้เป็นแป้นหมุนเครื่องปั้นดินเผา

    และขนส่งสินค้าด้วยเลื่อน

    ภาษามือ

    ทศวรรษ 1770

    อับเบ ชาร์ล มิเชล เดอ เลเป ประดิษฐ์ภาษามือสำาหรับ

    คนหูหนวกที่ใช้กันอย่าง แพร่หลายเป็นครั้งแรก

    ดวงตราไปรษณียากร

    ค.ศ. 1840

    สแตมป์ดวงแรกมีพระสาทิสลักษณ์ด้านข้างของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย

    และมีราคาเพียงหนึ่งเพนนี

    โทรศัพท์ครั้งแรก

    ค.ศ. 1876

    คำาพูดแรกที่ อเล็กซานเดอร ์ เกรแฮม

    เบลล์ พูดกับผู้ช่วยผ่านโทรศัพท์ที่เขาประดิษฐ์ขึ้นคือ

    “คุณวัตสัน มานี่หน่อยสิ ผมอยากพบคุณ”

    ภาพถ่าย

    ค.ศ. 1826

    ภาพถ่ายภาพแรกของโลกที่ชื่อ “ภาพทิวทัศน์จากหน้าต่างที่เลอกรา”

    ถ่ายที่ฝรั่งเศส

    การบินของมนุษย์

    ค.ศ. 1783

    การบินของมนุษย์ที่ไม่มีการยึดโยง ไว้กับพื้นโลกเกิดขึ้นเป็นครั้งแรก

    เมื่อบอลลูนอากาศร้อนลอยสูง 150 เมตรเหนือท้องฟ้ากรุงปารีส

    ยาแอสไพริน

    ค.ศ. 1897

    เฟลิกซ์ ฮอฟฟ์มานน์ นักเคมีชาวเยอรมัน

    สังเคราะห์แอสไพรินในห้องปฏิบัติการ ตามด้วยเฮโรอีน

    ในอีกสองสัปดาห์ต่อมา

    ตึกระฟ้า

    ค.ศ. 1885

    มีการสร้างอาคาร โฮมอินชัวแรนซ์

    ด้วยโครงสร้างเหล็กกล้าสูงสิบชั้นในชิคาโก

    เพนนิซิลิน

    ค.ศ. 1928

    อเล็กซานเดอร ์ เฟลมมิง ค้นพบยาปฏิชีวนะ

    โดยบังเอิญในจานเพาะเชื้อ

    การปลูกถ่ายอวัยวะ

    ค.ศ. 1954

    มีการผ่าตัดเปลี่ยนไตจากแฝดคนหนึ่ง

    ให้คู่แฝดของตนสำาเร็จเป็นครั้งแรก

    เก้าอี้รถเข็นไฟฟ้า

    ค.ศ. 1953

    จอร์จ ไคลน์ ประดิษฐ์เก้าอี้ ติดมอเตอร์ไฟฟ้าเพื่อช่วย

    ทหารผ่านศึกที่เป็นอัมพาต

    การทำาแผนที่ก้นสมุทร

    ค.ศ. 1977

    ผู้ได้รับทุนจากสมาคมเนชั่นแนลจีโอกราฟฟิก ทำาแผนที่

    ลักษณะภูมิประเทศก้นสมุทรฉบับสมบูรณ์เป็นครั้งแรก

    มนุษย์เหยียบดวงจันทร์

    ปี 1969

    คำาพูดของนีล อาร์มสตรอง นักบินอวกาศอเมริกัน ขณะสร้าง

    ประวัติศาสตร์ด้วยการเป็นมนุษย์คนเเรกที่ได้เดินบนดวงจันทร์ คือ “ก้าวเล็ก ๆ

    ก้าวนี้ของมนุษย์คนหนึ่งคือการ ก้าวกระโดดคร้ังใหญ่ของมนุษยชาติ”

    มนุษย์ตะลุยอวกาศ

    ค.ศ. 1961

    ยูริ กาการิน นักบินอวกาศโคจรรอบโลก

    เป็นเวลา 108 นาที

    อินเทอร์เน็ต

    ค.ศ. 1969

    มีการส่งข้อมูลระหว่างมหาวิทยาลัยต่าง ๆ

    ในแคลิฟอร์เนียนับเป็นก้าวแรกของการ

    พัฒนาอินเทอร์เน็ต

    อีเมล

    ค.ศ. 1971

    เรย์ ทอมลินสัน นักเขียนโปรแกรม

    ส่งข้อความแรกว่า QWERTYUIOP

    สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมโคลนนิง

    ค.ศ. 1996

    มีการโคลนแกะดอลลีจากเซลล์เต้านม

    และตั้งชื่อตามดอลล ี พาร์ตัน นักร้องชื่อดัง

    สมาร์ตโฟน

    ค.ศ. 1993

    ไซมอนของไอบีเอ็มเป็นโทรศัพท์มือถือเครื่องแรกที่มีฟังก์ชั่นการทำางานแบบ “ผู้ช่วยดิจิทัลส่วนบุคคล”

    อย่างเช่นอีเมล

    หัวใจเทียมชนิดถาวรดวงแรก

    ค.ศ. 1982

    มีการปลูกถ่ายหัวใจเทียมจาร ์ วิก-7 (Jarvik-7) ให้มนุษย์เป็นผลสำาเร็จ

    คนไข้มีชีวิตอยู่ต่อมาได้อีก 112 วัน

    วอยเอเจอร์ 1

    ค.ศ. 2013

    ยานอวกาศลำานี้เป็นวัตถุสร้างโดย

    มนุษย์ลำาแรกที่เดินทางเข้าสู่อวกาศ

    ระหว่างดาว

    ยาคุมกำาเนิด

    ค.ศ. 1951

    คาร์ล เจราสซี นักเคมีคิดค้นยาคุมกำาเนิด โดยการสังเคราะห์

    ฮอร์โมนจากมันแกว

    ปลาสเตอร์ติดแผล

    ค.ศ. 1920

    เอิร์ล ดิกสัน พ่อค้าฝ้ายคิดค้นปลาสเตอร์ยาขึ้นมา

    ให้ภรรยาที่มักประสบอุบัติเหตุอยู่บ่อย ๆ

    เคลซีย์ โนว�คอฟสกี กร�ฟิก: อัลบ�โร บ�ลีโญ

    ครั้งแรกในประวัติศาสตร์

    แนวคิดแรกสุด 500 ปีก่อน ค.ศ.

    ค.ศ. 400 ยุคกลาง 1400

    1350 สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา 1650

    1650 ยุคเรืองปัญญา 1800

    1760 การปฏิวัติอุตสาหกรรม 1900

    1914 สงครามและหลังสงคราม 1954

    1957 ยุคแห่งการสำารวจอวกาศ 1980

    1971 ยุคแห่งข้อมูลข่าวสาร

    ดาวเทียมในอวกาศ

    ค.ศ. 1957

    สหภาพโซเวียตส่งดาวเทียมสปุตนิก 1 ที่มี

    ขนาดเท่าลูกบอลชายหาดขึ้นโคจรรอบโลกเป็นครั้งแรก

    ตัวอย่าง

  • สำ�รวจโลกธรรมช�ติ

    อ�ำนำจท�ำลำยล้ำงของถั่วคุดซูนั้นช่ำงน่ำทึ่ง  ไม้เลื้อยซึ่งเป็นพืชตระกูลถั่วชนิดนี้มีผู้น�ำจำกญี่ปุ่นมำสู่สหรัฐ ฯ เมื่อป ี 1876  เพื่อสรำ้งร่มเงำแบบทันใจและใช้เป็นพืชคลุมดิน  แต่กำรเติบโตที่อำจรวดเร็วถึง  30  เซนติเมตรต่อวันและไม่เลือกพื้นผิว  ท�ำให้ถั่วคุดซู         ปกคลุมต้นไม้  เสำไฟฟ้ำ  และแม้กระทั่งอำคำร  ในพื้นที่อย่ำงน้อย  20  รัฐของสหรัฐ ฯ ทุ่งหญ้ำป่ำเขำเนื้อที่หลำยพันตำรำงกิโลเมตรถูกไม้เลื้อยชนิดนี้ปกคลุมจนมิด   งำนวิจัยชิ้นใหม่ชี้วำ่  ไม้เลือ้ยชนดินีอ้ำจเป็นตวัเร่งกำรเปลีย่นแปลงสภำพภูมิอำกำศ ด้วยกำรท�ำให้ปรมิำณคำร์บอนทีก่กัเกบ็อยูใ่นดนิของระบบนเิวศพชืพืน้เมอืงทีม่นัรกุรำนลดต�ำ่ลง  (เช่นพืน้ทีป่่ำในรฐัมสิซสิซปิปีทีเ่หน็ในภำพนี)้  นชิำนฑ์  ธำรำฌิล  นกันเิวศวทิยำวัชพืช  บอกว่ำ  กำรสูญเสียคำร์บอนส่วนใหญ่เกิดขึ้นบริเวณหนำ้ดิน  และเป็น กระบวนกำรที่เกิดต่อเนื่องหลำยสิบปี  งำนวิจัยหลำยชิ้นก่อนหน้ำนี้เผยว่ำ  ถั่วคุดซูอำจปล่อยก๊ำซเรือนกระจกอื่นๆ ออกมำอีกด้วย  —แดเนียล  สโตน

    เลื้อย

    ลามทุ่ง

    ภูมิอ�ก�ศ

    ส�ำรวจโลก

    ดูชื่อช่�งภ�พได้ที่ NGM.COM/CONTRAILSแอนดี แอนเดอร์สัน โนเอล ฮิด�ลโก ตัน (ด้�นบน, ทั้งสองภ�พ) ;ØSTFYNS MUSEUMS

    เมื่อไอนำ้�จ�กท่อไอเสียร้อน ๆ ของอ�ก�ศย�นปะทะกับอ�ก�ศเย็นจัดและชื้น มันจะจับตัวแข็ง ทำ�ให้เกิดคอนเทรล (contrail) หรือเมฆห�งเครื่องบินสีข�วที่อ�จกระจ�ยตัว ออกเป็นเมฆเซอร์รัส (cirrus cloud — ลกัษณะเหมอืนลอนผมหรือขนนก) บ�ง ๆ ซึง่อ�จส่งผลต่อก�รเปลี่ยนแปลงสภ�พภูมิอ�ก�ศได ้ เมฆลักษณะนี้บ�งส่วนสะท้อนคว�มร้อนของดวงอ�ทิตย์ออกไปก่อนจะถึงพื้นผิวโลก แต่โดยรวม ๆ เมฆเซอร์รัสที่เกิดจ�กคอนเทรลจะกักเก็บคว�มร้อนไว ้ และอ�จมีส่วนทำ�ให้เกิดภ�วะโลกร้อนได้ม�กกว่�ก�รปล่อยก๊�ซค�ร์บอนไดออกไซด์จ�กอ�ก�ศย�นเสียอีก ผลก�รศึกษ�ชิน้หนึง่ทีต่พีมิพ์ในว�รส�ร Environmental Research Letters ระบวุ่� เครื่องบินอ�จเปลี่ยนเส้นท�งก�รบินเพื่อหลีกเลี่ยงสภ�พอ�ก�ศที่เอื้อต่อก�รเกิด คอนเทรลได้ รวมทัง้เมฆเซอร์รสัทีอ่�จก่อตวัข้ึนจ�กคอนเทรลดงักล่�ว และมส่ีวนช่วย ลดภ�วะโลกร้อนลงได้ —แอลิสัน ฟรอมม์

    การเปล่ียนแปลง

    สภาพภมูอิากาศ

    กบัคอนเทรล

    อ�รยธรรม

    ส�ำรวจโลก

    คืนชีวิต

    ให้งานศิลป์

    แห่งนครวัดนครวัดที่สร้�งขึ้นเมื่อ 900 ปีก่อน ในประเทศกัมพูช�ดึงดูดนักท่องเที่ยว ปีละหล�ยล�้นคน บ้�งไปเพื่อ แสวงบุญ บ้�งไปเพื่อชื่นชม ภ�พสลักง�มวิจิตรอันโด่งดัง ทว่�ทีมนักโบร�ณคดีทีมหนึ่งกลับ มุ่งศึกษ�สิ่งที่ไม่ค่อยเป็นที่รู้จัก นั่นคือภ�พจิตรกรรมง�มประณีตสมัย ศตวรรษที่สิบหกร�ว 200 ภ�พที ่ถูกร่องรอยอันเกิดจ�กสภ�พอ�ก�ศ และก�ลเวล�บดบังไว้ โนเอล ฮิด�ลโก ตัน หัวหน้� ทีมวิจัยและนักวิจัยศิลปะบนผนังถำ้� ใช้เทคนิคที่ผสมผส�นก�รถ�่ยภ�พดิจิทัลกับก�รวิเคร�ะห์ด้วยคอมพิวเตอร์เพื่อเผยภ�พจิตรกรรมเหล�่นั้น เข�บอกว�่ “สิ่งที่เคยคิดกันว่�เป็น รอยเปื้อนบนผนังกลับกล�ยเป็น ช้�งสองเชือก หรือไม่ก็วงมโหรีทั้งวง” วัตถุประสงค์ของก�รสร�้งง�นจิตรกรรมเหล่�นี้ยังไม่แน่ชัด แต่ก�รสืบค้น ต่อไปอ�จให้เบ�ะแสที่ช่วยให้เร�เข้�ใจอดีตของศ�สนสถ�นแห่งนี้ม�กขึ้น

    — แคเทอรีน ซักเคอร์แมน

    ภำพที่ท�ำให้ชัดขึ้นด้วยดิจิทัลเผยให้เห็นชำ้งสองเชือกบนภำพจิตรกรรมฝำผนังอำยุหลำยร้อยปีที่นครวัด

    เทพไวกิ้งผู้เปลี่ยนเพศได้

    หำกมองเผินๆ รูปสลักเงินชุบทองจำกเดนมำร์ก  (ขวำ)  ดูเหมือนผู้หญิงสวมชุดกระโปรงยำว ประติมำกรรมสูง  4.7  เซนติเมตรและมีรูเจำะชิ้นนี้  อำจใช้เป็นจี้ห้อยคอของบุคคลส�ำคัญซึ่งอำจเป็นนกับวชสมยัศตวรรษทีเ่ก้ำ  เคลำส์  เฟเวล ี ภัณฑำรกัษ์ของกลุม่พพิธิภัณฑ์เอสิต์ฟินส์  ศกึษำจี้ชิ้นนี้หลังค้นพบเมื่อเดือนเมษำยนปีที่แล้ว  เขำเชื่อว่ำนี่อำจเป็นเทพของชำวนอร์ส  (ไวกิ้ง)  ซึ่งอำจเป็นเทพี  หรือเทพที่ปลอมตัวเป็นสตรี  เขำตั้งข้อสังเกตว่ำ  “ท่ำยืนของรูปสลักที่วำงมือไว้บนหน้ำท้องลักษณะนี้เคยพบเห็นในรูปสลักอื่นๆ ที่พบก่อนหน้ำนี้  ซึ่งล้วนเปลือยกำยและเห็นได้อย่ำงชัดเจนว่ำเป็นเพศชำย” —เอ.  อาร์.  วิลเลียมส์

    ตัวอย่าง

    National Geographic ปีที่ 14 ฉบับที่ 163 กุมภาพันธ์ 2558คอลัมน์ประจำจากบรรณาธิการจดหมายมุมมองเปลี่ยนโลกสำรวจโลกภาษาภาพ คนเก็บอดีตนักบินผาดแผลงหญิงคนแรกของไทยนักล่าไดโนเสาร์คนแรกของไทยคนไทยคนแรกบนยอดเขาสูงที่สุดในโลกศิลปินคนแรกๆ ของโลกโลกกำลังจมน้ำทะเลกลืนกินแผ่นดินไรจิ๋วจอมพลังขวบปีแรกของชีวิตgeo informationสัตว์ก็หัวใจฉบับหน้า