SIU AEC Aug 2011

16
เป ดขอบฟ้ าใหม รับมือเศรษฐก จอาเซียน 2020 26 ส งหาคม 2554 เสนอโดย สุรศักด ธรรมโม นักเศรษฐศาสตร์ ของ Siam Intelligence Unit http://www.siamintelligence.com/

description

 

Transcript of SIU AEC Aug 2011

Page 1: SIU AEC Aug 2011

“เปิดขอบฟ้าใหม่รบัมือเศรษฐกิจอาเซียน 2020 ” 26 สิงหาคม 2554

เสนอโดย

สรุศกัดิ & ธรรมโม

นักเศรษฐศาสตร ์ของ Siam Intelligence Unit

http://www.siamintelligence.com/

Page 2: SIU AEC Aug 2011

ความได้เปรียบของ AEC� อนาคตทางเศรษฐกิจของเอเชียนั�นสดใสมาก ทุกสํานักวิจัยทาง

เศรษฐกิจไม่ว่าจะเป็นองค์กรระหว่างประเทศ หรือสถาบันการเงนิชั �นนําของโลก ล้วนคาดการณ์ถึงการขยายตัวทางเศรษฐกิจที- โดดเด่นของเอเชียตลอด 4 ทศวรรษจากนี �ไป

� “ประชาคมอาเซียน” เป็นโอกาสสําคัญ สําหรับบรรษัทข้ามชาติตะวันตกและญี-ปุ่น ที-จะใช้ตลาดของอาเซียนมาช่วยเพิ-มยอดขายและเพื-อเพิ-มอัตรากําไรแทนตลาดในประเทศ “สหรัฐ” และ “ยุโรป” รวมทั �ง “ญี- ปุ่น” ที- มีแนวโน้มยํ-าแย่ต่อเนื-องจากนี �ไปใน 5 ปีจากปัจจัย วิกฤติเศรษฐกิจ ระดับหนี �สาธารณะที- สูงมาก ซึ-งนําไปสู่การเก็บภาษีในอัตราสูงในส่วนของประเภท นิติบุคคล/บุคคลธรรมดา/ภาษีมูลค่าเพิ-ม โครงสร้างประชากรผู้สูงอายุในญี- ปุ่นและยุโรปตะวันตกที-เร่งตวัขึ �นอย่างมาก

Page 3: SIU AEC Aug 2011

รปูแบบทางเศรษฐกิจและธรุกิจของ AEC

� ห่วงโซ่อุปทานการผลิตระดับโลกของบรรษัทข้ามชาติ ที-แต่เดิมใช้เอเชียเป็นฐานการผลิตเพื-อส่งสินค้าสําเร็จรูปไปยังสหรัฐ ยุโรป และญี-ปุ่นจะกลายมาเป็นผลิตในประชาคมอาเซียน เพื-อส่งขายในเอเชีย/ประชาคมอาเซียนเป็นหลัก ผลคือ โครงสร้างต้นทุนขนส่งและภาษีของสินค้าสําเร็จรูป จะถูกกว่าสินค้าประเภทเดียวกันที-ขายในยุโรป ดังนั �นเมื- อผนวกกับปัจจัยเป็นคุณของประชาคมอาเซียน ได้แก่ โครงสร้างประชากรที-เป็นวัยกําลังแรงงาน สถานะทางเศรษฐกิจมหภาคที- เข้มแข็ง (หนี �สาธารณะในระดับตํ-าและมีการเกินดุลบัญชีเดนิสะพัด) ผลก็คือ การขยายตวัของการบริโภคในเอเชีย/ประชาคมอาเซียน จะสูงมาก

� การขยายตัวของเศรษฐกิจจีนและอินเดีย ที-จะเป็นหัวรถจักรในการขับเคลื-อนเศรษฐกิจภมูิภาค

Page 4: SIU AEC Aug 2011

รปูแบบทางเศรษฐกิจและธรุกิจของ AEC

� รัฐบรรษัทของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะ สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย

�บรรษัทข้ามชาติระดับภูมิภาคอาเซียน ที-เริ-มขยายการลงทุนในภูมิภาคอาเซียนด้วยกันเองทั �งในด้านเป็นแหล่งวัตถุดบิและเป็นตลาดสาํหรับสินค้าของตน

�บริษัทขนาดกลางและเล็กของแต่ละประเทศในป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น โ ด ย ม า ก จ ะ เ ป็ น ท า ง ด้ า นอุตสาหกรรมบ ริการขนาดเล็ ก เ ช่น ออกแบบสถาปัตยกรรม กฏหมาย สุขภาพ บัญชี เป็นต้น

Page 5: SIU AEC Aug 2011

ความเสี ยงของ AEC ในส่วนของไทย

� ไทยจะผนึกทางเศรษฐกิจและการค้ากับเศรษฐกิจกําลังพัฒนาที- มีความเปราะบางในด้านสถาบันการเมือง สถาบันทางสังคม และแนวคิดความมั-นคงที-แตกต่างจากประเทศตะวันตก เพราะในเอเชีย/อาเซียน “รัฐ” เป็นตัวกาํหนด ในขณะที-ประเทศตะวันตก “ภาคประชาสังคม” มีบทบาทในการกาํหนดวาระระหว่างประเทศ

�ดังจะเหน็ได้จาก ความล้มเหลวของการแก้ปัญหาลุ่มนํ �าโขง ปัญหาชายแดนในทะเลจีนใต้ ปัญหาชนกลุ่มน้อยในพม่า เป็นต้น

Page 6: SIU AEC Aug 2011

ความเสี ยงของ AEC ในส่วนของไทย

� ธุรกิจขนาดกลางและเล็ก มีความเสี-ยงที-จะเผชิญการแข่งขันอย่างมากจาก ธุรกจิประเภทเดียวกันในประเทศตะวันตกและประชาคมอาเซียน

�แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศไทยเน้นสายศิลปศาสตร์ ไม่ใช่วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาํให้เป็นข้อจาํกัดด้านศักยภาพในการหาประโยชน์เชิงรุกจาก AEC แต่ธุรกิจของประเทศอื-นๆจะมารุกในประเทศไทย

Page 7: SIU AEC Aug 2011

AEC ในเชิงเศรษฐกจิและธุรกจิ

Page 8: SIU AEC Aug 2011

Asia Decoupling ?

ที +มา: ADB June 2009

Page 9: SIU AEC Aug 2011

Fiscal Balance

-10

-8

-6

-4

-2

0

219

7019

7119

7219

7319

7419

7519

7619

7719

7819

7919

8019

8119

8219

8319

8419

8519

8619

8719

8819

8919

9019

9119

9219

9319

9419

9519

9619

9719

9819

9920

0020

0120

0220

0320

0420

0520

0620

0720

0820

0920

1020

1120

1220

1320

14

Advanced economies

Emerging and developing economies

World

ประเทศพฒันาแล้วมีแนวโน้มเผชิญปัญหาการขาดดลุการคลงัมากที สุดเป็นประวตัิการณ์บ่งชี0ว่าในอนาคตรฐับาลประเทศพฒันาแล้วจาํเป็นต้องขึ0นภาษีและลดการใช้จ่ายภาครฐัเพื อลดการขาดดลุการคลงัซึ งมีนัยยะต่อว่าการบริโภคในประเทศพฒันาแล้วจะลดลง

ในขณะที ประเทศกาํลงัพฒันาจะมีศกัยภาพในการลดการขาดดลุทางการคลงัได้ดีกว่าประเทศ

พฒันาแล้ว ดงันั 0น การขึ0นอตัราภาษีจึงกระทาํได้ในอตัราที น้อยกว่ารวมทั 0งไม่จาํเป็นต้องลดการใช้จ่ายภาครฐัในระดบัเดียวกบัประเทศพฒันาแล้ว

% GDP

Source: IMF October 2009

Page 10: SIU AEC Aug 2011

10

Public Debt

Source: IMF October 2009

Page 11: SIU AEC Aug 2011

Contribution to Growth of Global Economy

Source: IMF April 2011

Page 12: SIU AEC Aug 2011

อนาคตอันโชตชิ่วงของเอเชีย

Page 13: SIU AEC Aug 2011

อนาคตอันโชตชิ่วงของเอเชีย

Page 14: SIU AEC Aug 2011

อนาคตอันโชตชิ่วงของเอเชีย

Page 15: SIU AEC Aug 2011

อนาคตอันโชตชิ่วงของเอเชีย

Page 16: SIU AEC Aug 2011

อนาคตอันโชตชิ่วงของเอเชีย