Clinical tracer - Khon Kaen University

14
Dr.Thavatchai Tiamklang Clinical tracer

Transcript of Clinical tracer - Khon Kaen University

Page 1: Clinical tracer - Khon Kaen University

Dr.Thavatchai Tiamklang

Clinical tracer

Page 2: Clinical tracer - Khon Kaen University

Clinical Populationตามรอย Clinical Tracer

Tracer

หน่วยบริการ กลุ่มผู้ป่วย

ระบบงาน

องค์กร

Dr.Thavatchai Tiamklang

Page 3: Clinical tracer - Khon Kaen University
Page 4: Clinical tracer - Khon Kaen University
Page 5: Clinical tracer - Khon Kaen University

Access

Entry

Assessment Investigation

Diagnosis

Reassess Communication

Plan of care Discharge Plan

Care of Patient Information & Empowerment

Discharge

Continuity of Care

Dr.Thavatchai Tiamklang

Page 6: Clinical tracer - Khon Kaen University
Page 7: Clinical tracer - Khon Kaen University

Core values

Design/Plan

Action/Do

Learning/Study

Improvement/Act

Purpose

Criteria

Context

Train Monitor

Trace

Dr.Thavatchai Tiamklang

Clinical tracer

Page 8: Clinical tracer - Khon Kaen University

บริบท ตามรอยกระบวนการพัฒนา

Quality Process

ตามรอยกระบวนการดูแลผู้ป่วย

Content/Care Process

ตามรอยระบบอื่นๆที่เกี่ยวข้องIntegration

การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย

สิ่งดีๆที่มีอยู่ โอกาสพัฒนาติดตามผลลัพธ์

Resultตัวชี้วัด

วัตถุประสงค์

ประเด็นสำคัญ

Clinical tracer

Dr.Thavatchai Tiamklang

Page 9: Clinical tracer - Khon Kaen University
Page 10: Clinical tracer - Khon Kaen University

114 7 9 128 1031 2 5 6

สรุป Clinical Tracer Highlight

วิเคราะห์โรคสำคัญ/ เป้าหมาย/ ประเด็นสำคัญ (20 โรค) ตามรอย

กำหนดประเด็นพัฒนาที่ชัดเจน ดำเนินการพัฒนา

Clinical Population

Dr.Thavatchai Tiamklang

Page 11: Clinical tracer - Khon Kaen University

Clinical Outcome

EvidenceTechnology

Context

Target groups

Health conditions

Procedures

DiseasesKPI Monitoring

Multidisciplinary Team

Holistic Care

Evidence-based Practice

Root cause Analysis from Incidence

Medical Record/Bedside Review

Benchmarking

Patient care Improvement (Part II)

Patient Care Process (Part III)

Entry Assessment Planning Care Delivery Empower Discharge

4.กระบวนการเพื่อให้ได้คุณภาพ

1.บริบท 2.ประเด็นสำคัญ/ความเสี่ยงสำคัญ

3.เครื่องชี้วัดสำคัญและการใช้ประโยชน์

Dr.Thavatchai Tiamklang

Page 12: Clinical tracer - Khon Kaen University

สรุปตามรอย

Purpose Process Performance Why do we exist? What do we do? Why?

Plan/Design-->DoHow well?

Study/Learn

How can we improve?Act/Improve

ระบบสำคัญขององค์กรที่เกี่ยวข้อง

Dr.Thavatchai Tiamklang

Page 13: Clinical tracer - Khon Kaen University
Page 14: Clinical tracer - Khon Kaen University

Dr.Thavatchai Tiamklang

Scoring Guideline 2011 (Effective 01/10/10)

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล   (องคการมหาชน) 17

ความเสี่ยงที่เกิดขึ้น การวิเคราะหกระบวนการทํางานอยางเปนระบบ6

ที่หลากหลาย7 ดวยความเขาใจ

การวิจัยประเมินผล, การเรียนรูใครครวญจากผลการพัฒนา, การตามรอยดวยความเขาใจ

ประเมินตนเอง

0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0 4.5 5.0 1.2 ระบบบริหารความเสี่ยง  ความปลอดภัย  และคุณภาพ  (RSQ.2) มีระบบบริหารความเสี่ยง  ความปลอดภัย  และคุณภาพ ของโรงพยาบาลที่มีประสิทธิผลและประสานสอดคลองกัน รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพการดูแลผูปวยในลักษณะบูรณาการ.

32 ระบบบริหารความเสี่ยงและความปลอดภัย�

ตอบสนองปญหา/เหตุการณเฉพาะรายอยางเหมาะสม

มีระบบรายงานอุบัติการณ, มีวิเคราะหสาเหตแุละปรับปรุง, มีกิจกรรมสรางความตื่นตัวในงานประจํา

วิเคราะหความเสี่ยงรอบดาน  (ทั้งที่เคยเกิดและที่มีโอกาสเกิด), ระบบงานไดรับการออกแบบอยางรัดกุมและนําไปปฏิบัต ิ

บูรณาการระบบงานและระบบขอมูลที่เก่ียวของกับการบริหารความเสี่ยง

มีการประเมินและปรับปรุงระบบบริหารความเสี่ยง, มีวัฒนธรรมความปลอดภัยเดนชัด

0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0 4.5 5.0 33 การทบทวนการใหบริการและการดูแลผูปวย (ที่แนะนําไวในบันไดข้ันที่  1 สู  HA)�

มีการทบทวนเปนครั้งคราว    

มีการทบทวนที่สอดคลองกับบริบทของหนวยงาน

มีการทบทวนที่ครอบคลุมโอกาสเกิดปญหาสําคัญ, นํามาสูการปรับปรุงระบบงาน

มีการทบทวนที่บูรณาการเขาเปนกิจกรรมประจําของหนวยงาน, มีการติดตามการปฏิบัติและผลลัพธที่เกิดขึน้

มีวัฒนธรรมของการทบทวนคุณภาพการดูแลผูปวย  รวมทั้งการมีระบบ  concurrent monitoring

0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0 4.5 5.0

6 เชน  การใช  service profileเพื่อวิเคราะหงานและการบรรลุเปาหมาย 7 การประเมินจุดแข็งจุดออนในงานที่ทํา , การติดตามตัวช้ีวัด, การทบทวนคุณภาพการดูแลผูปวย , การทบทวนเวชระเบียนเพื่อเรียนรู  AE, การตามรอยทางคลินิก, การประเมินตนเองตามมาตรฐาน, การเยี่ยมหนวยงานเพื่อซักซอมความเขาใจ  

Scoring Guideline 2011 (Effective 01/10/10)

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล   (องคการมหาชน) 18

34 การพัฒนาคุณภาพการดูแลผูปวยในลักษณะบูรณาการ�

เริ่มตนใชเครื่องมือพัฒนาคุณภาพทางคลินิก  เชน  indicator, CPG

ใชเครื่องมือที่หลากหลายเพ่ือพัฒนาคุณภาพการดูแลกลุมผูปวยแตละกลุมตามหลัก  3P

การพัฒนาคุณภาพทางคลินิกครอบคลุมกลุมผูปวยสําคัญในแตละสาขา, มีการ  monitor KPI อยางเหมาะสม

ผสมผสานงานวิจัยกับการพัฒนาคุณภาพทางคลินิก  หรือ  R2R, ผสมผสานทุกแนวคิดในการพัฒนาคุณภาพทางคลินิก, ผลลัพธทางคลินิกมีแนวโนมที่ดีขึ้น

มีการประเมินและปรับปรุงกระบวนการ พัฒนาคุณภาพทางคลินิกอยางเปนระบบ  สงผลใหผลลัพธทางคลินิกอยูในเกณฑดีถึงดีเลิศ

0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0 4.5 5.0

II-2 การกํากับดูแลดานวิชาชีพ (PFG) 2.1 การพยาบาล  (PFG.1/NUR) มีระบบบริหารการพยาบาลรับผิดชอบตอการจัดบริการพยาบาลที่มีคุณภาพสูง เพื่อบรรลุพันธกิจขององคกร 35 ระบบบริหารการพยาบาล

มีโครงสรางการบริหารการพยาบาลที่ชัดเจน, ผูนําทีมการพยาบาลมีคุณสมบัติเหมาะสม, มีแนวทางหรือมาตรฐานการปฏิบัติงานที่จําเปน

มีการจัดอัตรากําลังทางการพยาบาลที่สอดคลองกับความตองการของผูปวยและหนาที่รับผิดชอบ, มีระบบประกันคุณภาพทางการพยาบาลในประเด็นที่สําคัญ

มีการบริหารการพยาบาลโดยการมีสวนรวม, มีระบบกํากับดูแลที่มีประสิทธิภาพ, ใชหลักการเปนโคชในการนิเทศงาน, มีการประสานความรวมมือที่ดีกับกรรมการ/ระบบงานที่เก่ียวของ

มีความโดดเดน  เชน  การใชนวตกรรมทางการบริหาร, การประเมินการบรรลุเปาหมายของระบบบริการพยาบาล

มีการประเมินและปรับปรุงการบริหารการพยาบาลอยางเปนระบบ สงผลใหไดบริการพยาบาลที่มีคุณภาพสูง

0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0 4.5 5.0

36 ปฏิบัติการทางการ ใหการดูแลทางการ ใหการดูแลตามแผนการ ใชกระบวนการพยาบาล มีความโดดเดน  เชน  ใช มีการประเมินและ