แผนบริหำรกำรสอนประจ ำบทที่ 7¸šทที่...

18
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาระบบจานวน (Number System) อาจารย์วรรณธิดา ยลวิลาศ แผนบริหำรกำรสอนประจำบทที7 หัวข้อเนื้อหำประจำบท 7.1 สมบัติพื้นฐาน 7.2 การบวกและการคูณจานวนจินตภาพแท้ 7.3 จานวนเชิงซ้อนในทางเรขาคณิต 7.4 ระบบพิกัดเชิงขั้วและระบบพิกัดตรีโกณมิติ 7.5 การคูณและการหารจานวนเชิงซ้อน 7.5.1 การคูณจานวนเชิงซ้อน 7.5.2 การหารจานวนเชิงซ้อน 7.5.3 การหารากจานวนเชิงซ้อน ผลกำรเรียนรู้ที่คำดหวังประจำบท อธิบายระบบจานวนเชิงซ้อนพร้อมพิสูจน์ทฤษฎีที่สาคัญและให้เหตุผลได้ทุกขั้นตอนพร้อม ทั้งบอกคุณสมบัติต่างๆของจานวนเชิงซ้อนได้ วิธีกำรสอนและกิจกรรม 1. บรรยายประกอบเอกสารและใช้เครื่องฉายโปรเจคเตอร์ Ipad Tablet หรือ software สาเร็จรูป WolframAlpha 2. บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายและตอบข้อคาถาม 3. ให้นักศึกษาทาแบบฝึกหัดบางข้อในชั้นเรียนทั้งรายบุคคลและรายกลุ่มแล้วนาเสนอหน้าชั้น 4. มอบหมายให้นักศึกษาไปทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน สื่อกำรสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวิชาระบบจานวน 2. เครื่องฉายโปรเจคเตอร์ IPad และ Tablet 3. software สาเร็จรูป วูลแฟรมแอลฟา โดยใช้เว็บไซต์ หลักคือ www.wolframalpha.com กำรวัดผลและประเมินผล 1. ประเมินจากการตอบคาถาม การอภิปรายและรายงานหน้าชั้น 2. ประเมินจากการตรวจแบบฝึกหัดงานที่ได้รับมอบหมาย 3. ประเมินจากความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์และตรงต่อเวลา 4. ประเมินจากการทดสอบย่อย

Transcript of แผนบริหำรกำรสอนประจ ำบทที่ 7¸šทที่...

Page 1: แผนบริหำรกำรสอนประจ ำบทที่ 7¸šทที่ 7(2).pdf · 7.5.2 การหารจ านวนเชิงซ้อน 7.5.3 การหารากจ

68

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาระบบจ านวน (Number System) อาจารย์วรรณธิดา ยลวิลาศ

แผนบริหำรกำรสอนประจ ำบทที่ 7

หัวข้อเนื้อหำประจ ำบท 7.1 สมบัติพื้นฐาน 7.2 การบวกและการคูณจ านวนจินตภาพแท้ 7.3 จ านวนเชิงซ้อนในทางเรขาคณิต 7.4 ระบบพิกัดเชิงขั้วและระบบพิกัดตรีโกณมิติ 7.5 การคูณและการหารจ านวนเชิงซ้อน 7.5.1 การคูณจ านวนเชิงซ้อน 7.5.2 การหารจ านวนเชิงซ้อน 7.5.3 การหารากจ านวนเชิงซ้อน ผลกำรเรียนรู้ที่คำดหวังประจ ำบท

อธิบายระบบจ านวนเชิงซ้อนพร้อมพิสูจน์ทฤษฎีที่ส าคัญและให้เหตุผลได้ทุกขั้นตอนพร้อม ทั้งบอกคุณสมบัติต่างๆของจ านวนเชิงซ้อนได้ วิธีกำรสอนและกิจกรรม

1. บรรยายประกอบเอกสารและใช้เครื่องฉายโปรเจคเตอร์ Ipad Tablet หรือ software ส าเร็จรูป WolframAlpha 2. บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายและตอบข้อค าถาม 3. ให้นักศึกษาท าแบบฝึกหัดบางข้อในชั้นเรียนทั้งรายบุคคลและรายกลุ่มแล้วน าเสนอหน้าชั้น 4. มอบหมายให้นักศึกษาไปท าแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน

สื่อกำรสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวิชาระบบจ านวน 2. เครื่องฉายโปรเจคเตอร์ IPad และ Tablet 3. software ส าเร็จรูป วูลแฟรมแอลฟา โดยใช้เว็บไซต์ หลักคือ www.wolframalpha.com

กำรวัดผลและประเมินผล 1. ประเมินจากการตอบค าถาม การอภิปรายและรายงานหน้าชั้น 2. ประเมินจากการตรวจแบบฝึกหัดงานที่ได้รับมอบหมาย 3. ประเมินจากความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์และตรงต่อเวลา 4. ประเมินจากการทดสอบย่อย

Page 2: แผนบริหำรกำรสอนประจ ำบทที่ 7¸šทที่ 7(2).pdf · 7.5.2 การหารจ านวนเชิงซ้อน 7.5.3 การหารากจ

69

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาระบบจ านวน (Number System) อาจารย์วรรณธิดา ยลวิลาศ

บทท่ี 7 จ ำนวนเชิงซ้อน

ในบทนี้จะกล่าวเกี่ยวกับสมบัติพื้นฐาน จ านวนเชิงซ้อน

7.1 สมบัติพื้นฐำน นักคณิตศาสตร์ชาวกรีกชื่อดีโอฟานโตส (Diophantos) เริ่มเห็นว่าระบบจ านวนจริงนั้นยังไม่เพียงพอ ในราว พ.ศ. 818 เมื่อท่านต้องการแก้ปัญหาซึ่งดูเสมือนง่ายมากคือ หาด้านของสามเหลี่ยมมุมฉากซ่ึงมีเส้นรอบรูปเท่ากับ 12 หน่วย และมีพ้ืนที่เท่ากับ 7 ตารางหน่วย ปัญหานี้ก่อให้เกิดสมการ

26 43 84 0x x โดยที่ x เป็นความยาวของด้านๆหนึ่ง เนื่องจากสมการนี้ไม่สามารถแก้ได้ในเซตของจ านวนจริง นักคณิตศาสตร์หลายท่านจึงได้สร้างจ านวนใหม่ขึ้น เรียกว่าจ านวนเชิงซ้อน(complex number) ซึ่งก าหนดให้ 1i ความจ าเป็นของมนุษย์ในการหาค าตอบในปัญหาต่าง ๆ จ าเป็นต้องคิดค้นจ านวนชนิดใหม่ขึ้น เช่น 2 4x ต้องใช้ จ านวนธรรมชาติ 3 1x ต้องใช้ จ านวนเต็มลบ 2 3x ต้องใช้ จ านวนตรรกยะ 2 2x ต้องใช้ จ านวนอตรรกยะ 2 1 0x ต้องใช้ จ านวนเชิงซ้อน บทนิยำมที่ 7.1 จ านวนเชิงซ้อน (complex numbers) สัญลักษณ์แทนด้วย คือจ านวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูป a bi เมื่อ a และ b เป็นจ านวนจริง และ 2 1i จ านวน a เรียกว่า ส่วนจริง (real part) ส่วน bi เรียกว่าส่วนจินตภาพ (imaginary part) จ านวนเชิงซ้อน a bi เป็นจ านวนจริง (real) ถ้า 0b และจะเป็นจ านวนจินตภาพถ้า

0b ดังนั้น 3 3 0 , 0 0 0i i จึงเป็นจ านวนจริง ไม่ใช่จ านวนจินตภาพ จ านวนเชิงซ้อน a bi เป็นจ านวนจินตภาพแท้ (pure imaginary) ถ้า 0b และ 0a ถ้า

0a และ 0b เรียกว่า mixed imaginary

Page 3: แผนบริหำรกำรสอนประจ ำบทที่ 7¸šทที่ 7(2).pdf · 7.5.2 การหารจ านวนเชิงซ้อน 7.5.3 การหารากจ

70

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาระบบจ านวน (Number System) อาจารย์วรรณธิดา ยลวิลาศ

การด าเนินการบนจ านวนเชิงซ้อน สามารถให้นิยามได้ดังนี้ ความเท่ากัน a bi c di ก็ต่อเมื่อ a c และ b d การบวก a bi c di a c b d i การคูณ a bi c di ac bd bc ad i ตัวอย่ำงท่ี 7.1

1. 3 6 2 3 5 3i i i

ใช้ WolframAlpha เพ่ือหาการบวกของจ านวนเชิงซ้อน 3 6 2 3 i i ดังภาพที่ 7.1

ภาพที่ 7.1 การบวกของจ านวนเชิงซ้อน 3 6 2 3 5 3i i i

2. 7 5 1 2 6 3i i i

ใช้ WolframAlpha เพ่ือหาการลบของจ านวนเชิงซ้อน 7 5 1 2 i i ดังภาพที่ 7.2

Page 4: แผนบริหำรกำรสอนประจ ำบทที่ 7¸šทที่ 7(2).pdf · 7.5.2 การหารจ านวนเชิงซ้อน 7.5.3 การหารากจ

71

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาระบบจ านวน (Number System) อาจารย์วรรณธิดา ยลวิลาศ

ภาพที่ 7.2 การลบของจ านวนเชิงซ้อน 7 5 1 2 6 3i i i

3. 25 7 3 4 15 41 28 15 28 41 13 41i i i i i i

ใช้ WolframAlpha เพ่ือหาการคูณของจ านวนเชิงซ้อน 5 7 3 4 i i ดังภาพที่ 7.3

ภาพที่ 7.3 การคูณของจ านวนเชิงซ้อน 5 7 3 4 13 41 i i i

Page 5: แผนบริหำรกำรสอนประจ ำบทที่ 7¸šทที่ 7(2).pdf · 7.5.2 การหารจ านวนเชิงซ้อน 7.5.3 การหารากจ

72

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาระบบจ านวน (Number System) อาจารย์วรรณธิดา ยลวิลาศ

บทนิยำมที่ 7.2 a bi เป็นจ านวนเชิงซ้อน คอนจุเกต (conjugate) ของ คือจ านวนเชิงซ้อน a bi ในการท าเศษส่วนของจ านวนเชิงซ้อนให้อยู่ในรูป a bi อาจท าได้ดังนี้

1 1 a bi

a bi a bi a bi

2 2 2 2 2 2

a bi a bi

a b a b a b

ตัวอย่ำงท่ี 7.2 จงหาค่าของ a bi

c di

วิธีท ำ a bi a bi c di

c di c di c di

2 2

ac bd bc ad i

c d

ตัวอย่ำงท่ี 7.3 จงหาค่าของ 3 5

2 3

i

i

วิธีท ำ 3 5 3 5 2 3

2 3 2 3 2 3

i i i

i i i

2 2

6 15 10 9

2 3

9 19

13

9 19

13 13

i

i

i

การใช้ WolframAlpha เพ่ือหาค่าของ 3 5

2 3

i

i

ดังภาพที่ 7.4

Page 6: แผนบริหำรกำรสอนประจ ำบทที่ 7¸šทที่ 7(2).pdf · 7.5.2 การหารจ านวนเชิงซ้อน 7.5.3 การหารากจ

73

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาระบบจ านวน (Number System) อาจารย์วรรณธิดา ยลวิลาศ

ภาพที่ 7.4 การหารจ านวนเซิงซ้อน 3 5 9 19

2 3 13 13

i i

i

ตัวอย่ำงท่ี 7.4 จงหาค่าของ 1. 48 2. 25i 3. 6 12 วิธีท ำ

1. 48 48 1

48 1

16 3 1

4 3i

การใช้ WolframAlpha เพ่ือหาค่าของ รากที่สองของ 48 ดังภาพที่ 7.5

ภาพที่ 7.5 การหารากของจ านวนเชิงซ้อน

2. 25i 24i i

64

61

i i

i

i

การใช้ WolframAlpha เพ่ือหาค่าของ i ยกก าลัง 25 ดังภาพที่ 7.6

Page 7: แผนบริหำรกำรสอนประจ ำบทที่ 7¸šทที่ 7(2).pdf · 7.5.2 การหารจ านวนเชิงซ้อน 7.5.3 การหารากจ

74

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาระบบจ านวน (Number System) อาจารย์วรรณธิดา ยลวิลาศ

ภาพที่ 7.6 การยกก าลังของจ านวนเชิงซ้อน

3. 6 12 6 1 12 1

2

2

6 12

6 2

6 2

i

i

การใช้ WolframAlpha เพ่ือหาผลคูณของรากของจ านวนเชิงซ้อน 6 12 ดังภาพที่ 7.7

ภาพที่ 7.7 ผลคูณของรากของจ านวนเชิงซ้อน

Page 8: แผนบริหำรกำรสอนประจ ำบทที่ 7¸šทที่ 7(2).pdf · 7.5.2 การหารจ านวนเชิงซ้อน 7.5.3 การหารากจ

75

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาระบบจ านวน (Number System) อาจารย์วรรณธิดา ยลวิลาศ

เพ่ือที่จะพัฒนา จ านวนเชิงซ้อน ในแนวตรรกวิทยา และสมเหตุสมผล จึงนิยามจ านวนเชิงซ้อนใหม่ดังนี้ บทนิยำมที่ 7.3

1. จ านวนเชิงซ้อน คือคู่อันดับของจ านวนจริง

2. จ านวนเชิงซ้อน ,0a เรียกว่า ส่วนจริงของจ านวนเชิงซ้อน ,a b

3. จ านวนเชิงซ้อน 0,b เรียกว่า ส่วนจินตภาพของจ านวนเชิงซ้อน ,a b และเรียก จ านวน

เชิงซ้อนชนิดนี้ว่า จ านวนจินตภาพแท้

บทนิยำมที่ 7.4 1. , ,a b c d ก็ต่อเมื่อ a c และ b d

2. , , ,a b c d a c b d

3. , , ,a b c d ac bd ad bc

จะเห็นว่ามี การแปลง (mapping) ชนิด 1-1 ระหว่าง จ านวนเชิงซ้อน ,0a และจ านวนจริง a ผลบวกและผลคูณระหว่าง จ านวนเชิงซ้อน และจ านวนจริง ก็เป็น การแปลง 1-1 กัน นั่นคือ

,0 ,0 ,0a c a c a,0 c,0 ac,0

a c a c a c ac การแปลง ชนิดนี้เรียกว่า สมสัณฐาน (Isomorphism) และเซตของจ านวนเชิงซ้อน เป็นIsomorphism กับเซตของจ านวนจริงทั้งบวกและการคูณ จึงสรุปว่าจ านวนจริงเป็นสับเซต (subset) ของจ านวนเชิงซ้อน

7.2 กำรบวกและกำรคูณจ ำนวนจินตภำพแท้ การบวกและการคูณจ านวนจินตภาพแท้ 0,b ก็คือ 0, 0,c 0,b b c 0, 0,c 0b bc นั่นคือผลคูณของ จ านวนจินตภาพแท้สองจ านวนจะเป็นจ านวนจริงเสมอ เช่น

0,1 0,2 2,0 จะเห็นว่านิยามโดยใช้สัญลักษณ์ a bi แทนด้วย a,b นั้นเหมือนกันทุกประการ โดยที่สัญลักษณ์ทั้งสองมีความสัมพันธ์กัน คือ

Page 9: แผนบริหำรกำรสอนประจ ำบทที่ 7¸šทที่ 7(2).pdf · 7.5.2 การหารจ านวนเชิงซ้อน 7.5.3 การหารากจ

76

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาระบบจ านวน (Number System) อาจารย์วรรณธิดา ยลวิลาศ

จ านวนจริง ,0a a จ านวนจินตภาพแท้ 0,b bi จ านวนเชิงซ้อน ,a b a bi สมบัติปิด สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มและสมบัติการสลับที่ ทั้งการบวกและการคูณยังคงเป็นจริงอยู่ในเซตของจ านวนเชิงซ้อน เพ่ือจะแสดงว่า สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม ของผลบวกเป็นจริงนั่นคือต้องแสดงว่า

, , , , , ,a b c d e f a b c d e f พิสูจน์ , , , , ,a b c d e f a c b d e f บทนิยามที่ 7.4 ข้อ 2 ,a c e b d f บทนิยามที่ 7.4 ข้อ 2 ,ba c e d f สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม , ,a b c e d f บทนิยามที่ 7.4 ข้อ 2 , , ,a b c d e f บทนิยามที่ 7.4 ข้อ 2 เพ่ือจะแสดงว่า สมบัติการสลับที่ ของผลคูณเป็นจริงนั่นคือต้องแสดงว่า , , , ,a b c d c d a b

พิสูจน์ , , ,a b c d ac bd ad bc บทนิยามที่ 7.4 ข้อ 3 ,ca db da cb สมบัติการสลับที่ ,ca db cb da สมบัติการสลับที่ , ,c d a b ในท านองเดียวกันกฎอ่ืน ๆ อาจพิสูจน์ได้เช่นกัน ส าหรับจ านวนเชิงซ้อน ,a b

1. เอกลักษณ์การบวกคือ 0,0

2. ผกผันการบวกคือ ,a b

3. เอกลักษณ์การคูณคือ 1,0

4. ผกผันการคูณคือ 2 2 2 2

,a b

a b a b

Page 10: แผนบริหำรกำรสอนประจ ำบทที่ 7¸šทที่ 7(2).pdf · 7.5.2 การหารจ านวนเชิงซ้อน 7.5.3 การหารากจ

77

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาระบบจ านวน (Number System) อาจารย์วรรณธิดา ยลวิลาศ

7.3 จ ำนวนเชิงซ้อนในทำงเรขำคณิต ในท านองเดียวกันกับที่แทนจ านวนจริงด้วยจุดบนเส้นตรง จะแทนจ านวนเชิงซ้อนด้วยจุดในระนาบ โดยแทนจ านวนเชิงซ้อน a bi หรือ ,a b ด้วยจุดซึ่งมีพิกัด ,a b เช่น เขียนแทนจ านวนเชิงซ้อน3 2i จึงมีจุดอยู่ท่ี 3,2 เมื่อจุดทั้งหลายบนระนาบ ใช้แทนเซตของจุดเหล่านั้นเรียกว่าระนาบเชิงซ้อน ผู้ริเริ่มการแทนจ านวนเชิงซ้อนด้วยจุดในระนาบนี้ ได้แก่ เกาส์ (Gauss) และ อาร์กองด์ (Argand) ในบางครั้งจึงเรียกระนาบนี้ว่าระนาบของเกาส์ (Gaussian plane) หรือระนาบของอาร์กองด์ (Argand diagram) ระนาบเชิงซ้อน แกนตามแนวนอนเรียกว่าแกนจริง (real axis) เรียกว่า real-axis และตามแนวตั้งเรียกว่า แกนจินตภาพ (imaginary axis) หรือ i-axis โดยที่การบวกของจ านวนเชิงซ้อนคือการบวกของพิกัด ดังนั้นหากลากเส้นจากจุดก าเนิดต่อเข้ากับจุดเหล่านี้ก็จะกลายเป็นเวกเตอร์ (vector) เช่น เวกเตอร์ 0P เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 0P ตัวอย่ำงท่ี 7.5 จงบวก 5 6i ด้วย 3 2i วิธีท ำ

5 6 3 2 8 4i i i และ 3 2 5 6 8 4i i i

ภาพที่ 7.8 ผลบวก 5 6i ด้วย 3 2i

5 6i

8 4i

3 2i

5 6i

3 2i

Page 11: แผนบริหำรกำรสอนประจ ำบทที่ 7¸šทที่ 7(2).pdf · 7.5.2 การหารจ านวนเชิงซ้อน 7.5.3 การหารากจ

78

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาระบบจ านวน (Number System) อาจารย์วรรณธิดา ยลวิลาศ

7.4 ระบบพิกัดเชิงขั้วและระบบพิกัดตรีโกณมิติ จุด P ในระนาบมีระบบพิกัดฉาก (Cartesian coordinate) หรือมีระยะทาง r จากจุดก าเนิดและท ามุม องศากับแกนนอน เรียก ,r ว่าระบบพิกัดเชิงขั้วของ P

ภาพที่ 7.9 รูปแบบพิกัดเชิงขั้ว

ความสัมพันธ์ระหว่างระบบพิกัดฉากและระบบพิกัดเชิงขั้ว ได้ดังนี้ cos , sin ______ 1a r b r

2 2 , tan ______ 2b

r a ba

ตัวอย่ำงท่ี 7.6 จงหาระบบพิกัดเชิงขั้ว ซึ่งระบบพิกัดฉากเป็น 2, 2 วิธีท ำ จากโจทย์ 2, b 2a

ดังนั้น 222 2 8 2 2r

2tan 1

2

b

a

เพราะฉะนั้น 3315

4

นั่นคือ พิกัดกัดเชิงขั้ว คือ 2 2,315

จากแนวคิดนี้ อาจเขียนจ านวนเชิงซ้อนให้อยู่ในรูปอื่นได้คือ ให้ a bi เป็นจ านวนเชิงซ้อน และ P เป็นจุดแทนจ านวนนี้ ดังนั้น P จึงมี ระบบพิกัดฉากเป็น ,a b และมีระบบพิกัดเชิงขั้ว ,r จาก 1 จะได้ cos , sina r b r ดังนั้น cos sin ______ 3a bi r i

เมื่อ 2 2r a bi a b

และ tanb

a

Page 12: แผนบริหำรกำรสอนประจ ำบทที่ 7¸šทที่ 7(2).pdf · 7.5.2 การหารจ านวนเชิงซ้อน 7.5.3 การหารากจ

79

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาระบบจ านวน (Number System) อาจารย์วรรณธิดา ยลวิลาศ

จ านวนทางขวามือของ 3 เรียกว่าระบบพิกัดตรีโกณมิติ (trigonometric form) หรือ รูปแบบเชิงขั้วของจ านวนเชิงซ้อน a bi

จ านวน 2 2r a b เรียกว่า ค่าสัมบูรณ์ (absolute value) หรือ มอดุลัส (Modulus) ของจ านวนเชิงซ้อน และเขียนแทนด้วย a bi จ านวนทางขวามือของ 3 เรียกว่ารูปแบบพิกัดฉาก (rectangular form) ดังนั้นจ านวนเชิงซ้อนจึงเป็นเวกเตอร์ที่มีทั้งส่วนสูง (absolute value) และทิศทาง (argument) เรียกมุม ว่า อาร์กิวเมนต์ (argument) หรือ แอมพลิจูด (amplitude) เขียนแทนด้วย

arg a bi ถ้า อยู่ในช่วง , เรียกว่า ว่า อาร์กิวเมนต์หลัก (principal argument) และเขียนแทนด้วย rgA a bi ตัวอย่ำงท่ี 7.7 จงเขียน 1 i ให้อยู่ในรูปแบบพิกัดตรีโกณมิติ และรูปแบบพิกัดเชิงขั้ว วิธีท ำ เมื่อเปลี่ยน 1 i กับ a bi จะได้ 1a และ 1b

2 2 1 1 2r a b

1tan 1

1

b

a

จะได้ 454

ดังนั้น arg 14

i

และ 14

Arg i

นั่นคือ 1 2 cos45 sin 45i i อยู่ในรูปแบบพิกัดตรีโกณมิติ

1 2 cos sin4 4

i i

อยู่ในรูปแบบพิกัดเชิงขั้ว

ตัวอย่ำงท่ี 7.8 จงเขียน 2 2 3i ให้อยู่ในรูปแบบพิกัดตรีโกณมิติ และรูปแบบพิกัดเชิงขั้ว วิธีท ำเมื่อเปลี่ยน 2 2 3i กับ a bi จะได้ 2a และ 2 3b

222 2 2 2 3 16 4r a b

2 3tan 3

2

b

a

จะได้ 4240

3

ดังนั้น 4arg 2 2 3

3i

และ 2

2 2 33

Arg i

นั่นคือ 2 2 3 4 cos240 sin 240i i อยู่ในรูปแบบพิกัดตรีโกณมิติ

Page 13: แผนบริหำรกำรสอนประจ ำบทที่ 7¸šทที่ 7(2).pdf · 7.5.2 การหารจ านวนเชิงซ้อน 7.5.3 การหารากจ

80

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาระบบจ านวน (Number System) อาจารย์วรรณธิดา ยลวิลาศ

2 22 2 3 4 cos sin

3 3i

อยู่ในรูปแบบพิกัดเชิงขั้ว

หรือ 2 22 2 3 4 cos sin

3 3i

อยู่ในรูปแบบพิกัดเชิงขั้ว

ตัวอย่ำงท่ี 7.9 จงเปลี่ยน 6 cos240 sin 240i ให้อยู่ในรูปแบบพิกัดฉาก วิธีท ำ ให้ cos sina bi r i

จะได้ 1

cos 6 cos 240 6 32

a r

3

sin 6 sin 240 6 3 32

b r

ดังนั้น 6 cos240 sin 240i อยู่ในรูปแบบพิกัดฉาก คือ 3 3 3

ตัวอย่ำงท่ี 7.10 จงหามอดุลัสและอาร์กิวเมนต์ของ 3 cos sin6 6

i

วิธีท ำ จากโจทย์ มอดุลัส คือ 3

จะหาอาร์กิวเมนต์ ของ3 cos sin6 6

i

จะได้ 3 cos sin 3 cos sin6 6 6 6

i i

5 53 cos sin

6 6i

ดังนั้นอาร์กิวเมนต์ คือ 5

6

7.5 กำรคูณและกำรหำรจ ำนวนเชิงซ้อน 7.5.1 กำรคูณจ ำนวนเชิงซ้อน การคูณจ านวนเชิงซ้อนในรูปแบบเชิงขั้วหรือรูปแบบตรีโกณมิติ อาจจะสลับกันเล็กน้อย เพื่อความสะดวกจะเขียนย่อ cos sinr i ว่า c sr i ให้ 1 1c sr i และ 2 2c sr i เป็นจ านวนเชิงซ้อน

1 1 2 2 1 2 1 2c s c s c s c sr i r i r r i i

Page 14: แผนบริหำรกำรสอนประจ ำบทที่ 7¸šทที่ 7(2).pdf · 7.5.2 การหารจ านวนเชิงซ้อน 7.5.3 การหารากจ

81

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาระบบจ านวน (Number System) อาจารย์วรรณธิดา ยลวิลาศ

1 2 1 1 2 2

1 2 1 2 1 2 1 2 1 2

1 2 1 2 1 2

1 2 1 2

cos sin cos sin

cos cos sin sin sin cos cos sin

cos sin

c s

r r i i

r r i

r r i

r r i

ดังนั้นผลคูณของจ านวนเชิงซ้อน 1 2 1 2c sr r i

1 1 2 2 3 3 1 2 3 1 2 3c s c s c s c sr i r i r i r r r i ถ้า 1 2 3, , ต่างก็เท่ากับ และ 1 2 3, ,r r r ต่างก็เท่ากับ r จะได้ว่า

3 3c s 3r i r cis ท านองเดียวกัน c s ______ 4

n nr i r cisn เมื่อ n เป็นจ านวนจริง จะเรียก 4 ว่า ทฤษฎีเดอร์มัวฟ์ (De Moivre’s Theorem)

ตัวอย่ำงที่ 7.11 จงหาผลคูณของจ านวนเชิงซ้อน 3 cos sin4 4

i

และ

5 52 cos sin

6 6i

วิธีท ำ จากผลคูณจ านวนเชิงซ้อน 1 1 2 2 1 2 1 2c s c s c sr i r i r r i

จะได้ 5 5 53 cos sin 2 cos sin 3 2

4 4 6 6 4 6i i cis cis

5

3 24 6

cis

266

24cis

136

12cis

13 136 cos sin

12 12i

นั่ นคื อ ผลคูณของจ านวนเชิ งซ้ อน 3 cos sin4 4

i

และ 5 5

2 cos sin6 6

i

คื อ

136

12cis

หรือ 13 136 cos sin

12 12i

7.5.2 กำรหำรจ ำนวนเชิงซ้อน การหารจ านวนเชิงซ้อนในรูปแบบเชิงขั้วหรือรูปแบบตรีโกณมิติ

ให้ 1 1c sr i และ 2 2c sr i เป็นจ านวนเชิงซ้อน

2 21 1 1 1

2 2 2 2 2 2

c sc s c s

c s c s c s

r ir i r i

r i r i r i

Page 15: แผนบริหำรกำรสอนประจ ำบทที่ 7¸šทที่ 7(2).pdf · 7.5.2 การหารจ านวนเชิงซ้อน 7.5.3 การหารากจ

82

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาระบบจ านวน (Number System) อาจารย์วรรณธิดา ยลวิลาศ

1 2 1 2

2

2

11 2

2

c s

c s0

c s

r r i

r i

ri

r

ดังนั้น ค่าสัมบูรณ์ของเศษส่วนของจ านวนเชิงซ้อนสองจ านวนก็คือ เศษส่วนของค่าสัมบูรณ์ อาร์กิวเมนต์หลักของเศษส่วนก็คือ อาร์กิวเมนต์ของเศษลบด้วยอาร์กิวเมนต์ของส่วน

ตัวอย่ำงที่ 7.12 จงหาผลหารของจ านวนเชิงซ้อน 3 35 cos sin

4 4i

และ 2i

วิธีท ำ จากการหารจ านวนเชิงซ้อน

1 1 1

1 2

2 2 2

c sc s

c s

r i ri

r i r

และ 2i สามารถเขียนให้อยู่ในรูปแบบเชิงขั้วได้ดังนี้

2 0 2 2 cos sin2 2

i i i

ดังนั้น

3 35 cos sin

5 34 4

2 4 22 cos sin

2 2

i

cis

i

5

2 4cis

5cos sin

2 4 4

i

นั่นคือ ผลหารของจ านวนเชิงซ้อน 3 35 cos sin

4 4i

และ 2i คือ 5

2 4cis

หรือ

5cos sin

2 4 4i

7.5.3 กำรหำรำกจ ำนวนเชิงซ้อน การหารากอันดับที่ n ใด ๆ ของจ านวนเชิงซ้อนที่ก าหนดมาให้ กล่าวคือ เมื่อก าหนด

จ านวนเชิงซ้อน w โดยที่ 0w และจ านวนเต็มบวก 1n มาให้แล้ว ราก (root) ที่ n ของ w ถ้า a bi สอดคล้องสมการ

na bi w โดยการค านวณหารากของจ านวนเชิงซ้อน มีวิธีการ

ค านวณดังนี้ cos sinnw r n i n จ านวนเชิงซ้อน 2 จ านวนเท่ากัน แสดงว่า ทั้งค่ามอดุลัสและค่าอาร์กิวเมนต์ต้องเท่ากัน จึง

สรุปว่า 1

2 2cos sinn

k ka bi r i

n n n n

โดยที่ 0,1,2, , 1k n

Page 16: แผนบริหำรกำรสอนประจ ำบทที่ 7¸šทที่ 7(2).pdf · 7.5.2 การหารจ านวนเชิงซ้อน 7.5.3 การหารากจ

83

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาระบบจ านวน (Number System) อาจารย์วรรณธิดา ยลวิลาศ

หรือ 1

2n

ka bi r cis

n n

โดยที่ 0,1,2, , 1k n

ตัวอย่ำงที่ 7.13 จงหารากท่ี 2 ของสมการ 2 2 3i

วิธีท ำ มอดุลัส 22

2 2 3 16 4r

2 3tan 3

2

b

a

จะได้ 4240

3

ดังนั้น 4arg 2 2 3

3i

รากที่ 2 ของสมการ 2 2 3i ที่ต้องการคือ

รากที่ 1 กรณี 0;k 4

2 0 232 22 2 3

cis cis

1 32

2 2i

1 3i

รากที่ 2 กรณี 1;k 4

2 1 532 22 2 3

cis cis

1 32

2 2i

1 3i ดังนั้น รากที่ 2 ของสมการ 2 2 3i คือ 1 3i และ 1 3i ตัวอย่ำงที่ 7.14 จงหารากท่ี 3 ของ i วิธีท ำ i สามารถเขียนให้อยู่ในรูปแบบเชิงขั้วได้ดังนี้

0 1 cos sin2 2

i i i

มอดุลัส 2 2

0 1 1 1r

0902

Page 17: แผนบริหำรกำรสอนประจ ำบทที่ 7¸šทที่ 7(2).pdf · 7.5.2 การหารจ านวนเชิงซ้อน 7.5.3 การหารากจ

84

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาระบบจ านวน (Number System) อาจารย์วรรณธิดา ยลวิลาศ

ดังนั้น arg2

i

รากที่ 3 ของสมการ i ที่ต้องการคือ

รากที่ 1 กรณี 0;k 2 02

3 3 6cis cis

3

2 2

i

รากที่ 2 กรณี 1;k 2 1 52

3 3 6cis cis

3

2 2

i

รากที่ 3 กรณี 2;k 2 2 32

3 3 2cis cis

i

ดังนั้น รากที่ 3 ของสมการ i คือ 3,1 3

2 2

ii และ i

สรุป

จ านวนเชิงซ้อนมีระบบพิกัดฉากและระบบพิกัดเชิงขั้ว

แบบฝึกหัด

จงหาค่าสัมบูรณ์และอาร์กิวเมนต์ของจ านวนเชิงซ้อนต่อไปนี้

1. 2 cos sin8 8

i

2. 2 cos sin8 8

i

3. 2 cos sin8 8

i

Page 18: แผนบริหำรกำรสอนประจ ำบทที่ 7¸šทที่ 7(2).pdf · 7.5.2 การหารจ านวนเชิงซ้อน 7.5.3 การหารากจ

85

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาระบบจ านวน (Number System) อาจารย์วรรณธิดา ยลวิลาศ

4. 2 sin cos8 8

i

5. 1 3i

6. 1

1

i

i

จงหารากของสมการ

1. 2 16 0x

2. 2 4 9 0x x จงหาค่าของ

1. 6

1 i

2. 5

1 3i

3. 4

2 2i