รายงานผลการจัดอบรมเชิง ... › sar › file ›...

13
รายงานผลการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการและสัมมนา ของศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 เรื่อง การปรับปรุงและพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง (KAIZEN) ระหว่างวันที่ 9-11 กุมภาพันธ์ 2555 ห้องสตูดิโอ 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และอาราญาน่า ภูพิมาน รีสอร์ท & สปา อาเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา กุมภาพันธ์ 2555

Transcript of รายงานผลการจัดอบรมเชิง ... › sar › file ›...

Page 1: รายงานผลการจัดอบรมเชิง ... › sar › file › 2554rj23fxoh1zg9.pdf · 2016-06-18 · รายงานผลการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการและสัมมนา

รายงานผลการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการและสัมมนา ของศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555

เรื่อง การปรับปรุงและพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง (KAIZEN) ระหว่างวันที ่9-11 กุมภาพันธ์ 2555

ณ ห้องสตูดิโอ 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี และอาราญาน่า ภูพิมาน รีสอร์ท & สปา อ าเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา

กุมภาพันธ์ 2555

Page 2: รายงานผลการจัดอบรมเชิง ... › sar › file › 2554rj23fxoh1zg9.pdf · 2016-06-18 · รายงานผลการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการและสัมมนา

1

รายงานสรุปผลการอบรมเชิงปฏิบัติการและสัมมนา

ของศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 -----------------------------------

ก. ชื่อโครงการ : โครงการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการและสัมมนานอกสถานที ่เรื่อง การปรับปรุงและพัฒนา งานอย่างต่อเนื่อง (KAIZEN)

1. หลักการและเหตุผล ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาด าเนินการงานตามภารกิจตามโครงสร้างการบริหารงาน

ในด้านต่างๆ ได้แก่ การวางแผนออกแบบและพัฒนาสื่อการศึกษา การผลิตสื่อโสตทัศน์ การผลิตสื่อคอมพิวเตอร์ในรูปแบบ online และ offline การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ การทดสอบประสิทธิภาพและประเมินสื่อ การวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อให้มีคุณภาพ การพัฒนาระบบและบริหารจัดการฐานความรู้ การพัฒนาระบบการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายเพ่ือเตรียมความพร้อมรองรับการเรียนการสอน การให้บริการการเรียนการสอนผ่านเครือข่าย และการให้บริการฝึกปฏิบัติการขั้นสูงส าหรับนักศึกษาหลักสูตรวิทยาการสารสนเทศ จากภารกิจดังกล่าวการปรับปรุงคุณภาพและประสิทธิภาพงานในความรับผิดชอบของบุคลากรทุกระดับภายในองค์กรอย่างต่อเนื่อง จะสามารถส่งผลต่อการเพ่ิมผลผลิต ลดต้นทุนขององค์กรได้ในภาพรวม การพัฒนาความสามารถของบุคลากรทุกระดับให้มีความสามารถในการปรับปรุงการท างานอย่างต่อเนื่อง จึงเป็นสิ่งที่องค์การต้องค านึงถึงไคเซ็น (Kaizen) เป็นเทคนิคที่ได้รับการยอมรับ ไม่เฉพาะแต่ในประเทศญี่ปุ่นเท่านั้น หากแต่ทุกองค์การในประเทศทั่วโลกต่างยอมรับว่า วิธีการท างานแบบ Kaizen สามารถน ามาใช้เพ่ิมผลผลิตให้กับองค์การได้อย่างมีประสิทธิภาพ Kaizen มุ่งเน้นที่การมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกคนในการร่วมกันแสวงหาแนวทางใหม่ๆ เพื่อการคิดปรับปรุงงาน Kaizen ใช้ความรู้ความสามารถหรือศักยภาพที่มีอยู่เต็มเปี่ยมในตัวบุคลากรมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการคงอยู่ขององค์กร โดยใช้การลงทุนเพียงเล็กน้อย ก่อให้เกิดการปรับปรุงทีละเล็กทีละน้อยที่ค่อยๆ เพ่ิมพูนขึ้นอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะอยู่ในสภาวะเศรษฐกิจแบบใด บุคลากรก็สามารถใช้วิธีการ Kaizen เพ่ือปรับปรุงวิธีการท างานและสภาพแวดล้อมในการท างานให้ดีขึ้นได้ หัวใจส าคัญของ Kaizen อยู่ที่ต้องมีการปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่องแบบไม่หยุดยั้งและยั่งยืน ด้วยขั้นตอนที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน สามารถท าได้ง่าย เห็นผลชัดเจนในระยะเวลาอันสั้น และบุคลากรสามารถด าเนินกิจกรรมได้ด้วยตนเองทันที Kaizen จึงเหมาะสมในการที่จะเผยแพร่ให้กับบุคลากรทุกระดับในองค์กร

การปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่องเป็นส่วนหนึ่งในหน้าที่ของพนักงานทุกคน มิใช่เพียงท างานตามหน้าที่ หรือขั้นตอนที่ได้รับมอบหมายเท่านั้น องค์กรควรปลูกจิตส านึกให้กับพนักงานในการปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง ทีละเล็ก ทีละน้อย หรือที่เรียกว่า ไคเซ็น (Kaizen) ซึ่งเป็นกิจกรรมพ้ืนฐานอีกกิจกรรมหนึ่งที่มีประสิทธิผล และองค์กรส่วนใหญ่นิยมน าไปใช้ ดังนั้น องค์กรควรให้ความรู้ ความเข้าใจ และสร้างจิตส านึกให้พนักงานทุกคน ทุกระดับ เรียนรู้วิธีการ เทคนิคการท าไคเซ็นในงานของตนเพ่ือให้งานมีคุณภาพมากขึ้น ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาให้ความส าคัญการปรับปรุงงานแบบ Kaizen ที่จะช่วยให้ผู้ปฏิบัติงาน

Page 3: รายงานผลการจัดอบรมเชิง ... › sar › file › 2554rj23fxoh1zg9.pdf · 2016-06-18 · รายงานผลการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการและสัมมนา

2

สามารถค้นพบปัญหาและปรับปรุงข้อบกพร่องนั้นด้วยตัวเอง ท าให้สามารถลดความสูญเปล่า และเพ่ิมประสิทธิภาพในการท างานได้ น าไปสู่มาตรฐานกระบวนการท างานที่ยั่งยืน และการพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง

2. วัตถุประสงค์ : 2.1 เพ่ือมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของพนักงานทุกคน ร่วมกันแสวงหาแนวทางใหม่ๆ เพ่ือปรับปรุงวิธีการ ท างานและสภาพแวดล้อมในการท างานให้ดีขึ้นอยู่เสมอ 2.2 เพ่ือให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจในขั้นตอนการปรับปรุงงานแบบ Kaizen 2.3 เพ่ือให้บุคลากรได้เรียนรู้เทคนิค วิธีการค้นพบปัญหาและการคิดค้นวิธีการปรับปรุงท างาน 2.4 เพ่ือให้บุคลากรสามารถน าเทคนิค Kaizen มาประยุกต์ใช้ในการบริหารงาน / ปรับปรุงวิธีการ ท างานอย่างต่อเนื่อง 2.5 เพ่ือเปิดโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การท ากิจกรรมปรับปรุงวิธีการท างานภายใน

แต่ละฝ่ายร่วมกัน

3. ระยะเวลาการจัดอบรมและสถานที่จัดอบรม : 3 วัน 3.1 วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2555 ณ ห้องสตูดิโอ 1 ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 3.2 วันที่ 10-11 กุมภาพันธ์ 2555 ณ อาราญาน่า ภูพิมาน รีสอร์ท & สปา อ าเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา

4. การด าเนินการอบรมสัมมนา : 4.1 วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2555

- ฟังการบรรยายให้ความรู้จากวิทยากรที่มีประสบการณ์ การค้นพบปัญหาและขั้นตอนการปรับปรุงงาน โดยหลักการ Kaizen เทคนิคการปรับปรุงวิธีการท างานอย่างต่อเนื่องด้วย Kaizen การจัดการระบบไคเซ็น องค์การให้เกิดประสิทธิภาพ การเสริมสร้างมุมมองในการคิดค้นแนวทางในการปรับปรุงงานแบบสร้างสรรค์ เทคนิคการน า Kaizen มาประยุกต์ใช้ในการบริหารงาน/ปรับปรุงวิธีการท างาน อย่างต่อเนื่องในหน่วยงาน

- กิจกรรมกรณีศึกษา - ถาม-ตอบ

4.2 วันที่ 10-11 กุมภาพันธ์ 2555 กิจกรรมนอกสถานที่ แลกเปลี่ยนนานาทัศนะร่วมกัน และสรุปผลการสัมมนา

Page 4: รายงานผลการจัดอบรมเชิง ... › sar › file › 2554rj23fxoh1zg9.pdf · 2016-06-18 · รายงานผลการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการและสัมมนา

3

5. ผู้เข้ารับการอบรม : ผู้บริหารและพนักงานศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา จ านวน 37 คน 6. งบประมาณที่ใช้ในการสัมมนา :

6.1 งบสนับสนุนจากมหาวิทยาลัย (ตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย) เป็นเงิน 87,500 บาท 6.2 เงินค่าความเข้มแข็งศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา เป็นเงิน 30,000 บาท

รวมทั้งสิ้น 117,500 บาท

Page 5: รายงานผลการจัดอบรมเชิง ... › sar › file › 2554rj23fxoh1zg9.pdf · 2016-06-18 · รายงานผลการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการและสัมมนา

4 ข. การบริหารโครงการ : ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาได้รับเงินสนับสนุนจากมหาวิทยาลัย จ านวนเงิน 84,500 บาท โดยมีการใช้จ่ายรวมทั้งสิ้น จ านวนเงิน 114,476 บาท รายละเอียดรายรับและรายจ่ายดังนี้ รายรับ 1) เงินสนับสนุนจากมหาวิทยาลัย เป็นเงิน 84,500 บาท* - เงินสนับสนุนค่าใช้จ่ายการฝึกอบรม สัมมนาตามสิทธิ์ เหมาจ่าย 37 คน ๆ ละ 1,200 บาท = 44,400 บาท

- ค่าตอบแทนวิทยากร 7 ชั่วโมงๆ ละ 1,200 บาท = 8,400 บาท - ค่าท่ีพักส าหรับวิทยากร 1 คืนๆ ละ 700 บาท = 700 บาท - ค่าใช้จ่ายในการเดินทางของวิทยากร = 1,000 บาท - ค่าพาหนะในการเดินทางตามที่จ่ายจริง โดยรถบัสปรับอากาศเหมาจ่าย = 30,000 บาท 2) เงินค่าความเข้มแข็งศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา เป็นเงิน 30,000 บาท 3) เงินสนับสนุนจากผู้บริหาร บุคลากรศูนย์ฯ และเงินสนับสนุน จากอ่ืนๆ เป็นเงิน 23,100 บาท รวมเป็นเงิน 137,600 บาท รายจ่าย 1) ค่าใช้จ่ายในการส ารวจสถานที่ในการจัดสัมมนาภายนอก เป็นเงิน 1,750 บาท 2) ค่าตอบแทนวิทยากร เป็นเงิน 8,400 บาท 3) ค่าใช้จ่ายในการเดินทางวิทยากร ค่าแก๊ส ค่าเบี้ยเลี้ยง พนักงานขับรถ และค่าทางด่วน เป็นเงิน 800 บาท 4) ค่าพาหนะในการเดินทางโดยรถบัสปรับอากาศเหมาจ่าย เป็นเงิน 18,000 บาท 5) ค่าท่ีพัก ค่าอาหาร ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เป็นเงิน 82,931 บาท 6) ค่าใช้จ่ายอื่นๆ เป็นเงิน 2,595 บาท รวมรายจ่าย เป็นเงิน 114,476 บาท 7) เงินส่งคืนมหาวิทยาลัย เป็นเงิน 13,922 บาท 7.1) ค่าใช้จ่ายในการเดินทางของวิทยากร 200 บาท 7.2) ค่าท่ีพักวิทยากร (เนื่องจากตั้งหนี้ระหว่างหน่วยงาน) 700 บาท 7.3) คืนเงินในส่วนของคุณณัฐวุฒิ วันที่ 10-11 ก.พ.55 1,022 บาท 7.4) ค่าพาหนะในการเดินทางโดยรถบัสปรับอากาศ 12,000 บาท 8) คืนเงินเข้าบัญชี ศนท. เป็นเงิน 9,202 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 137,600 บาท

Page 6: รายงานผลการจัดอบรมเชิง ... › sar › file › 2554rj23fxoh1zg9.pdf · 2016-06-18 · รายงานผลการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการและสัมมนา

5 หมายเหตุ * หมายถึง มหาวิทยาลัยสนบัสนุนคา่ใช้จ่ายในการจัดอบรมเชิงปฏบิัติการและสมัมนา จ านวนเงิน 87,500 บาท ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาได้รับเงนิจริง 84,500 บาท อีก 3,000 บาท เป็นค่าใช้จา่ยในการเดินทางของวิทยากร มหาวิทยาลัยได้หักไว้เป็นคา่น้ ามัน ซึ่งใช้บัตรเครดิตของ มหาวิทยาลยั

ค. ผลการด าเนินงาน :

1. หัวข้อการอบรมให้ความรู้ภาควิชาการ : เรื่อง การปรับปรุงและพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง (KAIZEN) ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 9 กุมภาพันธ์ 2555 ณ ห้องสตูดิโอ 1 ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา โดย อาจารย์ ดร. ราเชนทร์ โกศัลวิตร ผู้อ านวยการศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา ได้ให้เกียรติ เป็นประธานพิธีเปิดการสัมมนา และให้โอวาท

กล่าวรายงานโดย ผศ. ร.อ.ดร. ประโยชน์ ค าสวัสดิ์

รองผอ.ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา

2. วิทยากร : อาจารย์สราวุฒิ พันธุชงค์ ผู้อ านวยการฝ่ายการให้ค าปรึกษา บริษัท เดอะเลคเชอร์เลอร์ คอนซัลติ้งพลัส จ ากัด

Page 7: รายงานผลการจัดอบรมเชิง ... › sar › file › 2554rj23fxoh1zg9.pdf · 2016-06-18 · รายงานผลการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการและสัมมนา

6 3. กิจกรรม :

3.1 วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2555 - ฟังการบรรยายให้ความรู้จากวิทยากรที่มีประสบการณ์ Kaizen แบบบูรณาการ

- กิจกรรมกลุ่ม ให้ทุกกลุ่มระบุปัญหาที่พบในการท างาน การใช้หลักการคิดตามแนวทางของไคเซน ก่อนการปรับปรุงงาน และหลังการปรับปรุงงาน เขียนเป็นภาพและน าเสนอ สรุปได้เป็น 4 กลุ่ม 4 เรื่อง ดังนี้ กลุ่มท่ี 1 การปรับปรุงและพัฒนางานการติดตามหนังสือ/เอกสาร เพ่ือการรายงานผลความ คืบหน้าแก่ผู้บริหาร กลุ่มท่ี 2 การปรับปรุงและพัฒนางานการเสนอแฟ้มเอกสาร กลุ่มท่ี 3 การปรับปรุงและพัฒนางานการเบิกวัสดุ อุปกรณ์ กล้องวีดิทัศน์ กล้องภาพนิ่ง และอุปกรณ์ต่างๆ กลุ่มท่ี 4 การปรับปรุงและพัฒนางานการบันทึกการเรียนการสอนในห้องเรียน

Page 8: รายงานผลการจัดอบรมเชิง ... › sar › file › 2554rj23fxoh1zg9.pdf · 2016-06-18 · รายงานผลการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการและสัมมนา

7 โดยมีรายละเอียดการปรับปรุงและพัฒนางานของกลุ่มท่ี 1-4 ดังนี้ กลุ่มที่ 1 การปรับปรุงและพัฒนางานการติดตามหนังสือ/เอกสาร เพื่อการรายงานผล ความคืบหน้าแก่ผู้บริหาร ก่อนการปรับปรุงงาน พบปัญหาการส่งเอกสารไปภายนอกศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาของทุกฝ่าย ซ่ึงฝ่ายบริหารงานทั่วไปได้ด าเนินการลงทะเบียนส่งผ่านระบบรับ-ส่ง Online ของมหาวิทยาลัย และทุกฝ่ายได้ส่งหนังสือออกไปภายนอก พบว่าหนังสือที่ได้ส่งไปหน่วยงานภายนอกของทุกฝ่ายยังไม่สามารถติดตามผลเพ่ือรายงานผู้บริหารได้

หลังการปรับปรุง ปรับปรุงกระบวนการโดยฝ่ายบริหารงานทั่วไปประสานกับคณะท างานพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ (MIS) ภายใน ศนท. และสถานส่งเสริมและพัฒนาระบบสารสนเทศ (MIS) ของมหาวิทยาลัยและทุกฝ่ายที่เก่ียวของของ ศนท. เพ่ือร่วมพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพ่ิมเติมในระบบรับ-ส่งหนังสือ Online ของมหาวิทยาลัย โดยทุกฝ่ายจะต้องเข้ามาบันทึกผลการด าเนินการของหนังสือที่ส่งออกในระบบ ซึ่งจะท าให้ทุกฝ่ายสามารถทราบและติดตามผลเพ่ือรายงานผู้บริหารได้ ดังนั้น กลุ่มท่ี 1 ได้ใช้หลักการ ได้แก ่ E C R S เพ่ือเริ่มต้นกระบวนการปรับปรุงงาน โดยหลักการประกอบด้วย Eliminate=การตัดข้ันตอนการท างานที่ไม่จ าเป็นในกระบวนการออกไป Combine=การรวมข้ันตอนการท างานเข้าด้วยกัน เพื่อประหยัดเวลาหรือแรงงาน ในการท างาน Re-arrange= การจัดล าดับงานใหม่ให้เหมาะสม Simplify=ปรับปรุงวิธีการท างาน หรือสร้างอุปกรณ์ช่วยให้ท างานได้ง่ายขึ้น

Page 9: รายงานผลการจัดอบรมเชิง ... › sar › file › 2554rj23fxoh1zg9.pdf · 2016-06-18 · รายงานผลการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการและสัมมนา

8 และมีตัวชี้วัดของการท ากิจกรรมและเป้าหมาย ได้แก่ Productivity=การปรับปรุงประสิทธิภาพการท างานเพ่ือให้ได้งานที่มีปริมาณและ มีมูลค่าเพ่ิมขึ้น Quality=งานที่ได้ปรับปรุงมีคุณภาพ สร้างความพอใจให้กับผู้บริหาร และ/หรือผู้ใช้ ขอ้มูล Cost=ลดค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงงานที่มีผลต่อการจัดท าระบบฐานข้อมูล เพ่ิมเติมในระบบรับ-ส่งหนังสือ Online ของมหาวิทยาลัย เนื่องจากเป็น การพัฒนาต่อยอดจากระบบเดิมที่มีอยู่แล้ว ท าให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง Delivery=ลดระยะเวลาในการด าเนินการ สามารถให้ข้อมูลได้ตามความต้องการ Safety=มีความปลอดภัยในการท างานของพนักงาน มีผลต่อคุณภาพของงานการ ติดตามหนังสือ/เอกสาร Morale=สร้างขวัญและก าลังใจให้แก่พนักงาน เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อความ ตอ้งการของผู้บริหาร และ/หรือผู้ใช้ข้อมูล Environment= มีการด าเนินงานโดยค านึงถึงคุณภาพของสิ่งแวดล้อมควบคู่กัน ไปด้วย กลุ่มที่ 2 การปรับปรุงและพัฒนางานการเสนอแฟ้มเอกสาร ก่อนการปรับปรุง พบปัญหาเวลาน าหนังสือ/เอกสารเข้าแฟ้มเพ่ือเสนอหัวหน้าฝ่าย/ผู้บริหาร หนังสือ/เอกสารเป็นรอยยับ ไม่สวยงาม เกิดความเสียหายในบริเวณท่ีใช้ลวดเสียบกระดาษ หลังการปรับปรุง ปรับปรุงกระบวนการเสนอแฟ้มโดยจัดท ามุมกระดาษติดทั้งสี่ด้าน เพ่ือส าหรับสอดเอกสารแทนการใช้ลวดเสียบกระดาษ ซึ่งจะท าให้หนังสือ/เอกสารไม่เป็นรอยยับ สวยงามและสามารถลดต้นทุนการใช้ลวดเสียบกระดาษได้

Page 10: รายงานผลการจัดอบรมเชิง ... › sar › file › 2554rj23fxoh1zg9.pdf · 2016-06-18 · รายงานผลการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการและสัมมนา

9 ดังนั้น กลุ่มที่ 2 ได้น าไคเซนมาใช้ในการปรับปรุงกระบวนการท างาน คือ

1. การเปลี่ยนวิธีการ เปลี่ยนวิธกีารท างาน 2. เปลี่ยนเรื่องเล็กหรือปัญหาที่พบเห็นในแต่ละวัน 3. รับมือกับความเป็นจริง ท าเรื่องที่ท าได้ก่อน

กลุ่มที่ 3 การปรับปรุงและพัฒนางานการเบิกวัสดุ อุปกรณ์ กล้องวีดิทัศน์ กล้องภาพนิ่งและอุปกรณ์ต่างๆ ก่อนการปรับปรุง พบปัญหาการเบิกวัสดุ อุปกรณ์ กล้องวีดิทัศน์ กล้องภาพนิ่ง และอุปกรณ์ประกอบต่างๆ ที่อยู่ในตู้ของงานการเงินและพัสดุ เวลาเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบการเบิกไม่อยู่ ฝากผู้อ่ืนดูแลการเบิกแทน ท าให้ไม่สามารถทราบได้ว่าวัสดุ อุปกรณ์ และกล้อง อยู่ตู้ไหนบ้าง ต้องใช้เวลาในการเปิดตู้เพื่อหาวัสดุ อุปกรณ์ และกล้องที่ผู้เบิกต้องการใช้ หลังการปรับปรุง ปรับปรุงกระบวนการโดยจัดท าหมายเลขตู้ติดที่หน้าตู้ จัดท าป้ายชื่อวัสดุ อุปกรณ์ และกล้องติดที่หน้าตู้ และจัดท าดัชนีตู้เป็นรูปเล่มวางไว้ที่โต๊ะเบิก ดังนั้น กลุ่มที่ 3 ได้น าไคเซนมาใช้ในการปรับปรุงกระบวนการท างาน คือ

1. การเปลี่ยนวิธีการ เปลี่ยนวิธกีารท างาน 2. เปลี่ยนเรื่องเล็กหรือปัญหาที่พบเห็นในแต่ละวัน 3. รับมือกับความเป็นจริง ท าเรื่องที่ท าได้ก่อน

กลุ่มที่ 4 การปรับปรุงและพัฒนางานการบันทึกการเรียนการสอนในห้องเรียน ก่อนการปรับปรุง พบปัญหาระบบบันทึกการเรียนการสอน ทีบ่ันทึกได้ห้องเดียว ที่ห้อง 1500 ที่นั่ง อีก 2 ห้อง จะต้องใช้เจ้าหน้าที่บันทึก จ านวน 2 คน และใช้กล้องบันทึกอีก 2 ตัว ท าให้สิ้นเปลืองการใช้ทรัพยากร คน และวัสดุอุปกรณ์

Page 11: รายงานผลการจัดอบรมเชิง ... › sar › file › 2554rj23fxoh1zg9.pdf · 2016-06-18 · รายงานผลการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการและสัมมนา

10 หลังการปรับปรุง ปรับปรุงกระบวนการโดยเดินสายสัญญาณ 2 ห้อง ไปรวมที่ระบบบันทึกการเรียนการสอนที่ห้อง 1500 ที่นั่ง ซึ่งจะท าให้สามารถลดเจ้าหน้าที่บันทึกได้ 2 คน และกล้อง 2 ตัว ใช้เจ้าหน้าที่เพียง 1 คนเท่านั้นเพ่ือควบคุม/เลือกบันทึกไปที่ห้องที่ต้องการใช้งาน ดังนั้น กลุ่มที่ 4 ได้ใช้หลักการ E C R S เพ่ือเริ่มต้นกระบวนการปรับปรุงงาน โดยหลักการประกอบด้วย Eliminate=การตัดข้ันตอนการท างานที่ไม่จ าเป็นในกระบวนการออกไป Combine=การรวมข้ันตอนการท างานเข้าด้วยกัน เพื่อประหยัดเวลาหรือแรงงาน ในการท างาน Re-arrange= การจัดล าดับงานใหม่ให้เหมาะสม Simplify=ปรับปรุงวิธีการท างาน หรือสร้างอุปกรณ์ช่วยให้ท างานได้ง่ายขึ้น - ถาม-ตอบ - มอบของที่ระลึกแก่วิทยากร และถ่ายภาพร่วมกัน

Page 12: รายงานผลการจัดอบรมเชิง ... › sar › file › 2554rj23fxoh1zg9.pdf · 2016-06-18 · รายงานผลการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการและสัมมนา

11 4. การสัมมนานอกสถานที่ : การแลกเปลี่ยนนานาทศันะร่วมกัน ระหว่างวันที่ 10-11 กุมภาพันธ์ 2555 ณ อาราญาน่า ภูพิมาน รีสอร์ท & สปา อ าเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา

Page 13: รายงานผลการจัดอบรมเชิง ... › sar › file › 2554rj23fxoh1zg9.pdf · 2016-06-18 · รายงานผลการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการและสัมมนา

12 5. ผลประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าอบรม : มีผู้ส่งแบบสอบถามท้ังสิ้น 29 คน โดยมีผลประเมินความพึงพอใจ ดังนี้ 5.1 ด้านความรู้ก่อนสัมมนา ผู้เข้ารับการอบรมมีรู้ ความเข้าใจ อยู่ในระดับน้อย (คะแนนเฉลี่ย = 2.21) 5.2 ด้านกระบวนการจัดการสัมมนา ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (คะแนนเฉลี่ย = 4.52) 5.3 ด้านวิทยากร ผู้เขา้รับการอบรมมีความพึงพอใจด้านเนื้อหา ความชัดเจนในการถ่ายทอดความรู้ใน ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (คะแนนเฉลี่ย = 4.64) 5.4 ด้านความรู้ที่ได้รับจากการสัมมนา ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจสามารถน าไปประยุกต์ ใช้ในการท างาน โดยมีผลการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (คะแนนเฉลี่ย = 4.43)

6. ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ : 6.1 วิทยากรบรรยายน าเสนอได้ดีมาก 6.2 สามารถน าความรู้มาพัฒนา ปรับปรุง หรือเปลี่ยนแปลงกระบวนการที่ท าให้การท างานดีข้ึนอย่าง ต่อเนื่อง และควรน าไปต่อยอดในการปฏิบัติงานจริง

7. ผลที่ได้จากการอบรม : 7.1 บุคลากรศูนย์นวัตกรรมฯ สามารถเพ่ิมประสิทธิภาพในการท างานด้วยการท างานให้น้อยลง จากความสูญเปล่า ความคลาดเคลื่อน และความล าบากตรากตร าในกระบวนการท างานที่ตนเอง ค้นพบ และขจัดออกอย่างต่อเนื่อง โดยใช้แนวทางในการปรับปรุง คือ ลด เลิก เปลี่ยน (Eliminate, Combine, Re-arrange และ Simplify : ECRS) 7.2 บุคลากรศูนย์นวัตกรรมฯ ได้เข้าใจในการปรับปรุงงานตามแบบไคเซน โดยใช้วิธีการปรับปรุงจะต้อง มีเป้าหมาย 7 ข้อ คือ Productivity, Quality, Cost, Delivery, Safety, Morale และ Environment 8. ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ

8.1 ข้อจ ากัดของงบประมาณมีผลต่อการเลือกสถานที่ในการจัดสัมมนาภายนอก 8.2 การเดินทางไปสัมมนานอกสถานที่ ควรเดินทางโดยยานพาหนะคันเดียวกัน เพ่ือให้สามารถท า

กิจกรรมเชื่อมความสัมพันธ์ร่วมกันได้ตั้งแต่ต้นจนเสร็จสิ้นการสัมมนา