รายงานสรุปeiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/STB...

108
รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี รายงานสรุป มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc หนา รายงานสรุป สารบัญ 0E1 บทนํา................................................................................................................................................ 1 E1.1 ความเปนมาของโครงการ ......................................................................................................... 1 E1.2 วัตถุประสงคของการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ................................................................... 2 E1.3 ขอบเขตการศึกษา .................................................................................................................... 3 E1.3.1 ขอบเขตรายงานวิเคราะหผลกระทบทางสิ่งแวดลอม ........................................................ 3 E1.3.2 ขอบเขตพื้นที่ศึกษา ........................................................................................................ 3 E2 รายละเอียดโครงการ ....................................................................................................................... 6 E2.1 เปาหมายและวัตถุประสงคของโครงการ ..................................................................................... 6 E2.2 ความเปนมาของพื้นที่โครงการ .................................................................................................. 6 E2.2.1 การสํารวจดวยการวัดความไหวสะเทือนในอดีต ............................................................... 6 E2.2.2 การขุดเจาะสํารวจในอดีต ............................................................................................... 6 E2.2.3 รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ในแปลงสํารวจ L13/48 ในอดีต ...................... 9 E2.3 การคาดการณสภาพทางธรณีวิทยา หลุมสํารวจ SI THAT-B......................................................... 9 E2.4 ที่ตั้งโครงการ .......................................................................................................................... 12 E2.5 กําหนดการโครงการ ............................................................................................................... 14 E2.6 แรงงาน .................................................................................................................................. 14 E2.7 การดําเนินงานระยะตางๆ ....................................................................................................... 17 E2.7.1 ระยะกอสราง ............................................................................................................... 17 E2.7.2 การดําเนินการขุดเจาะ.................................................................................................. 24 E2.7.3 การหยั่งธรณีหลุมเจาะ (Wireline Logging).................................................................... 30 E2.7.4 การทดสอบหลุม (Well Testing) การเตรียมหลุมสําหรับการผลิต (Completion) การยกเลิก การดําเนินการ (Suspension) และการสละหลุม (Abandonment) หรือหลุมสํารวจเพิ่มเติม (Contingency Well) ................................................................................................................................... 11832 E2.8 สาธารณูปโภคของโครงการ .................................................................................................... 35 E2.8.1 แหลงน้ําและการใชน้ํา .................................................................................................. 35 E2.8.2 ไฟฟา .......................................................................................................................... 35 E2.8.3 สรุปรายการของเสียของโครงการ.................................................................................. 36

Transcript of รายงานสรุปeiadoc.onep.go.th/eialibrary/1mine/52/STB...

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา ก

รายงานสรุป

สารบัญ

0E1 บทนํา................................................................................................................................................ 1

E1.1 ความเปนมาของโครงการ ......................................................................................................... 1

E1.2 วัตถุประสงคของการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม................................................................... 2

E1.3 ขอบเขตการศึกษา .................................................................................................................... 3 E1.3.1 ขอบเขตรายงานวิเคราะหผลกระทบทางสิ่งแวดลอม ........................................................ 3 E1.3.2 ขอบเขตพื้นท่ีศึกษา........................................................................................................ 3

E2 รายละเอียดโครงการ ....................................................................................................................... 6

E2.1 เปาหมายและวัตถุประสงคของโครงการ..................................................................................... 6

E2.2 ความเปนมาของพื้นท่ีโครงการ.................................................................................................. 6 E2.2.1 การสํารวจดวยการวัดความไหวสะเทือนในอดตี............................................................... 6 E2.2.2 การขุดเจาะสํารวจในอดีต ............................................................................................... 6 E2.2.3 รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ในแปลงสํารวจ L13/48 ในอดตี ...................... 9

E2.3 การคาดการณสภาพทางธรณวิีทยา หลมุสํารวจ SI THAT-B......................................................... 9

E2.4 ท่ีตั้งโครงการ.......................................................................................................................... 12

E2.5 กําหนดการโครงการ ............................................................................................................... 14

E2.6 แรงงาน .................................................................................................................................. 14

E2.7 การดาํเนินงานระยะตางๆ ....................................................................................................... 17 E2.7.1 ระยะกอสราง ............................................................................................................... 17 E2.7.2 การดาํเนินการขุดเจาะ.................................................................................................. 24 E2.7.3 การหยั่งธรณหีลุมเจาะ (Wireline Logging).................................................................... 30 E2.7.4 การทดสอบหลมุ (Well Testing) การเตรยีมหลุมสําหรับการผลิต (Completion) การยกเลกิการดาํเนินการ (Suspension) และการสละหลมุ (Abandonment) หรือหลุมสํารวจเพิ่มเตมิ (Contingency Well) ................................................................................................................................... 11832

E2.8 สาธารณปูโภคของโครงการ .................................................................................................... 35 E2.8.1 แหลงน้ําและการใชน้ํา .................................................................................................. 35 E2.8.2 ไฟฟา .......................................................................................................................... 35 E2.8.3 สรุปรายการของเสียของโครงการ.................................................................................. 36

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา ข

E2.9 การจัดการสขุภาพอนามยั ความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม ........................................................ 39 E2.9.1 อุบัติเหตุ อันตรายและเหตกุารณฉุกเฉินท่ีอาจเกิดขึ้น ..................................................... 39

E3 สภาพแวดลอมปจจุบนั................................................................................................................... 40

E3.1 สิ่งแวดลอมทางกายภาพ ......................................................................................................... 40 E3.1.1 สภาพภูมิประเทศ......................................................................................................... 40 E3.1.2 ภูมอิากาศ.................................................................................................................... 40 E3.1.3 ธรณีวิทยา ................................................................................................................... 41 E3.1.4 ดินและคุณสมบัติของดิน .............................................................................................. 41 E3.1.5 น้ําผิวดิน...................................................................................................................... 41 E3.1.6 น้ําบาดาล .................................................................................................................... 41 E3.1.7 การสํารวจขอมลูสภาพส่ิงแวดลอมในปจจุบัน................................................................. 42

E3.2 สิ่งแวดลอมทางชีวภาพ ........................................................................................................... 46 E3.2.1 ปาไม........................................................................................................................... 46 E3.2.2 สัตวปา ........................................................................................................................ 46 E3.2.3 สิ่งมีชีวิตในน้ํา .............................................................................................................. 47

E3.3 คุณคาการใชประโยชนของมนษุย ............................................................................................ 48 E3.3.1 การใชประโยชนท่ีดิน.................................................................................................... 48 E3.3.2 การเกษตรกรรม........................................................................................................... 49 E3.3.3 การทําประมงและการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ......................................................................... 49 E3.3.4 น้ําอุปโภคบริโภค ......................................................................................................... 49 E3.3.5 สาธารณูปโภค ............................................................................................................. 51 E3.3.6 การจัดการน้ําเสีย ......................................................................................................... 51 E3.3.7 การจัดการขยะ............................................................................................................. 51 E3.3.8 การคมนาคมขนสง ....................................................................................................... 51

E3.4 คุณภาพชีวิต .......................................................................................................................... 52 E3.4.1 การปกครองสวนทองถิ่น .............................................................................................. 52 E3.4.2 ประชากร ..................................................................................................................... 53

E3.5 สภาพทางสังคม-เศรษฐกิจ ...................................................................................................... 55 E3.5.1 สาธารณสุขและสุขาภิบาล ............................................................................................ 56 E3.5.2 โบราณคดี.................................................................................................................... 57 E3.5.3 สถานท่ีทองเท่ียว ......................................................................................................... 57

E4 การมีสวนรวมของประชาชน ......................................................................................................... 58

E4.1 บทนํา .................................................................................................................................... 58

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา ค

E5 การประเมินผลกระทบ ................................................................................................................... 62

E5.1 การกลั่นกรองผลกระทบ.......................................................................................................... 62

E5.2 สรุปการประเมนิผลกระทบ ...................................................................................................... 62

E6 การประเมินความเสีย่ง .................................................................................................................. 66

E6.1 สรุปความเสี่ยงโดยรวม ........................................................................................................... 66

E7 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม ........................................................................................................................................... 68

E7.1 มาตรการปองกนัและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม ..................................................................... 68

E7.2 มาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม........................................................................ 68

สารบัญรูป 66รูปท่ี E 1-1: แผนท่ีแสดงแปลงสํารวจหมายเลข L13/48 .............................................................................. 4 67รูปท่ี E 1-2: แผนท่ีแสดงท่ีตั้งหลุมเจาะ....................................................................................................... 5 68รูปท่ี E 2-1: แนวเสนสํารวจและหลมุขดุเจาะที่ดําเนินการในอดีต และตําแหนงหลุม Si That-B ..................... 8 69รูปท่ี E 2-2: คาดการณลาํดับช้ันหิน ท่ีหลมุเจาะ Si That-B...................................................................... 10 70รูปท่ี E 2-3: ความสัมพันธระหวางช้ันหินท่ีหลุมSi That-1, Si That-B และ Si That-2 ................................ 11 71รูปท่ี E 2-4: ภาพถายดาวเทียมบริเวณพื้นท่ีโครงการ ............................................................................... 13 72รูปท่ี E 2-5: ภาพรางแผนผังพื้นท่ีโครงการ............................................................................................... 22 73รูปท่ี E 2-6: รปูแบบแทนขุดเจาะและระบบน้ําโคลน .................................................................................. 26 74รูปท่ี E 2-7: แบบรางการออกแบบหลุมเจาะ Si That-B............................................................................. 29 75รูปท่ี E 3-1: ตาํแหนงสถานีเกบ็ตัวอยาง ในการสํารวจสภาพสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน ....................................... 45 76รูปท่ี E 3-2 : การใชประโยชนท่ีดินในพื้นท่ีศึกษาภายในรัศมี 5 กิโลเมตร..... Error! Bookmark not defined. 77รูปท่ี E 7-1: ตาํแหนงสถานีเกบ็ตัวอยางเพือ่ติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ เสียง น้ําผิวดิน และน้ําใตดิน............................................................................................................................................................ 103

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา ง

สารบัญตาราง 78ตารางที่ E 2-1: ผลการทดสอบหลุมเจาะ ท่ีหลุม ศรีธาต-ุ1 .......................................................................... 9 ตารางที่ E 2-2: พิกัดท่ีตั้งโครงการ........................................................................................................... 12 ตารางที่ E 2-3: ประมาณการจํานวนพนักงาน .......................................................................................... 15 ตารางที่ E 2-4: กําหนดการโครงการเบ้ืองตน ........................................................................................... 16 ตารางที่ E 2-5: รายละเอียดการกอสรางถนนและพื้นท่ีแทนขดุเจาะ........................................................... 18 ตารางที่ E 2-6: ขนาดหลมุขดุเจาะ........................................................................................................... 28 ตารางที่ E 2-7: รายการของเสยีของโครงการ ........................................................................................... 37 ตารางที่ E 3-1: ระดับเสียงในพื้นท่ีโครงการ ............................................................................................. 43 ตารางที่ E 3-2: การใชประโยชนท่ีดินในพื้นท่ีศึกษารัศม ี5 กโิลเมตร ......................................................... 49 ตารางที่ E 4-1: สรุปขอวิตกกังวล คําช้ีแจง และมาตรการท่ีบริษัทกําหนดเพือ่รองรับขอกังวล ..................... 59 ตารางที่ E 5-1: สรุปผลกระทบที่คาดวาจะเกิดขึ้น ..................................................................................... 63 ตารางที่ E 7-1: มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม-ระยะการเตรียมพื้นท่ีโครงการ / ระยะการกอสราง .................................................................................................................................................. 69 ตารางที่ E 7-2: มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม-ระยะดําเนินการขุดเจาะ ......................... 77 ตารางที่ E 7-3: มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม-ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ ........... 88 ตารางที่ E 7-4: มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม-ระยะดําเนินการสละหลมุ........................ 96

ตารางที่ E 7-5: ตารางสรปุมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม-ระหวางเตรียมพื้นท่ี/ระยะกอสราง.............................................................................................................................................................. 97 ตารางที่ E 7-6: ตารางสรปุมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม-ระยะการขุดเจาะ...................... 98

ตารางที่ E 7-7: ตารางสรปุมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม-ระยะทดสอบหลุม .................. 101

ตารางที่ E 7-8: ตารางสรปุมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม-ระยะการสละหลุม .................. 102

ตารางที่ E 7-9: ตําแหนงท่ีตั้งและพิกดัภมูิศาสตรของสถานีตดิตามตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดลอม ............... 104

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 1

E1 บทนํา

E1.1 ความเปนมาของโครงการ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี (ในรายงานตอไปจะเรียกวา “อพิโก”) ไดรับสัมปทานปโตรเลียมแปลงสํารวจหมายเลข L13/48 เมื่อวันท่ี 8 ธันวาคม พ.ศ 2549 โดยกระทรวงพลังงานไดทําการลงนามสัมปทานปโตรเลียม แปลงสํารวจปโตรเลียมหมายเลข 4/2449/72 เพื่อทําการสํารวจในแปลงสํารวจหมายเลข L13/48 ใหกับ อพิโก แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 คลอบคลุมพื้นท่ีท้ังส้ิน 3,934 ตารางกิโลเมตร ในเขตพื้นท่ี จงัหวัดอุดรธานี (รูปท่ี 1-1) ในชวงภาระผูกผันชวงแรกของการสัมปทานปโตรเลียมนั้น อพิโกมีภาระผูกผัน และความรับผิดชอบท่ีจะตองวางแผนทําการสํารวจดวยวิธีไหวสะเทือนและทําการขุดเจาะใหเสร็จส้ิน ดังรายละเอียดตอไปน้ี

• ปท่ี 1 (ระหวางวันท่ี 8 ธันวาคม 2550 ถึง วันท่ี 7 ธันวาคม พ.ศ.2551): อพิโก ตองทําการสํารวจดวยวิธีวัดความไหวสะเทือนแบบ 2 มิติเปนพื้นท่ีไมนอยกวา 125 กิโลเมตร

• ปท่ี 2 (ระหวางวันท่ี 8 ธันวาคม 2551 ถึง วันท่ี 7 ธันวาคม พ.ศ. 2552): อพิโกตองทําการขุดเจาะหลุมสํารวจ จํานวน 1 หลุม

• ปท่ี 3 ( ระหวางวันท่ี 8 ธันวาคม 2009 ถึง วันท่ี 7 ธันวาคม พ.ศ. 2553): ไมมีภาระผูกผัน

ในชวงภาระผูกผันชวงท่ีสองระหวางวันท่ี 8 ธันวาคม 2553 ถึง วันท่ี 7 ธันวาคม พ.ศ. 2556 อพิโกตองทําการขุดเจาะหลุมสํารวจ จํานวนหนึ่งหลุม

พื้นท่ีปจจุบันซึ่งครอบคลุมแปลงสํารวจหมายเลข L13/48 ไดเคยมีการอนุญาติใหมีกิจกรรมการสํารวจปโตรเลียมตางๆ ดังตอไปน้ี

• ระหวาง ป พ.ศ. 2522 ถึง พ.ศ. 2550 ไดมีการสํารวจปโตรเลียมดวยวิธีไหวสะเทือนแบบสองมิติ คลอบคลุมพื้นท่ี ท้ังส้ิน 1,113 กิโลเมตร ดําเนินงานโดย บริษัท เอสโซ, บริษัท เซลล และ บริษัท โนเมโค

• ในป พ.ศ. 2525 บริษัท เอสโซ ทําการขุดเจาะหลุมสํารวจ ศรีธาตุ-1 ความลึก 4,058 เมตร เพื่อทําการทดสอบการรวมตัวของคารบอเนตในช้ันหิน ยุค Middle Permian age Pha Nok Khao.

• และ ในป พ.ศ. 2541 บริษัท Cairns Energy ทําการขุดเจาะหลุมสํารวจ ศรีธาตุ-2 ความลึก 2,800 เมตร เพื่อทําการทดสอบโครงสรางหลุมตามแนวลาดเอียงของ หลุมเจาะ ศรีธาตุ-1

อพิโก มีแผนในการดําเนินการขุดเจาะ หลุมประเมินกาซธรรมชาติจํานวน 1 หลุม เพื่อท่ีจะทําการประเมินความคุมคาทางเศรษฐกิจในการผลิตกาซธรรมชาติจากแหลงศรีธาตุ ถาการทดสอบหลุมประสบความสําเร็จ จะจัดทํารายงานวิเคราะหผลกระทบทางสิ่งแวดลอมสําหรับโครงการผลิตปโตรเลียมและ

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 2

ดําเนินการขอใบอนุญาติเปนพื้นท่ีผลิต เพื่อเปนผูผลิตกาซธรรมชาติตอไป ถาการทดสอบหลุมพบวามีอัตราการไหลของกาซไมคุมคาทางเศรษฐกิจ จะดําเนินการอุดหลุม และปดหลุมอยางถาวร

หลุมสํารวจนี้ตั้งอยูในพื้นท่ีอําเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี (รูปท่ี 1-2 แสดงบริเวณท่ีตั้งของพื้นท่ีขุดเจาะสํารวจ)

อพิโกไดวาจาง บริษัท อินเตอรเนช่ันแนล เอ็นไวรอนเม็นทอล แมนเนจเม็นท จํากัด (ไออีเอ็ม) จัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (อีไอเอ) ตามท่ีกําหนดในพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535

E1.2 วัตถุประสงคของการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม

รายงานฉบับนี้จัดทําขึ้น เพื่อระบุและประเมินระดับของผลกระทบสิ่งแวดลอมท่ีอาจเกิดขึ้นจากกิจกรรมการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก ในแปลงสํารวจหมายเลข L13/48 ท้ังผลกระทบทางดานลบและผลประโยชนท่ีจะไดรับจากโครงการ โดยพิจารณาปจจัยดานสิ่งแวดลอม คุณคาการใชประโยชนของมนุษย คุณคาตอคุณภาพชีวิต และสุขภาพอนามัย รวมท้ังเสนอแนะมาตรการปองกันและลดผลกระทบ และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม

วัตถุประสงคโดยเฉพาะของรายงานฉบับนี้ มีดังตอไปน้ี

• อธิบายถึงกิจกรรมตางๆ ท่ีจะเกิดขึ้นในโครงการ

• อธิบายถึงขอมูลสิ่งแวดลอมและขอมูลเศรษฐกิจ-สังคมในปจจุบันของพื้นท่ีโครงการ

• เพื่อระบุและประเมินผลกระทบท่ีมีนัยสําคัญซึ่งอาจเกิดขึ้นโดยอางอิงจากขอมูลสภาพสิ่งแวดลอมในปจจุบัน

• เพื่อระบุและเสนอมาตรการปองกันและลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น

• เพื่อระบุผลกระทบสิ่งแวดลอมท่ีอาจเกิดขึ้นตอทรัพยากรสิ่งแวดลอมและคุณคาตางๆ ดังนี้

o ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางกายภาพ

o ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางชีวภาพ

o คุณคาตอการใชประโยชนของมนุษย

o คุณคาตอคุณภาพชีวิต

o สุขภาพอนามัยของมนุษย

• เพื่อเสนอมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบซึ่งสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงของสภาพส่ิงแวดลอมและเพื่อยืนยันวาการดําเนินโครงการไดดําเนินการตามท่ีกฎหมายกําหนด

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 3

E1.3 9ขอบเขตการศึกษา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการจะรวมถึงการประเมินสภาพสิ่งแวดลอมและสังคมกอนมีโครงการเกิดขึ้น โดยการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางบวกและทางลบท่ีอาจเกิดขึ้นท้ังในระยะกอสรางและระยะดําเนินการ การเสนอมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบเพื่อลดผลกระทบท่ีเปนอันตรายซ่ึงอาจเกิดขึ้นตอส่ิงแวดลอมท่ีอยูใกลกับพื้นท่ีโครงการ รวมท้ังเสนอการบันทึกแผนการติดตามตรวจสอบเพื่อใหเปนไปตามขอกําหนด และเพื่อตรวจสอบดูวาคุณภาพส่ิงแวดลอมในทองถ่ินไดรับผลกระทบจากโครงการหรือไม

E1.3.1 ขอบเขตรายงานวิเคราะหผลกระทบทางสิ่งแวดลอม

เนื่องจากประเทศไทยยังไมมีแนวทางการจัดทํารายการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก ดังนั้นรายงานฉบับนี้จึงจัดทําตามหัวขอท่ีสามารถนํามาประยุกตใชกันไดจาก ”หลักเกณฑในการดําเนินการขุดเจาะสํารวจบนบก” ฉบับราง ซึ่งจัดทําโดยคณะทํางานขอมูลพื้นฐานทางสิ่งแวดลอมของสถาบันปโตรเลียมแหงประเทศไทย (PTIT, 2001) เพื่อนํามาใชกับอุตสาหกรรมน้ํามันและกาซในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมฉบับนี้จัดทําตามหลักเกณฑของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม และแนวทางสากลของธนาคารโลกเพื่อประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการพลังงานและอุตสาหกรรมป พ.ศ. 2509

E1.3.2 ขอบเขตพืน้ที่ศึกษา

ขอบเขตพื้นท่ีศึกษา ใชแนวทางการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมของ สํานักงานนโยบายและวางแผนสิ่งแวดลอม (สผ.) แบงออกไดเปน 2 สวน

1. การศึกษาผลกระทบท่ีมีตอทรัพยากรทางกายภาพ ทรัพยากรทางนิเวศวิทยา คุณคาตอการใชประโยชนของมนุษย คุณคาคุณภาพชีวิตและ ผลกระทบตอสุขภาพและแหลงโบราณคดี ภายในระยะรัศมี 2 กม.จากพ้ืนท่ีโครงการ โดยเนนศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมท่ีอาจเกิดขึ้นตอแหลงท่ีออนไหวตอผลกระทบท่ีสําคัญท้ังหมด (Sensitive area) เชน โรงเรียน วัด แหลงน้ํา ท่ีอยูอาศัย เปนตน ซึ่งตั้งอยูภายในระยะรัศมี 1 กม.รอบพื้นท่ีโครงการ

2. การศึกษาดานผลกระทบที่มีตอทรัพยากรทางนิเวศวิทยา คุณคาตอการใชประโยชนของมนุษย ศึกษาเรื่องประชากร คุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ-สังคมและการมีสวนรวมของประชาชนเพื่อประเมินผลกระทบตอชุมชนในระดับตําบลและหมูบานท่ีอยูภายในระยะรัศมี 5 กม.จากฐานเจาะรอบพื้นท่ีโครงการ

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That- ฺB แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 4

รูปที่ E 1-1: แผนทีแ่สดงแปลงสํารวจหมายเลข L13/48

L13/48

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 5

รูปที่ E 1-2: แผนทีแ่สดงทีต่ัง้หลุมเจาะ

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 6

E2 รายละเอยีดโครงการ

E2.1 เปาหมายและวัตถุประสงคของโครงการ

การขุดเจาะสํารวจท่ีหลุม Si That-B เปนการขุดเจาะหลุมประเมินการคนพบกาซในอดีตท่ีหลุมศรีธาตุ-2 การขุดเจาะคร้ังนี้มีเปาหมายในการพิสูจนวากาซในแหลงกักเก็บนั้นมีอยูในปริมาณที่มากเพียงพอท่ีจะรักษาอัตราการไหลสําหรับการผลิตในเชิงพาณิชย (อัตราการผลิตมากกวา 10 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน) และมีปริมาณกาซสํารองเพียงพอท่ีจะพัฒนาแหลงทรัพยากรนี้ใหเปนแหลงผลิต ไมวาจะเปนการพัฒนาแหลงผลิตเพียงลําพัง หรือพัฒนารวมกับแหลงดงมูล ในแปลงสัมปทาน L27/43 ท่ีจะดําเนินการขุดเจาะหลุมประเมินตามแผนท่ีกําหนดไว

วัตถุประสงคหลักในการขุดเจาะหลุม Si That-B คือการระบุลักษณะเฉพาะของแหลงทรัพยากร ท้ังในสวนตอนลางของหมวดหินผานกเคา และตอนบนของหมวดหินศรีธาตุ กําหนดระดับความลึกของช้ันผิวสัมผัสระหวางน้ําและกาซ และกําหนดอัตราการไหลในการผลิตเชิงพาณิชยจากแหลงทรัพยากรเหลานี้

ในกรณีท่ีการทดสอบหลุมขุดเจาะประสบความสําเร็จ คือ สามารถรักษาอัตราการไหลของกาซไดในระดับปานกลาง ถึงสูง และปริมาณสํารองในแหลงทรัพยากรนั้นอยูในระดับท่ีสามารถดําเนินการเชิงพาณิชยได อาจทําการเตรียมหลุมเพื่อการผลิต และปดหลุมไวช่ัวคราวเพื่อรอการพัฒนาเปนหลุมผลิตตอไป

E2.2 ความเปนมาของพื้นที่โครงการ

E2.2.1 การสํารวจดวยการวัดความไหวสะเทือนในอดีต

ในพื้นท่ีซึ่งปจจุบันนี้เปนแปลงสัมปทานหมายเลข L13/48 นั้น ในชวงระหวางป พ.ศ. 2522 ถึง พ.ศ. 2550 นั้น มีการสํารวจดวยการวัดความไหวสะเทือนแบบ 2 มิติรวมท้ังส้ิน 1,113 กิโลเมตร (ตารางท่ี 2-2) แนวเสนสํารวจเหลานี้ครอบคลุมพื้นท่ีเกือบท้ังแปลงสัมปทาน (รูปท่ี E2-1)

E2.2.2 การขุดเจาะสํารวจในอดีต

ในพื้นท่ีซึ่งปจจุบันนี้เปนพื้นท่ีแปลงสํารวจหมายเลข L13/48 นั้น เคยมีการขุดเจาะสํารวจมาแลว 2 ครั้ง ดังนี้

• ป พ .ศ. 2526: เอสโซ ขุดเจาะหลุม ศรีธาตุ-1 ถึงระดับความลึก 4,058 เมตร เพื่อทดสอบแหลงทรัพยากรในหมวดหินคารบอเนตผานกเคา ยุคเพอรเมียนตอนกลาง แมวาจะพบกาซในการขุดเจาะหลุมนี้ แตเมื่อทําการทดสอบหลุมนั้นกลับพบวามีเพียงแตน้ําท่ีไหลขึ้นมา

• ป พ.ศ. 2541: เครนส (Cairns) ขุดเจาะหลุม ศรีธาตุ-2 ถึงระดับความลึก 2,800 เมตร เพื่อทดสอบช้ันหินปดท่ีระดับสูงกวา ศรีธาตุ-1 การขุดเจาะครั้งนี้พบวามีปริมาณกาซในระดับท่ีมี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 7

นัยสําคัญในช้ันหินคารบอเนต ซึ่ งปจ จุ บันนี้คาดวาเปนหมวดหินศรีธาตุ ในชวง คารบอนิเฟอรัสตอนบน และเพอรเมียนตอนลาง การทดสอบหลุมพบวามีอัตราการไหล 1.25 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน กอนจะทําการอุดหลุม และสละหลุม โดยพิจารณาวาเปนการคนพบที่ไมเพียงพอในเชิงพาณิชย

• ท่ีตั้งหลุม Si That-B ซึ่งจะเปนหลุมประเมิน เมื่อเทียบกับหลุมขุดเจาะท่ีดําเนินการกอนหนานี้ ในพื้นท่ีแปลงสํารวจหมายเลข L13/48 แสดงไวในรูปท่ี 2-1

ท่ีตั้งของหลุม Si That-B เทียบกับหลุมขุดเจาะท่ีดําเนินการกอนหนานี้ ในพื้นท่ีแปลงสํารวจ L13/48 แสดงในรูปท่ี E2-1

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 8

รูปที่ E 2-1: แนวเสนสํารวจและหลุมขุดเจาะท่ีดําเนินการในอดตี และตําแหนงหลุม Si That-B

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 9

E2.2.3 รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม ในแปลงสํารวจ L13/48 ในอดีต

รายงานการวิเคราะหผลกระทบที่ผานมา ในพื้นท่ีแปลงสํารวจหมายเลข L13/48 พบวา ไดมีการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมสําหรับกิจกรรมการสํารวจปโตรเลียมในพื้นท่ีแปลงสํารวจ L13/48 สองโครงการ คือ

• วันท่ี 4 ตุลาคม พ.ศ. 2550 อพิโก ไดเสนอรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการสํารวจดวยการวัดความไหวสะเทือนแบบ 2 มิติ ในพืน้ท่ีแปลงสํารวจหมายเลข L13/48 รายงานฯ ไดรับความเห็นชอบจากสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เมื่อวันท่ี 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550

• วันท่ี 1 กมุภาพนัธ พ.ศ. 2551 อพิโก ไดเสนอรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการโครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบกหลุมเจาะ Si That-A แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี ขณะนีอ้ยูในระหวางกระบวนการพิจารณารายงานฯ

E2.3 การคาดการณสภาพทางธรณีวิทยา หลุมสํารวจ Si That-B

ลักษณะท่ัวไปทางธรณีวิทยาของบริเวณท่ีหลุม Si That-B จะขุดเจาะผานลงไปนั้น ไดรับการยืนยันจากการขุดเจาะท่ีผานมาท่ีหลุม ศรีธาตุ-1 (หางไปทางตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 9.2 กิโลเมตร) และท่ีหลุมศรีธาตุ-2 (หางไปทางตะวันตก-ตะวันตกเฉียงใต ประมาณ 7.2 กิโลเมตร) ลักษณะทางธรณีวิทยาท่ีคาดวาจะพบที่หลุม Si That-B นั้นแสดงไวในรูปท่ี E2-2 ความสัมพันธทางธรณีวิทยาระหวางหลุมขุดเจาะเดิมในพื้นท่ีและหลุม Si That-B แสดงไวในรูปท่ี E2-3 ในการอธิบายตอไปนี้ ระดับความลึกท้ังหมดเปนระดับความลึกจากผิวดิน

ในการดําเนินการท่ีผานมาในแปลงสํารวจ L13/48 นั้น ไดดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ ท่ีหลุมศรีธาตุ-1 จํานวน 3 ครั้ง ผลการทดสอบสรุปไวในตารางที่ 2-4

ตารางที ่E 2-1: ผลการทดสอบหลุมเจาะ ที่หลุม ศรีธาต-ุ1

การทดสอบ

ความลึก (เมตรจากผิว

ดิน)

ชวงหิน อัตราการไหลของน้ํา (บารเรลตอวัน)

อัตราการไหลของกาซ(ลบ.ฟุต/วัน)

DST#1 3,166 – 3,174 ชวงหินโดโลไมต 3,818 7,800 DST#2 2,992 – 2,998 ชวงหินปูน 2,219 9,000 DST#3 2,347 – 2,364 สวนรวมในหมวดหินหวยหินลาด 2,952 6,800

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 10

รูปที่ E 2-2: คาดการณลําดับชั้นหิน ที่หลมุเจาะ Si That-B

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 11

รูปที่ E 2-3: ความสัมพันธระหวางชัน้หินที่หลุมSi That-1, Si That-B และ Si That-2

Sao Khua Fm

Lw Nam Phong FmIndosinian 2 U/CIndosinian 1 U/C

Kuchinarai Group

Pha Nok KhaoFormation

Si That Formation

1000

3000

2000

GL 236 m

Si That-1(Esso 1983)

2389

TD 3996

Huai Na KhamFormation

Phra Wihan Fm

Phu Kradung Fm

Up Nam Phong Fm

1000

2000

GL 214 m

2056

TD 2791

Si That-2(Cairn 1997)

Si That-B

All depths to Ground LevelST-1 depths adjusted to TVD

15130

1550

31133531

2870

22782116

7.2 km 9.2 km

233348

1675

2391

Si That upper clastics unit

0

1000

2000

GL 235 m

243

422

1450

1870

20611955

TD 2500

00

Sao Khua Fm

Lw Nam Phong FmIndosinian 2 U/CIndosinian 1 U/C

Kuchinarai Group

Pha Nok KhaoFormation

Si That Formation

1000

3000

2000

GL 236 m

Si That-1(Esso 1983)

2389

TD 3996

Huai Na KhamFormation

Phra Wihan Fm

Phu Kradung Fm

Up Nam Phong Fm

1000

2000

GL 214 m

2056

TD 2791

Si That-2(Cairn 1997)

Si That-B

All depths to Ground LevelST-1 depths adjusted to TVD

15130

1550

31133531

2870

22782116

7.2 km 9.2 km

233348

1675

2391

Si That upper clastics unit

0

1000

2000

GL 235 m

243

422

1450

1870

20611955

TD 2500

0

1000

2000

GL 235 m

243

422

1450

1870

20611955

TD 2500

00

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 12

E2.4 ที่ต้ังโครงการ

ท่ีตั้งโครงการหลุม Si That-B นั้น ตั้งอยูทางดานตะวันออกเฉียงใตของพื้นท่ีสัมปทานปโตรเลียมหมายเลข 4/2549/72 ในแปลงสํารวจหมายเลข L13/48 ตําบลตาดทอง อําเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี หางจากกรุงเทพฯ ประมาณ 460 กิโลเมตร (รูปท่ี 1-1)

พิกัดของหลุมขุดเจาะ Si That-B และขอบเขตของพื้นท่ีท่ีจะใชในโครงการ แสดงในตารางที่ E2-2 แผนท่ีท่ีตั้งโครงการ แสดงในรูปท่ี E1-2 และภาพถายดาวเทียมของที่ตั้งโครงการ แสดงในรูปท่ี E2-4

ตารางที ่E 2-2: พิกัดที่ตั้งโครงการ

พิกัด X Y ละติจูด ลองติจูด

Indian 1975 304328 E 1891368 N 17° 05’ 59.33'' N 103° 09’ 38.72'' E ตําแหนงปากหลุม Si That-B WGS 84 303911 E 1891684 N 17° 06' 04.53'' N 103° 09' 25.50'' E

พิกัดมุมของขอบฐานลูกรัง (พื้นที่ฐานเจาะและที่พักอาศัยพนักงาน) Indian 1975 304242 E 1891416 N 17 06' 00.85'' N 103 09' 35.79'' E A

WGS 84 303825 E 1891732 N 17 06' 06.05'' N 103 09' 22.55'' E

Indian 1975 304414 E 1891467 N 17 06' 02.55'' N 103 09' 41.60'' E B

WGS 84 303997 E 1891783 N 17 06' 07.75'' N 103 09' 28.38'' E

Indian 1975 304434 E 1891399 N 17 06' 00.04'' N 103 09' 42.29'' E C

WGS 84 304017E 1891715 N 17 06' 05.56'' N 103 09' 29.07'' E

Indian 1975 304395 E 1891388 N 17 05' 59.99'' N 103 09' 40.99'' E D

WGS 84 303779 E 1891704 N 17 06' 05.19'' N 103 09' 27.77'' E

Indian 1975 304415 E 1891321 N 17 05’ 57.82’’ N 103 09’ 41.69’’ E E

WGS 84 303999 E 1891637 N 17 06’ 03.01’’ N 103 09’ 28.46’’ E

Indian 1975 304280 E 1891282 N 17 05’ 56.49’’ N 103 09’ 37.14’’ E F

WGS 84 303864 E 1891597 N 17 06’ 01.69’’ N 103 09’ 23.92’’ E

พื้นท่ีโครงการ ครอบคลุมพื้นท่ีขนาด 200 เมตร X 160 เมตร หรือคิดเปน 32,000 ตารางเมตร (20 ไร) ซึ่งภายในพื้นท่ีนี้จะใชกอสรางพื้นท่ีแทนขุดเจาะขนาด 140 เมตร X 140 เมตร หรือ 19,600 ตารางเมตร (12.25 ไร) และอีกสวนหน่ึงจะใชเปนพื้นท่ีสรางท่ีพักของพนักงานขนาด 40 เมตร X 70 เมตร หรือ 2,800 ตารางเมตร (1.75 ไร)

พื้นท่ีโครงการในปจจุบัน เปนพื้นท่ีการเกษตร มีการเพาะปลูกมันสําปะหลัง และออย อพิโก จะดําเนินการติดตอกับเจาของท่ีดิน เพื่อจัดซื้อหรือเชาท่ีดินจากเจาของท่ีดิน

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 13

รูปที่ E 2-4: ภาพถายดาวเทยีมบริเวณพื้นที่โครงการ

ที่มา: ดัดแปลงจากภาพจากโปรแกรม Google Earth ภาพถายดาวเทียมถายเมื่อ 26 มีนาคม พ.ศ. 2549

Work Camp

Well Pad Area

Land Lease Boundary

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 14

E2.5 กําหนดการโครงการ

กําหนดการโครงการนั้น ขึ้นอยูกับโอกาสท่ีแทนขุดเจาะจะพรอมสําหรับการนํามาใชงาน และกระบวนการในการขออนุญาตตางๆ อยางไรก็ตาม การขุดเจาะหลุม Si That-B คาดวาจะเริ่มขึ้นในไตรมาสที่ 4 ของป พ.ศ. 2551 (ในชวงฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ)

กําหนดการโครงการ สามารถแบงออกไดเปน 3 ชวง โดยคาดวาจะใชเวลาท้ังหมด 150 วัน

• ระยะกอสราง ประมาณ 30 วัน

• ระยะดําเนินการขุดเจาะ ประมาณ 75 วัน โดยแบงออกเปน

• ขุดเจาะ หลอซีเมนต และหยั่งธรณีหลุม ประมาณ 53 วัน

• ทดสอบหลุมเจาะ ไมเกิน 22 วัน

• ระยะเลิกดําเนินการ และสละหลุม ประมาณ 45 วัน

ตารางที่ E2-4 แสดงรายละเอียดขั้นตอนตางๆ ในกําหนดการโครงการ

กรณีท่ีการขุดเจาะหลุม Si That B มีโอกาสเจอสภาพท่ีการขุดเจาะทางเทคนิคเปนไปไดยาก และตองทําการขุดซ้ํา (หัวขอ2.9.4.4) กรณีนี้ทําใหกําหนดการโครงการขยายระยะเวลา โดยเปนระยะเวลาเทากันกับท่ีไดออกแบบไวสําหรับหน่ึงหลุม โดยใชเวลาดําเนินการท้ังหมด 53 วัน ในการทําการขุดเจาะ การปูซีเมนตและการทํา logging ดังนั้นในกรณีเลวรายท่ีสุดท่ีจะตองทําการขุดเจาะสองหลุม กําหนดการโครงการท้ังหมดจะเปน 106 วัน สวนระยะเวลาสําหรับชวงทดสอบหลุม และชวงสละหลุม ของกรณีขุดเจาะเพิ่มเติม กําหนดการยังคงเหมือนเดิม

E2.6 แรงงาน

พนักงานท่ีทํางานในโครงการแตละชวง จะผันแปรตามชวงเวลา และกิจกรรมในระยะตางๆ ของโครงการ โดยจํานวนพนักงานสูงสุดน้ันอยูในชวงกิจกรรมการขุดเจาะหลุมประเมิน ซึ่งอาจมีพนักงานไดถึง 105 คน ตารางที่ 2-6 แสดงจํานวนพนักงานท่ีจะปฏิบัติงานในแตละระยะของโครงการ

ระยะดําเนินการกอสราง ระยะเลิกดําเนินการ หรือการฟนฟูสภาพพื้นท่ีโครงการ จะดําเนินการโดยใชบริษัทผูรับเหมางานวิศวกรรมโยธาไทย และจางพนักงานในพื้นท่ี

ในระหวางการดําเนินการขุดเจาะ องคประกอบของพนักงานนั้นจะขึ้นอยูกับบริษัทผูรับเหมาขุดเจาะ ซึ่งจะเปนบริษัทไทยซึ่งเปนบริษัทลูกของบริษัทนานาชาติ อพิโก มีนโยบายท่ีจะจางพนักงานในพื้นท่ีในกรณีท่ีเปนไปได

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 15

ตารางที ่E 2-3: ประมาณการจํานวนพนักงาน

ระยะเวลาโครงการ จํานวนพนักงาน

ระยะกอสราง 15 – 25

ระยะดําเนินการขุดเจาะ 100

ระยะเลิกดําเนินการ หรือสละหลุม 15 - 25

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 16

ตารางที ่E 2-4: กําหนดการโครงการเบื้องตน

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 17

E2.7 การดําเนินงานระยะตางๆ

E2.7.1 ระยะกอสราง

E2.7.1.1 การปรับปรุงถนนเขาพื้นที่โครงการ

ไมมีการปรับปรุงถนนเขาสูพื้นท่ีโครงการ ถนนเขาสูพื้นท่ีโครงการจะปรับปรุงใหม การเขาสูพื้นท่ีโครงการ จะใชถนนลูกรังท่ีมีอยูเดิม ความกวางถนนเทากับ 6 เมตร ว่ิงจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตกจากถนนชนบทหมายเลข #4021 ถนนลูกรังนี้อยูในสภาพดีและกวางเพียงพอตอยานพาหนะของโครงการ อยางไรก็ตามบางสวนของถนนลูกรังท่ีมีอยูเดิมอาจตองปรับปรุงหรือซอมแซมดวยดินลูกรังบดอัดในระหวางการดําเนินการ อพิโกไดขออนุญาตซอมแซมและ/หรือ ปรับปรุงถนนจากองคการบริหารสวนตําบล

อพิโกจะจัดจางวิศวกรโยธาเปนผูรับเหมา ในการสํารวจ ซอมแซม และ/หรือ ปรับปรุงถนนและบํารุงรักษาถนนท่ีใชในพื้นท่ีโครงการ การสํารวจถนนเบ้ืองตนทําโดยสํารวจเสนทางถนนท้ังหมดท่ีเปนเสนทางการเคลื่อนยายแทนขุดเจาะ (เขาสูพื้นท่ีผานทางหลวงหมายเลข 2) ไปพื้นท่ีขุดเจาะสํารวจ Si That-B ท้ังนี้ในระหวางการดําเนินโครงการ หากพบสภาพถนนถูกทําลายเนื่องจากกิจกรรมการขุดเจาะสํารวจของโครงการ ทางโครงการจะทําการซอมแซมถนนใหอยูในสภาพเดิมหรือดีกวาเดิม

การทําถนนเขาบริเวณหลุมขุดเจาะ จะดําเนินการตามมาตรฐานของวิศวกรรมโยธา โครงการจะทํา โครงการทําถนนลูกรังสําหรับทางรถว่ิงระยะส้ันๆ ขนาด ความยาว 24 เมตร กวาง 6 เมตร และหนา 30 เซนติเมตร และจะทําถนนเพื่อรองรับยานพาหนะท่ีจะใชในพื้นท่ีโครงการ ไดแก รถบรรทุก 10 ลอ รถบดอัดดนิ รถเกลี่ยดิน และรถบรรทุกน้ํา ทอระบายน้ําคอนกรีตเสนผานศูนยกลาง 60 เซนติเมตร จะถูกติดตั้งใตถนนเพื่อใชเปนทางน้ําไหล ภาพตัดขวางของรูปแบบถนนเขาสูพื้นที่โครงการ

อพิโกไดขออนุญาตซอมแซมและ/หรือ ปรับปรุงถนนจากองคการบริหารสวนตําบล

E2.7.1.2 การกอสรางพื้นที่แทนขุดเจาะ และพ้ืนที่ที่พักพนักงาน

พื้นท่ีท่ีกําหนดเปนพื้นท่ีโครงการ ปจจุบันเปนพื้นท่ีเกษตรกรรม พื้นท่ีโดยรอบเปนพื้นท่ีราบ ลอมรอบดวยไรออย มันสําปะหลัง และนาขาว สภาพภูมิประเทศเปนพื้นท่ีราบ ซึ่งทําใหการกัดกรอนผิวดินอยูในระดับท่ีไมมีนัยสําคัญ

พื้นท่ีฐานขุดเจาะ และท่ีพักพนักงาน จะทําการปรับยกระดับดวยวิธีการ “ขุดและถม” (Cut & Fill) และบดอัดผิวดินใหแนน โดยจะใชรถไถดันดิน รถบรรทุกเททาย รถบรรทุกน้ํา และรถปรับระดับดินในการปรับพื้นท่ี พื้นดินลูกรังบดอัดนั้น อาจมีความหนาระหวาง 1 – 2 เมตร โดยท่ีระดับผิวดินจะสูงกวาระดับน้ําทวมสูงสุด 10 เมตร

รอบบริเวณพ้ืนท่ีฐานขุดเจาะ และท่ีพักพนักงาน จะจัดสรางรั้วลวดหนามลอมรอบ เพื่อปองกันสัตวเลี้ยง และผูไมเกี่ยวของผานเขามาในพื้นท่ีโครงการ รวมท้ังจะจัดจางยามรักษาการณประจําในพื้นท่ีตลอด

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 18

24 ช่ัวโมงตลอดชวงการเคลื่อนยายแทนขุดเจาะ และติดตั้ง รวมท้ังระหวางการขุดเจาะ และการทดสอบการผลิตจากหลุมดวย

ตารางที่ E2-5 สรุปรายละเอียดของการกอสรางถนนทางเขาโครงการและพื้นท่ีแทนขุดเจาะ

ตารางที ่E 2-5: รายละเอียดการกอสรางถนนและพ้ืนที่แทนขุดเจาะ

สวนประกอบโครงการ ขนาด พ้ืนท่ี/ปริมาตร คาดปริมาณดิน

ลูกรังท่ีใช

พื้นที่ฐานขุดเจาะ 140 ม. x 140 ม. x (หนา 2 ถึง 4 ม.) 19,600ม.2 29,400 ม.3 (1)

ที่พักพนักงาน 70 ม. x 40 ม. x (หนาประมาณ ~ 1 ม.) 2,800 ม.2 2,800 ม.3

ขอบเขตที่ดินที่ตองเชา 160 ม. x 200 ม. 32,000 ม.2 ไมมีการถมดิน

ทางรถเขาพื้นที่โครงการ 24 ม. x 6 ม. x (หนา 0.2 - 0.3ม.) 144ม.2 43.2 ม.3

บอเก็บเศษหิน 25 ม. x 15 ม. x 2.5 ม. 937.5 ม.3 ไมมีการถมดิน

บอเก็บนํ้า สองบอ แตละบอขนาด 25 ม. x 18 ม. x 3 ม. 1,350 ม.3 (แตละบอ) ไมมีการถมดิน

หมายเหตุ: (1) ประเมินจากความหนาเฉลี่ย 1.5 เมตร

E2.7.1.3 โครงสรางพืน้ที่หลุมขุดเจาะและสาธารณูปโภค

Cellar และฐานรองรับแทน

ภายในพื้นท่ีโครงการจะขุดหลุมขนาด 3.5 x 5 เมตร ลึก 2.5 เมตร โดยมีโครงสรางของบอเปนคอนกรีตเสริมเหล็ก หลุมน้ีทําขึ้นเพื่อเปนหลุม (Cellar) ของแทนขุดเจาะ ตรงสวนกลางของหลุมจะฝงทอเหล็กขนาด 20 นิ้ว ในแนวดิ่งลึกลงไป 6 เมตร ทอนี้เรียกวา “Stove Pipe “เพื่อใชเปนแนวบังคับของหัวเจาะและกานเจาะ ในขณะที่มีการขุดเจาะในชวงบนของหลุม Cellar จะเปนท่ีตั้งของหัวหลุม (Well Head) และอุปกรณปองกันการพลุง (Blowout Preventer: BOP)

โครงการจะทําการกอสรางฐานคอนกรีตรองรับแทนขุดเจาะ ขนาดกวาง 35 เมตรและยาว 55 เมตร โดยรอบของ Cellar แทนขุดเจาะจะตั้งครอมบนหลุม Cellar และวางตั้งอยูบนฐานรองรับนี้

บอเก็บเศษหินจากการขุดเจาะ

บอเก็บเศษหินจากการขุดเจาะจะตั้งอยูถัดจากฐานรองรับแทนขุดเจาะ ใชสําหรับเก็บเศษหินและโคลนท่ีติดอยูบนเศษหินท่ีเกิดจากการขุดเจาะ หลังจากท่ีผานเครื่องแยกของแข็ง และถังปรับสภาพโคลน (ซึ่งจะแยกโคลนสวนใหญออกจากเศษหินเพื่อนําโคลนกลับไปใชใหม)

บอเก็บเศษหินจากการขุดจะทําดวยคอนกรีตเสริมเหล็กขนาด 25 X 15 เมตร ลึก 2.5 เมตร ปริมาณรวม 937.5 ลูกบาศกเมตร ดานลางของบอเก็บเศษหินจากการขุดเจาะจะปูดวยแผน PVC Geo-membrane เพื่อปองกันการรั่วซึม รวมท้ังท่ีปากบอจะทําเปนคันคอนกรีตสูง 0.5 เมตร เพื่อปองกันน้ําไหลนองหนาดินจากภายนอกเขาสูบอ ซึ่งจะเปนสาเหตุใหเกิดนํ้าลนออกจากบอ ในกรณีท่ีเกิดฝนตกหนักกวาปกติ

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 19

ระหวางการขุดเจาะ โครงการไดจัดเตรียมหลังคาผาใบช่ัวคราวเพื่อคลุมบอเพื่อเปนการปองกันน้ําฝนท่ีจะลงสูบอ และปองกันการลนออกจากบอดวย

บอเก็บน้ํา

บอเก็บน้ําจํานวน 2 บอจะอยูบริเวณริมพื้นท่ี ไดแก บอเก็บน้ําสะอาดและบอเก็บน้ําท่ีมีน้ํามันปนเปอนอยู ซึ่งมีขนาด 25 x 18 เมตร และลึก 3 เมตร มีความจุเทากับ 1,350 ลูกบาศกเมตร บอเก็บน้ําสะอาดทําดวยคอนกรีตเสริมเหล็กปูรองกนบอดวยแผน PVC Geo-membrane เพื่อปองกันการรั่วซึม บอเก็บน้ําปนเปอน จะปูรองกนบอดวยคอนกรีตเสริมเหล็ก ท่ีปูซ้ําดวยแผน PVC Geo-membrane เพื่อปองกันการรั่วซึมเปนช้ันท่ีสอง

บอแรกจะใชสําหรับเก็บน้ําสะอาด ท่ีขนสงดวยรถบรรทุกมายังพื้นท่ีโครงการเพื่อใชเปนน้ําผสมกับโคลนขุดเจาะ ท่ีปากบอจะทําเปนคันคอนกรีต เพื่อปองการนํ้าไหลนองหนาดินจากภายนอกไหลเขาปนเปอนน้ําสะอาดภายในบอ และติดตั้งบอดักคราบน้ํามัน เพื่อเปนสวนกรองเพิ่มเติม ซึ่งหากน้ําสะอาดท่ีจะไหลออกนอกบริเวณจะตองผาน บอนี้มีขนาดเพียงพอสําหรับเก็บน้ําไหลนอง (Runoff) จากฝนตามท่ีไดเคยมีการบันทึก และไมคาดวาจะตองปลอยน้ําออก หากไมมีฝนตกยาวนานตอเนื่องอยางผิดปกติ

บอท่ีสองซึ่งเปนบอท่ีออกแบบมาเพื่อเก็บน้ําท่ีมีน้ํามันปนเปอนอยู จะใชเก็บรวบรวมนํ้าไหลนองหนาดินซึ่งอาจตองไดรับการบําบัดกอนนํามาใช (ถึงแมวาไมจําเปนก็ตาม) และทําหนาทีเปนแหลงน้ําสํารองสําหรับการขุดเจาะ และสํารองในกรณีเกิดอัคคีภัย หากมีน้ําท่ีมีน้ํามันปนเปอนหรือการรั่วไหลจะเก็บลงสูบอนี้ น้ํามันจะแยกออกโดยแรงโนมถวงและไมสามารถเขากับน้ําได ทําใหลอยอยูท่ีผิวหนา ซึ่งจะสามารถตักออกและท้ิงในบอเก็บเศษหินจากการขุดเจาะไดเพื่อบําบัดตอไป ชุดกาลักน้ํา (Siphon) ระบายน้ําจะติดตั้งไวท่ีกนบอ พรอมท้ังวาลวควบคุม จะสูบน้ําท่ีแยกนํ้ามันออกแลวจากระดับกนบอ และสงตอไปยังบอเก็บน้ําสะอาดเพื่อใชเติมโคลนท่ีใชในการขุดเจาะและในการปองกันอัคคีภัย

คาดการณปริมาณน้ําไหลนองหนาดินท่ีเกิดจากน้ําฝนในระหวางท่ีมีฝนตกหนัก ปริมาณน้ําฝนมากนอยจะแปรผันไปตามแตละเดือนในรอบป น้ําไหลนองจากพ้ืนท่ีขุดเจาะสวนใหญจะไหลลงไปสูบอเก็บน้ําสกปรก ยกเวนน้ําไหลนองจากพื้นท่ีรองรับแทนขุดเจาะ พื้นท่ีตั้งถังน้ําโคลน (ซึ่งจะระบายสูบอเก็บเศษหิน) ตามท่ีไดอธิบายไวในบทการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (บทท่ี 5) บอเก็บน้ํามีความจุเพียงพอท่ีจะเก็บกักน้ําไหลนอง กรณีท่ีฝนตกตามระดับท่ีเคยบันทึกไว จะไมมีการระบายน้ําฝนออกนอกพื้นท่ีโครงการยกเวนกรณีฝนตกหนักเปนระยะเวลานานผิดปกติ ถาบอรับน้ําเต็มเนื่องจากฝนตกหนักและตกซ้ําในระยะไมหางกนัมากนกั จะปลอยน้ําออกจากบอใหไหลลงไปตามทางระบบระบายน้ํารอบพื้นท่ีในดานท่ีระดับของพื้นท่ีลาดตํ่าลง การไหลออกจากบอเก็บน้ําหรือระบบระบายน้ําจะตองผานบอดักคราบน้ํามันซึ่งกอสรางดวยคอนกรีตกอนจะออกสูภายนอก

ระบบระบายน้ําของโครงการ

บริเวณพื้นยกระดับท่ีเปนพื้นท่ีขุดเจาะ จะสรางโดยใหมีความลาดเอียงเล็กนอย จากสวนกลางพื้นท่ีออกสูรอบนอก เพื่อชวยใหน้ําท่ีไหลบาไปลงยังรองระบายน้ําท่ีอยูรอบดานในพื้นท่ีขุดเจาะ และมีคันดินกั้นอยูดานนอก

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 20

ขอบของพื้นท่ีขุดเจาะจะทําเปนทางลาดยาวครอบคลุมระยะทางหลายเมตรและมีทางระบายน้ํารอบนอก (External Open Ditch) ท่ีบริเวณฐานของพื้นท่ีเพื่อรับน้ําจากพื้นท่ีภายนอกพื้นท่ีโครงการใหไหลไปตามธรรมชาติลงสูทางลาดของเนินเขา ทิศทางการไหลของน้ําในบริเวณพื้นท่ีโครงการศรีธาตุในรูปท่ี 2-15

บริเวณแทนขุดเจาะและถังเก็บโคลนขุดเจาะเปนบริเวณท่ีอาจมีการหกรั่วไหลไดงาย ดังนั้นโครงการจึงไดจัดเตรียมระบบระบายน้ําแยกจากสวนอื่น โดยจะระบายลงสูบอเก็บเศษหินจากการขุดเจาะ หรือบอเก็บน้ําปนเปอนดังท่ีอธิบายไวขางตน

พ้ืนที่เก็บสารเคมี

โครงการจะสรางพื้นคอนกรีตขนาดกวาง 15 เมตร ยาว 25 เมตร หนา 10 เซนติเมตร โดยมีหลังคาคลุม เพื่อใชเปนฐานของโรงเก็บสารเคมี เชน สาร Additive สําหรับโคลนท่ีใชในการขุด รวมท้ังจะสรางเปนพื้นคอนกรีตขนาด กวาง 15 เมตร ยาว 25 เมตร หนา 10 เซนติเมตร โดยมีหลังคาคลุม เพื่อใชเปนพื้นท่ีเก็บอุปกรณตางๆ และเปนบริเวณซอมบํารุง

พ้ืนที่เก็บน้ํามันเชื้อเพลิง

ถังเก็บน้ํามันเช้ือเพลิง (ความจุขนาด 25 ลูกบาศกเมตร จํานวน 2 ถัง) จะตั้งอยูบนพื้นคอนกรีตในบริเวณพื้นท่ีแทนขุดเจาะ และลอมรอบดวยคันกั้นสูง 0.5 เมตร เพื่อกักเก็บน้ํามันเช้ือเพลิงท่ีหกรั่วไหล สําหรับพื้นท่ีภายในที่ลอมรอบดวยคันกั้นจะปูดวยทรายเพื่อชวยในการดูดซับนํ้ามันเช้ือเพลิงในกรณีท่ีมีการหกรั่วไหล ซึ่งทําใหงายตอการนําไปทําความสะอาด นอกจากนี้โครงการจะสรางหลังคาคลุมดานบนของถังเก็บน้ํามันเช้ือเพลิงเพื่อปองกันฝนตกลงในพื้นท่ีท่ีลอมรอบดวยคันดิน

พื้นท่ีท่ีกลาวถึงนี้เปนสวนหนึ่งของพื้นท่ีฐานแทนขุดเจาะและอุปกรณท่ีเกี่ยวของ ซึ่งจะถูกลอมรอบดวยระบบระบายน้ําเสียท่ีแยกออกจากระบบระบายน้ําฝน โดยท่ีน้ําเสียเหลานี้จะไหลลงสูบอเก็บเศษหินจากการขุดเจาะ ซึ่งเปนการปองกันไมใหน้ําสวนนี้ไหลออกโดยตรงไปสูภายนอกพื้นท่ีโครงการ

ปลองเผากาซ

ขณะดําเนินการโครงการจะเปนชวงฤดูลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ดังนั้นปลองเผากาซจึงตองติดตั้งทางดานทิศตะวันตกเฉียงใตของพื้นท่ีหลุมขุดเจาะสํารวจ โดยปลองเผากาซสูง 4-6 เมตร เพื่อรักษาความปลอดภัยใหกับพนักงานท่ีทํางานในพื้นท่ีขุดเจาะ ชุมชนท่ีอยูใกลพื้นท่ีโครงการท่ีสุด คือ บานคําแกนคูณซึ่งอยูหางออกไปประมาณ 1.5 กิโลเมตร ดังนั้นผลกระทบจากเสียง และแสงจากปลองเผากาซตอประชาชนจึงอยูในระดับต่ํา (รายละเอียดผลกระทบอธิบายในบทที 5 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม)

เมื่อพื้นท่ีโครงการไดปรับเตรียมและสามารถกําหนดตําแหนงขอบของแทนขุดเจาะและติดตั้งปลองเผากาซ จะแจงทางกรมเช้ือเพลิงธรรมชาติทราบ ตามท่ีกําหนดไวในกฎกระทรวง ฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2524) ซึ่งออกตามพระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. 2514 เพื่อกําหนดระยะของพื้นท่ีปลอดภัย หากกรมเช้ือเพลิงธรรมชาติตองการใหกําหนดระยะปลอดภัยขยายออกไปนอกขอบเขตของพื้นท่ีโครงการ อพิโก จะกําหนดเขตและทําสัญลักษณตามท่ีกรมเช้ือเพลิงธรรมชาติกําหนด

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 21

E2.7.1.4 ที่พักอาศัยของพนักงาน

ในปจจุบัน บริเวณรอบพื้นท่ีโครงการไมมีท่ีพักอาศัยท่ีเหมาะสม เชน โรงแรมหรือบานพัก ภายในระยะที่เหมาะสมจากพื้นท่ีโครงการ ดังนั้นโครงการจะทําการสรางท่ีพักอาศัยช่ัวคราวในบริเวณพื้นท่ีโครงการ ติดกับพื้นท่ีขุดเจาะ

ท่ีพักอาศัยจะเปนไปตามมาตรฐานอุตสาหกรรม ซึ่งประกอบดวย พื้นท่ีหลับนอนซึ่งดัดแปลงจากตูคอนเทนเนอร สวนท่ีพักผอน พื้นท่ีโรงอาหาร และระบบสาธารณูปโภคอื่นๆ โดยจะรองรับพนักงานไดไมเกิน 100 คน พื้นท่ีพักอาศัยนี้จะมีบริเวณประกอบอาหาร หองเก็บอาหารแชแข็ง หองซักผา และสวนหองน้ําหองสวม โดยใชพลังงานจากเครื่องปนไฟดีเซล

การควบคุมการระบายน้ําในที่พักอาศัย

โครงการจะสรางทางระบายน้ํารอบพื้นท่ีทํางานเพื่อระบายนํ้าฝนลงสูบอรับน้ําฝนโดยผานบอดักคราบน้ํามัน บอรับน้ําฝนจะสรางขึ้นโดยการขุดดินท่ีบริเวณริมพื้นท่ีพักอาศัย ขนาด 10x5 เมตร ลึก 2 เมตร โดยรองพื้นบอดวยแผนพลาสติก PVC geo-membrane เพื่อกันการซึมของน้ํา ในกรณีท่ีมีการรั่วไหลของน้ํามันเช้ือเพลิงหรือน้ํามันหลอล่ืน จะสามารถบําบัดน้ําท่ีปนเปอนไดหากจําเปน ในกรณีปกตินั้น น้ําในบอรับน้ําฝนมีโอกาสนอยท่ีจะเกิดการปนเปอน เนื่องจากไมมีท่ีมาของสารปนเปอนในบริเวณพื้นท่ีพักอาศัย (เวนแตน้ํามันเช้ือเพลิง และน้ํามันหลอลื่น ดังท่ีจะอธิบายตอไป) โครงการจะระบายน้ํานั้นออกนอกพื้นท่ีโครงการหลังจากท่ีไดตรวจสอบคุณภาพน้ําแลววาเปนไปตามมาตรฐานน้ําท้ิง

ระบบจัดการสิ่งปฏิกูลและน้ําเสียจากที่พักอาศัย

โครงการจะขุดและวางถังบําบัดของเสีย (Septic tank) ไวริมขอบพื้นท่ีพักอาศัย ถังมีความจุรวม8,000 ลิตร (8 ลูกบาศกเมตร) สิ่งปฏิกูลจากจากถังบําบัดนี้จะถูกสูบมาบําบัดในหนวยยอยสลายทางชีวภาพ ท่ีมีความจุประมาณ 20 ลูกบาศกเมตร (20,000 ลิตร) น้ําท้ิงจากหองน้ําหองสวมผานหนวยยอยสลายจะถูกสงผานเขาไปยังบอบําบัดน้ําทางชีวภาพโดยใชพืชธรรมชาติ การบําบัดน้ําท้ิงและน้ําโสโครกอยูภายใตขอกาํหนดของสัญญาการจัดการของเสียรวมจากการขุดเจาะ โดย บริษัทพรีเมียร ออยฟลด เซอรวิส จํากัด

น้ํามันหลอลื่นในที่พักอาศัย

ในพื้นท่ีพักอาศัย คาดวาจะตองใชน้ํามันหลอลื่นสําหรับอุปกรณตางๆ ประมาณ 10 ลิตรตอวัน โดยน้ํามันหลอลื่นสํารอง และนํ้ามันหลอลื่นท่ีใชแลว จะเก็บในถังเก็บท่ีไดมาตรฐานในบริเวณพ้ืนท่ีมิดชิดและแหง

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 22

รูปที่ E 2-5: ภาพรางแผนผังพื้นที่โครงการ

Si That-B Conceptual Layout

Not to Scale

External drainage ditch

Direction of slope of cut and laterite pad sides

Fence line at top ofLaterite pad slopes

Internal closed drainage systemat top of rig pad slopes

Offsite water releaseweir with oil trap

Rig equipment closeddrainage system

Direction of water flow

Control valve

S

N

EW

Concrete rig pad

Compact laterite pad

140 m

140

m

External ditch release point

WaterPit

External ditch release point

External ditch release point

Septic tank Bio-reactor

FRENCH GARDEN

Present Laterite Road

Guardstation

Driveway for site entrance Culvert under driveway

Kitc

hen/

mes

s H

all

Faci

litie

s

Qua

rter

s

Qua

rter

s

Qua

rter

s

Qua

rter

s

Qua

rter

s

Qua

rter

s

Faci

litie

s

Qua

rter

s

Offi

ceO

ffice

Qua

rter

s

Qua

rter

s

Qua

rter

s

Offi

ce

Qua

rter

s

Qua

rter

s

Potential Flare Stack location

Wellhead and Cellar

Raised Berm

Raised Berm

CuttingsPit

Dirty Water Pit

Fresh WaterPit

Concrete Rig Pad

Shaker tank Suction tankIntermediate tank

Chemical Storages

Weldingshop

Workshop

Faci

litie

sO

ffice

Med

icO

ffice

Sub base

Engine 1

Engine 2

Engine 3

Sub base

Pipe rack

V doorCat walk40 m

70 m

Si That-B Conceptual Layout

Not to Scale

External drainage ditch

Direction of slope of cut and laterite pad sides

Fence line at top ofLaterite pad slopes

Internal closed drainage systemat top of rig pad slopes

Offsite water releaseweir with oil trap

Rig equipment closeddrainage system

Direction of water flow

Control valve

S

N

EW

S

N

EW

Concrete rig pad

Compact laterite pad

140 m

140

m

External ditch release point

WaterPit

External ditch release point

External ditch release point

Septic tank Bio-reactor

FRENCH GARDEN

Present Laterite Road

Guardstation

Driveway for site entrance Culvert under driveway

Kitc

hen/

mes

s H

all

Faci

litie

s

Qua

rter

s

Qua

rter

s

Qua

rter

s

Qua

rter

s

Qua

rter

s

Qua

rter

s

Faci

litie

s

Qua

rter

s

Offi

ceO

ffice

Qua

rter

s

Qua

rter

s

Qua

rter

s

Offi

ce

Qua

rter

s

Qua

rter

s

Kitc

hen/

mes

s H

all

Faci

litie

s

Qua

rter

s

Qua

rter

s

Qua

rter

s

Qua

rter

s

Qua

rter

s

Qua

rter

s

Faci

litie

s

Qua

rter

s

Offi

ceO

ffice

Qua

rter

s

Qua

rter

s

Qua

rter

s

Offi

ce

Qua

rter

s

Qua

rter

s

Potential Flare Stack location

Wellhead and Cellar

Raised Berm

Raised Berm

CuttingsPit

Dirty Water Pit

Fresh WaterPit

Concrete Rig Pad

Shaker tank Suction tankIntermediate tank

Chemical Storages

Weldingshop

Workshop

Faci

litie

sO

ffice

Med

icO

ffice

Sub base

Engine 1

Engine 2

Engine 3

Engine 1

Engine 2

Engine 3

Sub base

Pipe rack

V doorCat walk40 m

70 m

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 23

E2.7.1.5 การขนสงพนักงานและวสัดุ

ทอกรุเหล็กและวัสดุตางๆ เชน โคลน สารเคมีและแบไรท จะขนสงจากคลังสินคาของผูจําหนายมาตามระบบทางหลวง เขาสูทางหลวงหมายเลข 2 และทางหลวงหมายเลข 2023 ผานอําเภอกุมภวาป เขาสูทางหลวงหมายเลข 2393 มาทางดานตะวันออกของถนนทองถิ่นหมายเลข #4021 ผานบานโปงคําและบานคําปลากั้งไปยังบานโคกใหญ ซึ่งเปนเสนทางสูทิศเหนือประมาณ 3 กิโลเมตร จากน้ันเลี้ยวเขาทิศตะวันตกบนถนนลูกรังประมาณ 2.8 กิโลเมตร และตรงเขาสูพื้นท่ีโครงการ ซึ่งคาดวาจะใชรถบรรทุกจํานวน 10 เท่ียว ในการขนสงวัสดุตางๆ นี้จะทําการขนสงกอนท่ีการขุดเจาะจะเริ่มตนขึ้นและในระหวางการขุดเจาะคาดวาจะดองมีการใชรถบรรทุกขนสงวัสดุตางๆ ประมาณ 5 เท่ียวตอสัปดาห

การขนสงของโครงการจะจํากัดการดําเนินการในชวงเวลากลางวันเทานั้น ยกเวนในกรณีฉุกเฉินท่ีมีความจําเปนตองขนวัสดุหรืออุปกรณ โดยระหวางชวงเวลาการขนสงจะมีคณะทํางานจัดการแทนขุดเจาะ (Rig Management Team) ซึ่งจะควบคุมดูแลและประสานงานกับเจาหนาท่ีทองถิ่นและผูนําชุมชนทองถ่ินอยางใกลชิด เพื่อใหเกิดความปลอดภัยในทุกๆพื้นท่ีตามแผนความปลอดภัยในการขนสง (Traffic Safety Plan) ซึ่งตามแผนนี้จะมีการปรึกษาขอความเห็นเพื่อใหทราบกิจกรรมของประชาชนในทองถ่ินเพื่อใหเกิดผลกระทบตอประชาชนในทองถิ่นนอยท่ีสุด รวมท้ังโครงการจะจํากัดความเร็วรถท่ีใชสําหรับขนสง จัดเตรียมเจาหนาท่ีดูแลดานความปลอดภัยและควบคุมดูแลเอาใจใสเปนพิเศษในการขนสงท่ีอยูใกลโรงเรียนในชวงเวลาท่ีนักเรียนกอนเขาเรียนและหลังเลิกเรียน

การขนสงของโครงการในระหวางการดําเนินการขุดเจาะจะรวมถึงการขนสงอาหาร น้ํา น้ํามัน สารเคมี และวัสดุอื่นๆ และเนื่องจากพนักงานสวนใหญจะอาศัยอยูในท่ีพักอาศัยท่ีทางโครงการจัดไวติดกับพื้นท่ีโครงการ การขนสงพนักงานจึงจะเกิดขึ้นอยางจํากัด เฉพาะชวงเปลี่ยนกะ ซึ่งโดยท่ัวไปเปนเวลาประมาณ 28 วัน ซึ่งจะขนสงพนักงานโดยรถกะบะและรถตู สําหรับน้ํามันเช้ือเพลิงจะใชรถบรรทุกขนสงสัปดาหละหนึ่งครั้ง โคลน สารเคมี และวัสดุอื่นๆ จะบรรจุไวในท่ีเก็บ และทําการขนสงในกรณีท่ีรองขอ ท่ีจอดรถของโครงการจะจัดไวในบริเวณท่ีพักอาศัยโดยจะตองมีการรองขอ เพื่อจํากัดคนท่ีไมเกี่ยวของ

E2.7.1.6 การขนสงแทนขุดเจาะและการติดตั้งแทนขุดเจาะ

อพิโกไดทําสัญญาตกลงใชแทนขุดเจาะ Ensign Rig#16 สําหรับโครงการขุดเจาะสํารวจบนบกหลุม Si That-B

การเคลื่อนยายแทนขุดเจาะและวัสดุอุปกรณจะขนสงโดยรถบรรทุกและรถพวง และเดินทางเปนขบวนพรอมกัน คาดวาในการเคลื่อนยายแทนขุดเจาะท้ังหมดจะขนสงเปนขบวนของรถบรรทุก 10 คัน จํานวน 8 ขบวน รวมเปนการขนสงท้ังหมด 80 เท่ียวรถบรรทุก

ขบวนรถบรรทุกท่ีใชในการเคลื่อนยายแทนขุดเจาะ อุปกรณประกอบ และวัสดุตางๆ จะเดินทางผานทางหลวงแผนดินหมายเลข 2 ผานเขาทางหลวงหมายเลข 2023 ผานอําเภอกุมภวาป เขาสูทางหลวงหมายเลข 2393 มาทางดานตะวันออกของถนนทองถิ่นหมายเลข #4021 ผานบานโปงคําและบานคําปลากั้งไป

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 24

ยังบานโคกใหญ ซึ่งเปนเสนทางสูทิศเหนือประมาณ 3 กิโลเมตร จากนั้นเลี้ยวเขาทิศตะวันตกบนถนนลูกรังประมาณ 2.8 กิโลเมตร และตรงเขาสูพื้นท่ีโครงการ

การเลือกเสนทางเขาพื้นท่ีโครงการ พิจารณาจากความเหมาะสมของสภาพพื้นถนน การจราจร และความปลอดภัยของประชาชนในพื้นท่ี ไมมีการสรางถนนเพิ่มเติม อยางไรก็ตาม ถนนเขาสูพื้นท่ีโครงการระยะทาง 2.8 กิโลเมตร อาจจําเปนตองทําการปรับปรุงและบดอัดผิวถนนใหมบางชวง ซึ่งอาจตองทําการบํารุงรักษาและซอมแซมเปนระยะๆ ตามสภาพอากาศ ในชวงดําเนินการขุดเจาะเพื่อทําใหเกิดความปลอดภัยในการขนสงเจาหนาท่ีและวัสดุอุปกรณของโครงการท้ังนี้ขึ้นอยูกับสภาพภูมิอากาศ

การขนสงท้ังหมดจะทําเฉพาะในเวลากลางวัน การเคลื่อนยายแทนขุดเจาะโดยรถบรรทุกจะทําในเวลาท่ีเหมาะสมเพื่อลดการรบกวนตอประชาชนในพื้นท่ี โดยหลีกเลี่ยงชวงเวลาเรงดวน ชวงโรงเรียนเปดและปดในเวลา 8.30 น. และ 15.30 – 16.30 น.

E2.7.2 การดําเนินการขุดเจาะ

การดําเนินการขุดเจาะในหลุม Si That-B จะดําเนินการตามมาตรฐาน API และมาตรฐานสากลตางๆ ท่ีเกี่ยวของ โครงการจะจัดใหมีเอกสาร “ระบบการจัดการการปฏิบัติงานในพื้นท่ีหลุมเจาะของอพิโก” และ “แผนการจัดการการปฏิบัติงานในพื้นท่ีหลุมเจาะของอพิโก” ไวท่ีพื้นท่ีขุดเจาะ และกําหนดใหทุกคนท่ีเกี่ยวของกับโครงการอานและทําความเขาใจกับเอกสารดังกลาว

การขุดเจาะ และการดําเนินงานอื่นๆ ท่ีเกี่ยวของ จะเกิดขึ้นตลอด 24 ช่ัวโมง พนักงานท่ีทํางานเกี่ยวกับการขุดเจาะจะทํางานสลับเปนกะ กะละ 12 ช่ัวโมง และทํางานตอเนื่องไมเกิน 28 วัน ตามการปฏิบัติงานปกติในอุตสาหกรรมนี้

สําหรับการขุดเจาะสํารวจครั้งนี้ จะดําเนินการขุดเจาะหลุมแบบ “Conventional Straight Hole” หรือขุดเจาะหลุมแบบปกติในแนวตรง ขั้นตอนพื้นฐานในการขุดเจาะหลุมสํารวจปโตรเลียม สรุปไดดังนี้

อุปกรณการเจาะ – อุปกรณการขุดเจาะมีสวนประกอบที่สําคัญ คือ หัวเจาะ ทําหนาท่ีในการเจาะผานช้ันดินและหิน โดยจะตอเขากับกานเจาะซึ่งมีลักษณะเปนทอเหล็กกลวง สามารถตอเขาดวยกันดวยเกลียวใหมีความยาวเพิ่มขึ้น โดยใชระบบกวานบนแทนท่ีอยูเหนือหลุมเจาะยกกานเจาะขึ้น-ลง เพื่อประกอบหรือถอดกานเจาะ เมื่อตองการปรับขนาดความยาวของกานเจาะใหเหมาะสมในแตละชวงของการปฏิบัติงาน

ระบบของเหลวในการขุดเจาะ –ของเหลวในการขุดเจาะทําหนาท่ีเปนสารหลอลื่น และสารหลอเย็น ใหกับกานเจาะ และหัวขุดเจาะ ของเหลวในการขุดเจาะน้ีเรียกท่ัวไปวา โคลนขุดเจาะ ซึ่งปกติจะเก็บรวมไวในถังเก็บขนาดใหญท่ีตั้งอยูขางแทนขุดเจาะ เมื่อจะนํามาใชงานจะสูบผานทอยางทนแรงดันสงลงไปตามกานเจาะ

อุปกรณทําความสะอาดโคลน - เมื่อเศษหินจากการขุดเจาะถูกโคลนขุดเจาะนําขึ้นมาท่ีระดับผิวดิน โคลนและเศษหินจะถูกสงผานตะแกรงเขยา (Shale Shaker) 2 ชุด ซึ่งจะกรองเศษหินสวนใหญออกจาก

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 25

โคลนดวยตะแกรงละเอียดท่ีติดตั้งบนแทนเขยา โคลนท่ีผานตะแกรงเขยาแลวจะถูกหมุนเวียนกลับไปใชใหม สวนเศษหินจะรวบรวมไวในบอเก็บเศษหินท่ีตั้งอยูใกลเคียง เพื่อรอการบําบัดและนําไปกําจัดตอไป

ผังรูปแบบการขุดเจาะโดยท่ัวไปแสดงในรูปท่ี E 2-6

การใสทอกรุ และการหลอซีเมนต – การขุดเจาะหลุมเจาะสํารวจในชวงตางๆ นั้นจะปรับใหมีเสนผาศูนยกลางตางกัน โดยเมื่อขุดเจาะลึกลงไปจะมีขนาดเล็กลงเรื่อยๆ และในแตละชวงหลุมเจาะนัน้จะใสทอเหล็กหนาท่ีเรียกวา ทอกรุ และจะหลอดวยซีเมนตเพื่อยึดใหอยูกับท่ี กระบวนการนี้จะชวยเพิ่มความมั่นใจในเสถียรภาพของหลุมเจาะ และเสถียรภาพของโครงสรางธรณีวิทยาโดยรอบ โดยเฉพาะในบริเวณท่ีอาจเปนช้ันหินอุมน้ํา และปองกันไมใหเกิดการปนเปอนในนํ้าใตดิน นอกจากนั้น ทอกรุยังชวยในกระบวนการควบคุมแรงดันของกาซท่ีหลุมเจาะอาจตัดผาน โดยจะเปนการปองกันการไหลเขาสูช้ันหินท่ีอยูในระดับตื้นกวา และมีแรงดันต่ํากวา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 26

รูปที่ E 2-6: รูปแบบแทนขุดเจาะและระบบน้ําโคลน

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 27

E2.7.2.1 72การออกแบบหลุมเจาะและทอกรุ

หลุมเจาะไดรับการออกแบบใหมีขนาดเสนผาศูนยกลางหลุม 4 ขนาด ไดแก 16 นิ้ว (0.406 เมตร) 12 ¼ นิ้ว (0.311 เมตร) 8 ½ นิ้ว (0.216 เมตร) และ 6 นิ้ว (0.152 เมตร) ขนาดหลุมและทอกรุ สรุปไวในตารางที่ E2-6 และรูปท่ี E2-7

รายละเอียดหลุมเจาะ มีดังนี้

หลุมขนาด 16 นิ้ว

การขุดเจาะจะเริ่มตนดวยการขุดเจาะหลุมขนาด 16 นิ้ว (0.406 เมตร) จากระดับผิวดิน จนถึงระดับความลึก 350 เมตรจากระดับผิวดิน

การขุดเจาะในชวงนี้จะใชระบบโคลนขุดเจาะท่ีมีน้ําเปนองคประกอบหลักแบบพื้นฐาน (คือ ใชน้ําจืด และสารเบนโทไนท) ระหวางการเช่ือมตอกานเจาะ จะสูบโคลนความหนืดสูงลงไปเพื่อกวาดหลุม น้ําจืดและสารเบนโทไนทจะถูกนํามาใชเปนของเหลวในการขุดเจาะในชวงนี้

จากน้ันจะใสทอกรุระดับผิวดิน ขนาด 13 1/8 นิ้ว และหลอซีเมนตยึดถึงระดับผิวดิน

จากน้ันจะติดตั้งอุปกรณปองกันการพลุง (Blowout prevention - BOP) กอนท่ีจะขุดเจาะชวงตอไป คาดวาในการขุดเจาะในหลุม Si That-B นี้จะไมพบแหลงกาซระดับตื้น

หลุมขนาด 12 ¼ -นิ้ว

ชวงตอไปของหลุม จะขุดเจาะหลุมขนาด 12 ¼ นิ้ว จากระดับความลึก 350 เมตร ถึงระดับความลึกประมาณ 1750 เมตร

การขุดเจาะชวงนี้ จะใชโคลนขุดเจาะท่ีมีสารสังเคราะหเปนองคประกอบหลักท่ีมีความเปนพิษต่ํา

จากน้ันจะใสทอกรุขนาด 9 5/8 นิ้ว และหลอซีเมนตยึดจากระดับ 350 เมตร ถึง 1750 เมตร

หลุมขนาด 8 ½ -นิ้ว

หลุมขนาด 8 ½ -นิ้ว จะขุดเจาะจากระดับความลึก 1750 เมตร จนถึงระดับประมาณ 2030 เมตร

การขุดเจาะในชวงนี้จะใชโคลนขุดเจาะท่ีมีสารสังเคราะหเปนองคประกอบหลักท่ีมีความเปนพิษต่ําเชนเดียวกับชวงกอน

จากนั้นจะใสทอกรุขนาด 7 นิ้ว และหลอซีเมนตยึดจากระดับความลึก 1750 เมตร จนถึงระดับประมาณ 2030 เมตร

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 28

หลุมขนาด 6 -นิ้ว

หลุมขนาด 6 นิ้ว (หลุมชวงแหลงทรัพยากร) จะขุดเจาะจากระดับความลึก 2030 เมตร ถึงประมาณ 2792 เมตร

การขุดเจาะในชวงนี้จะใชของเหลวชวยขุดเจาะท่ีมีน้ําเปนสวนประกอบหลัก (ใชระบบสารโพลีเมอรท่ีไมกระจายตัว) และคาดวาจะเกิดการสูญเสียของเหลวเปนปริมาณมาก ในขั้นตนนั้น เพื่อลดการสูญเสีย จะผสมเม็ดแคลเซียมคารบอเนตขนาดตางๆ กันในของเหลวชวยขุดเจาะดวย

จากน้ันจะใสทอกรุท่ีเจาะเปนชองๆ ขนาด 4 ½ -นิ้ว จะขุดเจาะจากระดับความลึก 2030 เมตร ถงึประมาณ 2792 เมตร

ในระหวางการขุดเจาะหลุม Si That B อาจพบสภาพท่ีการขุดเจาะทางเทคนิคเปนไปไดยาก และตองทําการขุดซ้ําในฐานขุดเจาะเดิม หากเกิดกรณีนี้ทางโครงการอาจตองเจาะหลุมสํารวจเพิ่มเติม ในทิศทางขางเคียงหรือหลุมใหมถัดจากหลุมแรก แผนการขุดเจาะ รวมถึงการออกแบบหลุมเจาะและทอกรุ สําหรับหลุมเพิ่มเติมไมสามารถระบุไดในขณะนี้ แผนการขุดเจาะใหมจะกําหนดจากขอมูลทางเทคนิคท่ีพบเจอจากการขุดเจาะ

ตารางที ่E 2-6: ขนาดหลุมขุดเจาะ

เสนผาศูนยกลางหลุมเจาะ (นิ้ว) เสนผาศูนยกลางทอกรุ ระดับจากพ้ืนฐานดิน

(เมตร)

16 13 3/8 350

12 ¼ 9 5/8 1,750

8 ½ 7 2,030

6 4 ½ 2,792

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 29

รูปที่ E 2-7: แบบรางการออกแบบหลุมเจาะ Si That-B

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 30

E2.7.2.2 เศษหินจากการขุดเจาะ

เศษหินจากการขุดเจาะ คืออนุภาคของช้ันหินท่ีเกิดขึ้นเมื่อหัวขุดเจาะตัดผานในระหวางการขุดเจาะ และมีขนาดตางกันตั้งแตเปนสะเก็ดเล็กๆ (ความยาวนอยกวา 10 มิลลิเมตร) จนมีลักษณะคลายโคลนเหลว หรืออนุภาคท่ีมีความละเอียดมาก (เล็กกวา 0.002 มิลลิเมตร) คุณสมบัติท่ีแทจริงของเศษหินนี้จะขึ้นอยูกับองคประกอบของชั้นหินท่ีขุดเจาะผานไป หลังจากท่ีแยกเศษหินออกมาดวยกระบวนการแยกของแข็ง (ใชตะแกรงเขยา) จะท้ิงเศษหินลงสูบอเก็บเศษหินและโคลนจากการขุดเจาะ

คาดการณปริมาณของเศษหินจากการขุดเจาะของโครงการ ประมาณ 230.4 ลูกบาศกเมตร

E2.7.2.3 โคลนขุดเจาะ

โคลนขุดเจาะ ทําหนาท่ีตางๆ มากมาย นอกจากการนําเศษหินขึ้นมาจากหลุมเจาะแลว โคลนขุดเจาะยังทําหนาท่ี ดังตอไปน้ี

• สงกําลัง และการหลอลื่นไปท่ีหัวขุดเจาะ

• สรางแรงกด (Hydrostatic Head) เพื่อปองกันไมใหโครงสรางช้ันหินยุบตัว

• ปองกันของเหลวในชั้นหินไหลเขามาในหลุมเจาะ (ซึ่งจะทําใหเกิดการพลุง)

• ทําใหวัสดุตางๆ ในหลุมเจาะ เชน เศษหิน และแบไรท อยูในสภาพสารแขวนลอยในหลุมเจาะ เพื่อรักษาแรงกดในหลุมเจาะ หากการหมุนเวียนโคลนขุดเจาะหยุดชะงักลง (เชน เมือ่มีการตอกานเจาะเพิ่มเติม)

ดวยความเปนผูนําของอพิโก ท่ีรับผิดชอบตอส่ิงแวดลอม ในการขุดเจาะสํารวจครั้งนี้ จะไมมีการใชน้ํามัน สารสังเคราะหน้ํามัน ของเหลวในการขุดเจาะท่ีมีคาความเปนกรดดางและคลอไรดสูง

E2.7.3 การหยั่งธรณีหลุมเจาะ (Wireline Logging)

เมื่อส้ินสุดการขุดเจาะหลุมในแตละชวง จะทําการบันทึกขอมูลทางปโตรฟสิกส (Petrophysical Logs) ในหลุมเจาะ เพื่อระบุคุณสมบัติของหิน และโอกาสท่ีจะมีสารไฮโดรคารบอนอยู โดยจะหยอนเครื่องมือตรวจวัดทางปโตรฟสิกส (Petrophysical Tools) ลงไปในหลุมเจาะดวยสายเคเบิล และกวาน อุปกรณตรวจวัดท่ีหยอนลงไปในหลุมบางชนิดจะมีแหลงกําเนิดกัมมันตภาพรังสีอยูดวย จึงจะตองดําเนินการตามมาตรฐานความปลอดภัยอยางเครงครัด เมื่อนําวัตถุกัมมันตภาพรังสีมาใชและจัดเก็บบนพื้นดิน ซึ่งจะเก็บไวในภาชนะทําดวยตะกั่ว และเก็บไวหางจากพนักงาน และพื้นท่ีทํางานหลัก

ในการบันทึกขอมูลหลุมเจาะ มีอุปกรณหลักท่ีใช 4 ประเภท ไดแก

• อุปกรณบันทึกในหลุมเจาะ (Downhole instrument): ทําหนาท่ีวัดขอมูล

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 31

• อุปกรณคอมพิวเตอรบันทึกขอมูลท่ีระดับพื้นดิน (Computerized surface data acquisition): ทําหนาท่ีบันทึก และวิเคราะหขอมูล

• สายเคเบิล หรือสาย Wire line: ทําหนาท่ีเช่ือมตอท้ังดานขอมูล และเช่ือมตอทางไกล กับอุปกรณบันทึกในหลุมเจาะ

• อุปกรณยก เพื่อยก หรือสงอุปกรณลงในหลุมเจาะ

การบันทึกขอมูลจะเริ่มดวยการหยอนอุปกรณบันทึกในหลุมเจาะ (บางครั้งเรียกวา Tool หรือ sonde) ลงไปจนถึงกนหลุมเจาะ แลวนํากลับขึ้นมาอยางชาๆ และตรวจสอบชั้นหินอยางตอเนื่องดวยเทคนิคการตรวจวัดแบบไมทําลาย (non-destructive techniques) กระบวนการบันทึกขอมูลนี้จะสงขอมูลผานทางสาย wireline ขึ้นมาอยางตอเนื่อง และบันทึกไวท่ีระบบคอมพิวเตอรท่ีระดับผิวดิน ขอมูลจะถูกบันทึกไวใน log และแสดงขอมูลเกี่ยวกับโครงสรางช้ันหินเทียบกับความลึก

ขอมูลในหลุมเจาะท่ีบันทึกได จะนําไปใชเพื่อ

1. กําหนดลักษณะทางกายภาพของชั้นหิน เชน ชนิดหิน ความพรุน ลักษณะทางเรขาคณิตของรูพรุน และการซึมน้ํา

2. บงช้ีบริเวณท่ีสามารถผลิตไฮโดรคารบอนได

3. ประเมินความลึก และความหนาของแตละชวง

4. แยกแยะบริเวณท่ีเปนน้ํามัน กาซ และน้ําในแหลงกักเก็บ

5. ประเมินความสัมพันธระหวางลักษณะภายนอกของชั้นหิน

แผนดําเนินงานการหยั่งธรณีท่ีกําหนดไวสําหรับหลุม Si That-B ประกอบดวย

• กําหนดการหยั่งธรณี ในชวงหลุมขนาด 8 ½ นิ้ว 1 ครั้ง

• ครั้งท่ี 1: Induction-Density-Neutron-Spectral Gamma Ray-Caliper-Head Tension

• กําหนดการหยั่งธรณี ในชวงหลุมขนาด 6 นิ้ว 2 ครั้ง

• ครั้งท่ี 1: Induction-Density-Neutron-Spectral Gamma Ray-Caliper-Head Tension

• คร้ังท่ี 2: Dipole Sonic & Formation Micro-Imager – with DSI/FMI/GR/Head Tension

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 32

E2.7.4 การทดสอบหลุม (Well Testing) การเตรียมหลุมสําหรับการผลิต (Completion) การยกเลิกการดําเนินการ (Suspension) และการสละหลุม (Abandonment) หรือหลุมสํารวจเพิ่มเติม (Contingency Well)

เมื่อขุดเจาะสําเร็จถึงระดับความลึกท่ีกําหนดไว โครงการจะตัดสินใจวาจะทําการทดสอบหลุมเจาะ Si That-B หรือไม

หากจะดําเนินการทดสอบ จะตองทําการตัดสินใจโดยพิจารณาจากการแปลผลทางธรณีวิทยาจากการหยั่งธรณีหลุมเจาะ วาจะทําการทดสอบหลุม (Drill Stem test) หรือจะใสชุดทอสําหรับการผลิต (Completion String) ลงในหลุม ชุดทอนี้จะประกอบดวยทอท่ีเจาะเปนชองท่ีจะติดตั้งไวในช้ันแหลงกักเก็บ ซึ่งไมวาเลือกการทดสอบแบบใดก็ตาม เปาหมายในการทดสอบหลุมก็คือการตรวจวัดแรงดันในแหลงกักเก็บ และควบคุมใหเกิดการไหลท่ีสม่ําเสมอ หากเปนไปไดจะดําเนินการทดสอบหลุมแบบระยะยาวเพื่อยืนยันวาสามารถดําเนินการผลิตเชิงพาณิชยไดอยางยั่งยืน และกําหนดอัตราการลดแรงดันในแหลงกักเก็บ กิจกรรมตางๆ เหลานี้จะดําเนินการไดเมื่อยายแทนขุดเจาะออกไปจากพื้นท่ีแลว

E2.7.4.1 การทดสอบหลุม (Optional)

การทดสอบหลุมเจาะ (Dril l Stem test)

การทดสอบหลุมเจาะ (Drill Stem Test - DST) เปนกิจกรรมท่ีวิศวกรปโตรเลียมใช เพื่อตรวจสอบของเหลวในแหลงกักเก็บในระยะเวลาส้ันๆ ท่ีระดับความลึกตางๆ โดยอาจทําการทดสอบเปนรยะเวลาตางๆ กันตั้งแต 1 วัน ขึ้นไป

การทดสอบการผลิตในระยะยาว

การทดสอบการผลิตในระยะยาว (Long Term Production Test - LPT) นั้นเปนการดําเนินการเพื่อประเมินปริมาณปโตรเลียม และวิเคราะหความสามารถในการผลิตเชิงพาณิชยของหลุมเจาะ การทดสอบนี้จะใชเวลา 2 – 3 สัปดาห

อยางไรก็ตาม หากพบปโตรเลียม ก็ยังคงตองรออีกเปนเวลาหลายปกอนท่ีจะเริ่มการผลิตเชิงพาณิชยได เนื่องจากในพื้นท่ีนั้นไมมีตลาดรองรับ และไมมีทอขนสงไปยังนอกพื้นท่ี หากพบวาหลุมขุดเจาะนี้มีอัตราการผลิตสูง คาดวาจะดําเนินการเตรียมหลุมสําหรับการผลิต และปดหลุมไวช่ัวคราวแทนท่ีจะเปนการสละหลุมอยางถาวร เมื่อพิจารณาจากคาใชจายในการขุดเจาะหลุมเพื่อทดแทน (กรณีท่ีสละหลุมถาวร) ในภายหลัง และความเสี่ยงท่ีมีอยูจากการทําใหช้ันคารบอเนตที่เปนแหลงกักเก็บเสียหาย และอาจไมพบหลุมท่ีมีอัตราการผลิตสูงเชนเดิมไดในการขุดเจาะซํ้า

ในกรณีท่ีพบกาซ จะดําเนิการเตรียมหลุมเพื่อใหเปนหลุมผลิตในอนาคต เพื่อรอการอนุญาตใหใชเปนพื้นที่ผลิต แตหากอัตราการไหลไมเพียงพอตอการผลิต จะดําเนินการอุดหลุมและสละหลุม

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 33

เมื่อส้ินสุดการขุดเจาะ หรือการเตรียมหลุม แทนขุดเจาะและอุปกรณประกอบตางๆ จะถูกรื้อถอนและบรรทุกใสรถบรรทุกเพื่อเคลื่อนยายไปยังพื้นท่ีขุดเจาะแหงอื่นตอไป

E2.7.4.2 ในกรณีที่สามารถพัฒนาเชิงพาณิชยได

การสิ้นสุดการขุดเจาะ

หากพิสูจนและยืนยันไดวาสามารถพัฒนาหลุมในทางพาณิชยไดนั้น จะดําเนินการเตรียมหลุมเพื่อใชเปนหลุมผลิต เมื่อส้ินสุดการขุดเจาะ และการหยั่งธรณีหลุมเจาะในขณะท่ีแทนขุดเจาะยังอยูท่ีหลุมน้ัน

การดําเนินการขางตน จะตองติดตั้งชุดทอถาวร “Permanent completion string” ลงในหลุม ซึ่งการออกแบบของชุดทอนี้จะขึ้นอยูกับการวิเคราะหคุณสมบัติของกาซ และแรงดันในแหลงกักเก็บอยางละเอียด

ระยะพักการดําเนินการเพ่ือรอการพัฒนาตอ

เมื่อหลุมไดมีการขุดเสร็จเรียบรอยแลวและอยูระหวางการพัฒนาเปนหลุมผลิตกาซธรรมชาติในอนาคต แทนขุดเจาะและอุปกรณตางๆ ท่ีพักอาศัย ท่ีเก็บของ รวมท้ังปลองเผากาซและทอทางเดินกาซตางๆ จะถูกรื้อถอนและขนยายออกจากพื้นท่ีหลุมขุดเจาะสํารวจ

โครงการจะทําความสะอาดบอเก็บเศษหินจากการขุดท้ังหมด โดยจะขนเศษหินและของเหลวตางๆออกไปกําจัดยังนอกพื้นท่ีหลุมขุดเจาะสํารวจ และจะสูบน้ําออกจากบอเก็บน้ําและทําความสะอาด กากของแข็งท่ีไดจากการทําความสะอาดบอจะถูกสงไปกําจัดพรอมกับเศษหิน จะเติมทรายลงไปในบอคอนกรีตท้ังสามบอจนเต็มและคลุมดวยแผนพลาสติกชนิดหนาและปดทับดานบนสุดดวยแผนไมเพื่อปองกันมิใหเกิดเปนอันตรายและงายตอการนํากลับมาใชประโยชนในอนาคต

สําหรับพื้นคอนกรีตท่ีใชเปนพื้นรองแทนขุดหรือพื้นคอนกรีตอื่นๆ จะท้ิงเอาไวคงเดิมเพื่อการนํากลับมาใชประโยชนในอนาคต ดินบริเวณพ้ืนท่ีขนสงน้ํามันเช้ือเพลิง (ไดกลาวไวแลวกอนหนานี้) จะขนยายไปกําจัดนอกพื้นท่ีเชนกับเศษหินจากการขุด

จะทําความสะอาดทางระบายน้ําภายในพื้นท่ีหลุมขุดเจาะสํารวจ และกากของแข็งท่ีไดจากการทําความสะอาดจะนําไปรวมกับเศษหินจากการและนําไปกําจัดนอกพื้นท่ี สําหรับทางระบายน้ําท่ีบริเวณฐานหลุมสํารวจจะไดรับการทําความสะอาดและเก็บไวเพื่อใชประโยชนภายหลัง

โครงการจะสรางรั้วตะแกรงเหล็กท่ีมีประตูล็อกและมีหลังคาถาวรคลุมไวรอบๆ Cellar เพื่อปองกันผูไมเกี่ยวของเขาไปยุงเกี่ยวกับปากหลุม อันอาจกอใหเกิดอันตรายได

วิศวกรโยธาของโครงการจะตรวจสอบพื้นฐานหลุมท้ังหมดเพื่อตรวจสอบขอบกพรองและทําการแกไข เพื่อสรางความมั่นใจวาหลุมจะไมเกิดความเสียหายเมื่อถึงฤดูฝน ท้ังนี้หลุมดังกลาวจะไดรับการตรวจสอบและดําเนินการแกไขท้ังกอนและหลังฤดูฝน

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 34

E2.7.4.3 ในกรณีหลุมไมสามารถพัฒนาตอในเชิงพาณชิยและตองสละหลุม

แมวาโอกาสท่ีหลุมสํารวจนี้จะไมมีการพัฒนาตอในเชิงพาณิชยจะมีอยูนอย แตในกรณีท่ีประเมินแลววาหลุมไมสามารถพัฒนาตอในเชิงพาณิชยไดและตัดสินใจท่ีจะสละหลุมอยางถาวรแลว โครงการจะดําเนินการฟนฟูพื้นท่ีโดยทันที โดยขอกําหนดในการสละหลุมของการขุดเจาะในประเทศไทยนั้นกําหนดโดยกรมเช้ือเพลิงธรรมชาติ ซึ่งกําหนดขึ้นตามการปฏิบัติงานในอุตหสาหรรมนี้ ขั้นตอนหลักการปฏิบัติในการอุดหลุม และสละหลุมของโครงการจะสอดคลองกับขอกําหนดของกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ และขั้นตอนการปฏิบัติในอุตสาหกรรมประเภทนี้ ซึ่งกําหนดขึ้นเพื่อใหพื้นท่ีขุดเจาะนั้นกลับคืนสูสภาพใกลเคียงสภาพเดิมใหมากท่ีสุด

กอนท่ีจะดําเนินการสละหลุม ผูรับสัมปทานจะตองสงหนังสือแจงการดําเนินการดังกลาวตอกรมเช้ือเพลิงธรรมชาติ และจัดทําแผนการสละหลุมเสนอตอกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติดวย สําหรับขั้นตอนการปฏิบัติในการสละหลุม และฟนฟูสภาพพื้นท่ีของพื้นท่ีขุดเจาะน้ีเปนขั้นตอนที่ไดมีการปฏิบัติมาแลวเปนเวลานาน และเปนการดําเนินการท่ีกระทําเปนประจํา

ในการสละหลุม โครงการจะดําเนินการสูบซีเมนตลงไปในหลุม เพื่ออุดหลุมในชวงทอขนาด 6 นิ้วตลอดท้ังชวง จนเขามาถึงระดับทอกรุขนาด 7 นิ้ว ในชวงทอกรุขนาด 7 นิ้วจะเติมโคลนท่ีมีน้ําหนักมากลงไปกอนตามดวยการอัดซีเมนตทับลงไปเหนือระดับโคลน สําหรับรอยตอรูปวงแหวนระหวางหลุมในชวงทอกรุขนาด 13 3/8 และ 9 5/8 นิ้วนั้นจะมีซีเมนตจากการใสทอกรุครั้งกอนอัดอยูแลว โครงการจะทําการทดสอบแรงดันอีกครั้งเพื่อใหแนใจวาชองวางตางๆ ภายในหลุมนั้นมีซีเมนตและโคลนอัดจนเต็มโดยตลอด ทายสุดโครงการจะใสซีเมนตลงในทอกรุขนาด 7 นิ้วท่ีระดับผิวดิน และถอดหัวหลุม (Well Head) ออกและใสหัวปองกันการสึกกรอนท่ีปากหลุมแทนท่ี

กําแพงคอนกรีตบริเวณปากหลุม (Cellar) จะถูกทุบท้ิงจนถึงระดับต่ํากวาผิวดินและปรับระดับดวยเศษหินและดิน สําหรับพื้นคอนกรีตของฐานแทนขุดเจาะและพื้นคอนกรีตอื่นๆ รวมท้ังบอเศษหินจากการขุดและบอเก็บน้ําจะทุบท้ิงเชนกันและนําเศษคอนกรีตไปท้ิงยังพื้นท่ีนอกพื้นท่ีหลุมขุดเจาะสํารวจเพื่อกําจัดเชนเดียวกับเศษหินจากการกอสรางอื่นๆ

โครงการจะขุดรื้อถอนพื้นท่ีฐานแทนขุดเจาะท่ีทําจากดินลูกรังอัดแนน และปรับระดับความสงูของพื้นท่ีใหเปนเชนเดียวกันกับกอนมีโครงการ โดยโครงการจะสนับสนุนงบประมาณใหกรมชลประทานซึ่งเปนเจาของพื้นท่ีนําไปดําเนินการปลูกตนไมฟนฟูพื้นท่ีดวยพันธุไมท่ีมีความเหมาะสมกับพื้นท่ี ตลอดจนดูแลจนตนไมเจริญเติบโตครอบคลุมท้ังพื้นท่ี

E2.7.4.4 หลุมสํารวจเพิ่มเติม (Contingency Wells)

ในระหวางการขุดเจาะหลุม Si That B หากประสบปญหาทางเทคนิคท่ีทําใหการขุดเจาะหลุมไมสามารถดําเนินการตอไปได เชน กรณีท่ีเครื่องมือ หรือกานเจาะหลุด หรือคางอยูในหลุม, กรณีท่ีทอกรุบริเวณระดับผิวดินทรุด หรือเสียหาย, กรณีท่ีพบแหลงกักเก็บไฮโดรคารบอนท่ีระดับท่ีตื้นกวาท่ีคาดไว, หรือกรณีท่ีคุณภาพของแหลงทรัพยากรต่ํากวาท่ีคิดไว แมวากรณีปญหาตางๆ เหลานี้จะเกิดขึ้นไดยากก็ตาม หากเกิดขึ้นแลว บริษัทมีความจําเปนตองขุดเจาะหลุมสํารวจเพิ่มเติมเพื่อใหการสํารวจเปนไปอยางตอเนื่อง โดยจะขุดเจาะ

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 35

จากบริเวณฐานรองแทนขุดเจาะหลุม Si That-B เพื่อใหสามารถบรรลุเปาหมายของโครงการได (เปาหมายของโครงการ ไดแก การตรวจสอบลักษณะเฉพาะของแหลงทรัพยากร ประเมินระดับความลึกของผิวสัมผัสระหวางกาซและน้ํา รวมท้ังการทดสอบอัตราการไหลของหลุมวาสามารถดําเนินการเชิงพาณิชยได) โครงการจะทําการวิเคราะหขอมูลตางๆ อยางละเอียด กอนท่ีจะตัดสินใจทําการขุดเจาะหลุมเพื่อรองรับปญหาท่ีเกิดขึ้น โดยการขุดเจาะหลุมรองรับปญหาน้ี อาจเปนการขุดเจาะเบ่ียงทิศทางจากหลุมเดิม หรือขุดเจาะหลุมใหมในบริเวณขางเคียง

E2.8 สาธารณูปโภคของโครงการ

E2.8.1 แหลงน้ําและการใชน้ํา

E2.8.1.1 นํ้าใช

คาดวาโครงการจะใชน้ํา 15 ลูกบาศกเมตรตอวันเมื่อมีพนักงานพักในพื้นท่ีพักอาศัยเต็มท้ังหมด โดยมีถังเก็บน้ําจํานวนสองถัง ความจุโดยรวม 50 ลูกบาศกเมตร น้ําใชท้ังหมดขนสงโดยรถบรรทุกมายังพื้นท่ีโครงการทุก 3-4 วัน ในระหวางท่ีมีพนักงานพักอาศัยสูงสุด การใชน้ํารวมท้ังหมดของโครงการประมาณ 795 ลูกบาศกเมตร (คิดจากการดําเนินการขุดเจาะ 53 วัน)

อพิโก จะจัดซื้อน้ําใชมาจากผูขายน้ําท่ีไดรับอนุญาตจากหนวยงานประปาในพื้นท่ี

น้ําดื่มจะซื้อจากผูขายน้ําในทองถิ่น คาดการณความตองการน้ําดื่มในระหวางการดําเนินการประมาณ 375 ลิตรตอวัน ซึ่งจะเปนผลดีตอการขายน้ําของผูขายในทองถ่ิน

E2.8.1.2 นํ้าใชในการขุดเจาะ

ในระหวางการขุดเจาะโครงการจะมีการใชน้ําท้ังหมดประมาณ 1,590 ลูกบาศกเมตร โดยใชน้ําท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐานน้ําเพื่ออุตสาหกรรม (ไมใชน้ําประปา) โดยใชเพื่อเติมในโคลนขุดเจาะและซีเมนต

แหลงน้ําท่ีใชนํามาจากอางเก็บน้ําหวยตาด ตําบลตาดทอง และขนสงมายังพื้นท่ีโครงการโดยรถบรรทุก โดยท่ัวไป ถังในรถบรรทุกมีความจุ 10 ลูกบาศกเมตร ดังนั้น โดยประมาณคาดการณวาจะมีการขนสงน้ํา 120 เท่ียวในระหวางการขุดเจาะ (ประมาณ 2-3 เท่ียวตอวัน)

E2.8.2 ไฟฟา

แหลงกําเนิดไฟฟาสําหรับฐานขุดเจาะ

พลังงานไฟฟาท้ังหมดสําหรับฐานขุดเจาะ แทนขุดเจาะ และอุปกรณท่ีเกี่ยวของ จะไดจากเครื่องกําเนิดไฟฟาชนิดดีเซล ขนาด 1,470 แรงมาจํานวน 4 ชุด ซึ่งคาดวาปริมาณการใชน้ํามันสูงสุดขณะทําการขุดเจาะเปน 6.5 ลูกบาศกเมตรตอวัน โดยมีถังเก็บน้ํามันขนาด 25 ลูกบาศกเมตร จํานวน 2 ถังท่ีฐานเจาะ ประมาณการใชน้ํามัน 345 ลูกบาศกเมตร (คิดจากระยะเวลาขุดเจาะ 53 วัน)

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 36

แหลงกําเนิดไฟฟาสําหรับที่พักอาศัย

พลังงานไฟฟาท้ังหมดสําหรับท่ีพักอาศัยจะไดจากเครื่องกําเนิดไฟฟาชนิดดีเซลขนาด 280 เควีเอ ซึ่งคาดวาปริมาณการใชน้ํามันเปน 1.5 ลูกบาศกเมตรตอวัน โดยมีถังเก็บน้ํามันขนาด 25 ลูกบาศกเมตรจํานวน 1 ถังท่ีบริเวณท่ีพัก ประมาณการใชน้ํามันระหวาง 80 ลูกบาศกเมตร (คิดจากระยะเวลาขุดเจาะ 53 วัน) และ 113 ลูกบาศกเมตร (คิดจากระยะเวลาขุดเจาะ 53 วัน และระยะเวลาทดสอบหลุม 22 วัน)

E2.8.3 สรุปรายการของเสียของโครงการ

สรุปรายการของเสียของโครงการ ดังแสดงในตารางที่ E2-7

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 37

ตารางที ่E 2-7: รายการของเสียของโครงการ

ชนิดของเสีย ปริมาณโดยประมาณ ผูรับเหมากําจัด แผนการกําจัด

เศษหินจากการขุดเจาะ และโคลนขุดเจาะที่มีน้ําเปนองคประกอบหลัก (WBM) ที่ติดไปกับเศษหินที่ปลอยสูบอกักเก็บ

113.9 ลบ.ม. บริษัทพรีเมียร ออยฟลด เซอรวิส จํากัด

• กําจัดลงบอกักเก็บ

• ในขั้นสุดทาย จะทําการทดสอบเศษหินจากการขุดเจาะวาเปนของเสียอันตรายหรือไม

• สารไมอันตราย: กําจัดโดยบริษัทฝงกลบที่ไดรับอนุญาต.

• สารอันตราย: สงเขาเตาเผาของบริษัทปูนซีเมนตนครหลวง

โคลนขุดเจาะที่มีน้ําเปนองคประกอบหลัก < 750 ลบ.ม. บริษัทพรีเมียร ออยฟลด เซอรวิส จํากัด

• เก็บในถังกักเก็บโคลน และอาจยายไปไวบอเก็บน้ําบอใดบอหนึ่ง

• ทําการระเหยภายในโครงการ • ทดสอบโคลนจากการขุดเจาะวาเปนของเสียอันตรายหรือไม • ของเสียไมอันตราย: สงบําบัดยังระบบบําบัดน้ําเสียในทองถิ่น.

• ของเสียอันตราย: สงเขาเตาเผาของบริษัทปูนซีเมนตนครหลวง. เศษหินจากการขุดเจาะ และโคลนขุดเจาะที่มีสารสังเคราะหเปนองคประกอบหลัก (NAF) ที่ติดไปกับเศษหินที่ปลอยสูบอกักเก็บ

130.8 ลบ.ม. บริษัทพรีเมียร ออยฟลด เซอรวิส จํากัด • สงเขาเตาเผาของบริษัทปูนซีเมนตนครหลวง

สารเคมีที่ไมใชแลว ไมระบุ บริษัท MI-Swaco จํากัด • สงคืนใหผูผลิตหรือใชในการขุดเจาะครั้งตอไป

ขยะทั่วไป 1 – 10 ตันตอเดือนในพื้นที่โครงการ 1 – 4 ตันตอเดือนในที่พักพนักงาน

บริษัทพรีเมียร ออยฟลด เซอรวิส จํากัด • เผาในพื้นที่โครงการโดยผานการอนุญาตการเผา • นําไปฝงกลบโดยบริษัทที่ไดรับอนุญาตในทองถิ่น

เศษโลหะ พลาสติก กระดาษ ไมั แกว เปนตน 1 – 40 ตันตอเดือน บริษัทพรีเมียร ออยฟลด เซอรวิส จํากัด • ขายวัสดุที่สามารถรีไซเคิลและนํากลับมาใชซ้ําได • วัสดุที่ไมสามารถรีไซเคิลและนํากลับมาใชซ้ําได จะนําไปฝงกลบกับบริษัท

ที่ไดรับอนุญาต

ของเสียอันตรายคุณภาพต่ํา 2 – 5 ตันตอเดือน บริษัทพรีเมียร ออยฟลด เซอรวิส จํากัด • สงเขาเตาเผาของบริษัทปูนซีเมนตนครหลวง

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 38

ชนิดของเสีย ปริมาณโดยประมาณ ผูรับเหมากําจัด แผนการกําจัด

น้ําทิ้งโสโครก 3–4 ลบ.ม. ตอวัน บริษัทพรีเมียร ออยฟลด เซอรวิส จํากัด • บอจากหองน้ําหองสวม

• บําบัดในพื้นที่ดวยระบบยอยสลายทางชีวภาพ

• ระบายสูบอชีวภาพ ผลิตภัณฑของเหลวจากเครื่องแยกในระหวางขุดเจาะและทดสอบ

0–23.8 ลบ.ม. ตอวัน บริษัทพรีเมียร ออยฟลด เซอรวิส จํากัด • สงเขาเตาเผาของบริษัทปูนซีเมนตนครหลวง

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 39

E2.9 การจัดการสุขภาพอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม

E2.9.1 อุบัติเหตุ อันตรายและเหตุการณฉุกเฉินที่อาจเกิดข้ึน

อพิโก จะตรวจสอบวาผูรับเหมาไดจัดทําคูมือเกี่ยวกับการปฏิบัติในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน ซึ่งจะตองครอบคลุมถึงการพลุง อัคคีภัย แผนดินไหว เหตุฉุกเฉินทางการแพทย การประชาสัมพันธ และเหตุฉุกเฉินอื่นๆ อพิโก กําลังอยูระหวางการดําเนินการปรับปรุงแผนการรองรับเหตุการณฉุกเฉิน ใหเหมาะสมและมีความเฉพาะเจาะจงสําหรับการดําเนินการในโครงการฯ พื้นท่ีศรีธาตุ

แผนการรองรับเหตุการณฉุกเฉินท่ีปรับปรุงใหมนี้ จะพัฒนาจากระบบการจัดการกรณีฉุกเฉินในการดําเนินการขุดเจาะสํารวจและผลิต และอิงอยูบนการดําเนินงาน และมาตรฐานอุตสาหกรรมท่ีเปนท่ียอมรับ (เชน ISO, BCI, EMI, BS เปนตน)

นอกจากแผนดําเนินการขางตน ยังไดจัดทําขั้นตอนการปฏิบัติงานสําหรับกรณีตอไปน้ี

• แผนการจัดการวัตถุอันตราย (HAZMAT Plan - Hazardous materials procedures)

• แผนการจัดการของเสีย) Waste Management Plan)

• แผนการจัดการความปลอดภัยการจราจร) Traffic Management (Safety) Plan)

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 40

E3 สภาพแวดลอมปจจุบัน

E3.1 ส่ิงแวดลอมทางกายภาพ

E3.1.1 สภาพภูมิประเทศ

ท่ีตั้งโครงการครอบคลุมบริเวณพื้นท่ีอําเภอกูแกว อําเภอศรีธาตุ และอําเภอกุมภวาป จังหวัดอุดรธานี ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ลักษณะภูมิประเทศโดยท่ัวไปเปนท่ีราบสูง มีความสูงกวาระดับน้ําทะเลโดยเฉลี่ยประมาณ 234-242 เมตร

E3.1.2 ภูมิอากาศ

พื้นท่ีโครงการตั้งอยูใกลกับสถานีอุตุนิยมวิทยา 2 แหง คือ อําเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี และอําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน ไดดําเนินการรวบรวมขอมูลสภาพภูมิอากาศในชวง 30 ป (พ.ศ. 2520 – 2550) จากท้ัง 2 สถานีตรวจวัด

ขอมูลอุตุนิยมวิทยาจากท้ังสองสถานีมีลักษณะใกลเคียงกัน เมื่อพิจารณาลักษณะฤดูกาลจากขอมูลปริมาณนํ้าฝนในชวงเดือนพฤศจิกายน – เมษายน พบวาเปนชวงฤดูแลงเนื่องจากมีปริมาณฝนตกนอยกวาในชวงเดือนพฤษภาคม – ตุลาคม

ขอมูลปริมาณน้าํฝนรายเดอืนจากการตรวจวัดระบบโทรมาตรเพื่อการพยากรณน้ําและเตอืนภัยลุมน้ําลาํปาว สถานี TLP02 (ฝายกมุภวาป) และสถานี TLP03 (E.65) ซึ่งท้ังสองสถานีตรรวจวัดตั้งอยูใกลเคียงกับพืน้ท่ีโครงการ

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 41

E3.1.3 ธรณีวิทยา

พื้นท่ีโครงการตั้งอยูบริเวณท่ีราบสูงโคราช มีลําดับช้ันหินซึ่งประกอบดวยหินมหายุคพาเลโอโซอิคตอนบนและหินมหายุคมีโซโซอิก โดยหินมหายุคพาเลโอโซอิควางตัวอยูดานลางของหินมหายุคมีโซโซอิก มีลักษณะเปนหินปูน แสดงช้ันเนื้อแนน แทรกตัวสลับดวยหินดินดานและหินทราย มีกอนหินเชิรตแทรก สวนหินมหายุคมีโซโซอิกเปนช้ันหินสีแดง สะสมตัวบนภาคพื้นทวีป ประกอบดวยหินทรายแปง หินทราย หินโคลน และหินกรวดมน

E3.1.4 ดินและคุณสมบัติของดิน

จากฐานขอมูลกลุมชุดดินรายตําบลของกรมพัฒนาที่ดิน (พ.ศ. 2543) พบวา พื้นท่ีโครงการประกอบไปดวยกลุมชุดดินตางๆ 7 กลุม คือ กลุมชุดดินท่ี 17, 22, 35, 40, 41, 49 และ 56

E3.1.5 น้ําผิวดิน

พื้นท่ีโครงการต้ังอยูในเขตอําเภอศรีธาตุ และอําเภอกุมภวาป จังหวัดอุดรธานี ซึ่งอยูในขอบเขตพื้นท่ีลุมน้ํายอยลําปาวตอนบน (พื้นท่ีรับน้ําประมาณ 3,216 ตารางกิโลเมตร)

ลุมน้ําลําปาวเปน 1 ใน 20 ลุมน้ําสาขาของลุมน้ําชี ซึ่งลุมน้ําชีเปน 1 ใน 25 ลุมน้ําหลักของประเทศ และเปน 1 ใน 3 ลุมน้ําขนาดใหญในพื้นท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย อันประกอบดวยลุมน้ําชี ลุมน้ํามูล และลุมน้ําโขง

E3.1.5.1 คุณภาพนํ้าผิวดิน (ขอมูลทุติยภูมิ)

กรมควบคุมมลพิษไดทําการตรวจวัดคุณภาพน้ําในแมน้ําลําปาวรวมท้ังส้ิน 7 สถานี ตลอดความยาวของลํานํ้า คุณภาพน้ําโดยสวนใหญอยูในเกณฑดีตามมาตรฐานคุณภาพแหลงน้ําผิวดินประเภทที่ 3 มีเพียงคา BOD ความเขมขนของTCB/FCB ซึ่งมีคาเกินมาตรฐานท่ีกําหนดไวบางเปนครั้งคราว

E3.1.6 น้ําบาดาล

E3.1.6.1 อุทกธรณีวิทยานํ้าบาดาล0

1

พื้นท่ีโครงการตั้งอยูในเขตอําเภอกูแกว อําเภอศรีธาตุ และอําเภอกุมภวาป จังหวัดอุดรธานี ซึ่งอยูในขอบเขตแองน้ําบาดาลในหินชุดโคราชตอนลาง พบน้ําบาดาลในหมวดหวยหินลาด น้ําพอง และภูกระดึง

1 จากการสืบคนขอมูลทางอุทกธรณีวทิยาของพื้นที่โครงการ บริษัทที่ปรึกษาฯ ไมพบขอมูลในระดับอําเภอ ดังน้ัน ในรายงานฉบับน้ีจึงสามารถนําเสนอขอมูลอยางละเอยีดที่สุดไดเพียงระดับจังหวัดอุดรธานีเทาน้ัน

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 42

E3.1.6.2 คุณภาพนํ้าบาดาล

จากการสืบคนในฐานขอมูลพสุธาราของกรมทรัพยากรน้ําบาดาล พบวาในบริเวณโดยรอบพื้นท่ีโครงการยังคงมีบอน้ําบาดาลท่ีชุมชนยังคงประโยชนอยู อยางไรก็ตาม คุณภาพน้ําโดยท่ัวไปไมเหมาะแกการใชประโยชนเพื่อการอุปโภคบริโภคและใชประโยชน เนื่องจากมีปริมาณเหล็กท่ีพบโดยสวนใหญในบอบาดาลมีเกินคามาตรฐานท่ีกําหนดไว

E3.1.7 การสํารวจขอมูลสภาพสิ่งแวดลอมในปจจุบัน

ไออีเอ็ม ไดดําเนินการสํารวจขอมูลสภาพสิ่งแวดลอมในปจจุบัน ระหวางวันท่ี 3 ถึง 6 พฤษภาคมพ.ศ. 2551 โดยเก็บตัวอยางดิน น้ําผิวดิน น้ําใตดิน และตรวจวัดคุณภาพอากาศ และระดับเสียง จากพ้ืนท่ีรอบบริเวณท่ีตั้งโครงการ แผนท่ีแสดงตําแหนงเก็บตัวอยาง และตรวจวัดคุณภาพอากาศและระดับเสียง แสดงไวในรูปท่ี E3-1 สวนผลของการสํารวจ แสดงไวในหัวขอตอไป

E3.1.7.1 คุณภาพอากาศ

ไออีเอ็ม ไดดําเนินการตรวจวัดคุณภาพอากาศในพื้นท่ี ระหวางวันท่ี 3-6 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 โดยตรวจวัดคุณภาพอากาศจากสถานีตรวจวัด 2 สถานี ไดแก STB-A1 ซึ่งตั้งอยูท่ีวัดคําปลากั้ง และ STB-A2 ซึ่งตั้งอยูท่ีศาลาประชาคมบานคําแกนคูน

การติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศดําเนินการอยางตอเนื่อง 3 วัน ตลอด 24 ช่ัวโมง พารามิเตอรท่ีตรวจสอบคือ คือ ปริมาณฝุนละอองรวม (Total Suspended Particles – TSP) เฉลี่ย 24 ช่ัวโมง และ ปริมาณฝุนละอองที่มีขนาดอนุภาคเล็กกวา 10 ไมครอน (PM10) เฉลี่ย 24 ช่ัวโมง โดยใชเครื่องมือเก็บตัวอยางฝุนชนิดเลือกขนาด ดําเนินการตรวจวัดโดย บริษัท ยูไนเต็ต แอนนาลิสต แอนด เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท จํากัด (ยูเออี)

ปริมาณของฝุนละอองรวมท่ีตรวจวัดในพื้นท่ีโครงการจากท้ังสองสถานีตรวจวัดมีคา 0.028 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร ปริมาณฝุนละอองท่ีมีขนาดอนุภาคเล็กกวา 10 ไมครอนท่ีตรวจวัดจากท้ังสองสถานีมีคา 0.023 และ 0.022 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร พารามิเตอรท้ังหมดท่ีตรวจวัดไดอยูในมาตรฐานคุณภาพอากาศ ผลตรวจวัดจากการติดตามตรวจสอบและผลการตรวจวัดพื้นท่ีโครงการในอดีตมีคาใกลเคียงกัน

นอกจากนี้ การตรวจวัดความเร็วลมและทิศทางลม ท้ังสองสถานีตรวจวัดในชวงเวลาเดียวกัน พบวาความเร็วลมระหวางชวงการตรวจวัดแปรผันระหวาง 0.30-3.90 เมตรตอวินาที และทิศทางลมเริ่มตนจากทิศตะวันออกเฉียงใต

E3.1.7.2 ระดับเสียง

การตรวจวัดระดับเสียงในพื้นท่ีโครงการดําเนินการโดย บริษัท ยูไนเต็ต แอนนาลิสต แอนด เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท จํากัด ไดดําเนินการในชวงเวลา และสถานีเก็บตัวอยางเดียวกันกับสถานีเก็บตัวอยางคุณภาพอากาศทั้ง 2 สถานี และทําตอเนื่องเปนระยะเวลา 3 วัน ตรวจวัดดังนี้

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 43

• ระดับเสียงเฉลีย่ 1 ช่ัวโมง และ 24 ช่ัวโมง (Leq)

• คาระดับเสียงสงูสุด (Lmax)

• ระดับความแตกตางของระดับเสียงขณะมกีารรบกวนกับระดบัเสียงพื้นฐานเปอรเซ็นไทลท่ี 90 (L90)

• ระดับเสียงเฉลีย่ในชวงกลางวัน-กลางคืน (Ldn)

ผลการตรวจวัดระดับเสียงแสดงในตารางที่ E3-1 จากการตรวจวัดคาระดับเสียงเฉลี่ย 24 ช่ัวโมง (Leq24 hr) ท้ังหมด 3 วัน และพบวาคาระดับเสียงเฉลี่ย 24 ช่ัวโมง อยูในเกณฑมาตรฐานระดับเสียงของประเทศไทย และระดับเสียงสูงสุด (Lmax) อยูในเกณฑมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไปของประเทศไทย ระดับเสียงท่ัวไปท่ีพบวามีคาใกลเคียงกับผลตรวจวัดจากการติดตามตรวจสอบพื้นท่ีโครงการในอดีต

ตารางที ่E 3-1: ระดับเสียงในพ้ืนที่โครงการ

สถานีตรวจวัด วันท่ีเก็บตัวอยาง Leq 24 hr Lmax L90 Ldn

STB-A1 3 พฤษภาคม 2551 56.9 89.3 42.64 60.4 4 พฤษภาคม 2551 53.4 89.8 42.18 58.1 5 พฤษภาคม 2551 54.5 84.3 43.83 59.1 คาเฉลีย่ 3 วัน 54.93 87.8 42.88 59.2 STB-A2 3 พฤษภาคม 2551 57.1 86.5 43.33 61.4 4 พฤษภาคม 2551 56.4 90.5 44.76 59.5 5 พฤษภาคม 2551 58.5 91.0 45.17 66.9 คาเฉลีย่ 3 วัน 57.33 89.33 44.92 62.6 การติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศในพ้ืนท่ีโครงการในอดีต

วัดศรีสงา 9-12 กันยายน 2550 62.2 93.9 48.4 69.6 โรงเรียนโนนมวง 9-12 กันยายน 2550 55.4 90.5 45.7 58.7

คามาตรฐาน1 ไมเกิน

70 เดซิเบล (เอ) ไมเกิน

115 เดซิเบล (เอ) - -

หมายเหตุ : 1 = มาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไปตามประกาศคณะกรรมสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 15 (พ.ศ.2540) เร่ือง กําหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป มาตรา 32(5) แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 ณ วันที่ 3 เมษยน พ.ศ. 2540

E3.1.7.3 คุณภาพดิน

การเก็บตัวอยางดินจํานวน 3 ตัวอยาง ในพื้นท่ีโครงการและบริเวณรอบพื้นท่ีโครงการไดดําเนินการเมื่อวันท่ี 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 โดยใชการเจาะเก็บตัวอยางดิน (Hand Auger) และนําสงหองปฏิบัติการเพื่อวิเคราะหคุณสมบัติทางเคมี ไดแก ปริมาณไฮโดรคารบอน โลหะหนัก น้ํามันและไขมัน และคุณภาพสมบัติทางกายภาพ (น้ําหนักแหง และ คาความเปนกรด-ดาง)

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 44

การเก็บตัวอยางจะเก็บตัวอยางดินท่ีมุมท้ัง 4 มุม รอบอาณาเขตของพื้นท่ีโครงการ ในการแตละหลุมจะเก็บตัวอยางในชวงคือ ท่ีระดับความลึก 0 – 10 เซนติเมตร และระดับความลึก 40-50 เซนติเมตร จากผิวดิน แลวจึงผสมตัวอยางดินท้ัง 2 ระดับความลึกเขาดวยกัน กอนจัดสงใหกับหองปฏิบัติการที่ไดมาตรฐาน เพื่อวิเคราะหคุณภาพดินตอไป พรอมท้ังเก็บตัวอยางซ้ํา 1 ครั้ง เพื่อควบคุณภาพการวิเคราะหตามกระบวนการ QA/QC

ผลการวิเคราะหตัวอยางดิน สรุปไดวา ลักษณะของดินสวนใหญในบริเวณพ้ืนท่ีโครงการมีคุณภาพตามมาตรฐานคุณภาพดินท่ีใชประโยชนเพื่อการอยูอาศัยและเกษตรกรรม

E3.1.7.4 คุณภาพนํ้าผิวดิน

การสํารวจคุณภาพน้ําผิวดินไดดําเนินการในวันท่ี 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 โดยดําเนินการเก็บตัวอยางท้ังสิ้น 4 สถานี พรอมท้ังก็บตัวอยางซ้ํา เพื่อเปนการควบคุมคุณภาพวิเคราะหตามกระบวนการ QA/QC

จากผลการวิเคราะหคุณภาพน้ําผิวดินท้ัง 4 สถานี สรุปไดวาคุณภาพน้ําผิวดินทุกพารามิเตอรของทุกสถานีตรวจวัด มีคาอยูในมาตรฐานคุณภาพน้ําผิวดินประเภทที่ 3 สําหรับน้ําสะอาดปานกลางเพื่อการบริโภคและเกษตรกรรม ยกเวนในสถานี ST-SW4 ท่ีพบวาแมงกานีสมีคาเกินมาตรฐาน

E3.1.7.5 คุณภาพนํ้าใตดิน

บอบาดาลโดยทั่วไปไดมีการตรวจสอบและขึ้นทะเบียนโดยกรมอนามัย เน่ืองจากเปนน้ําท่ีประชาชนในพื้นท่ี ใชเพื่ออุปโภคและบริโภค โดยทําการสํารวจคุณภาพน้ําบาดาลในพื้นท่ีโครงการเมื่อวันท่ี 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2551

การเก็บตัวอยางน้ําบาดาล มีท้ังหมด 2 บอ ซึ่งอยู ในบริเวณใกลเคียงพื้นท่ีโครงการ มีรายละเอียดดังนี้

• เก็บตัวอยางน้ําบาดาลจากบอ STB-GW1 ซึ่งเปนบอบาดาลสาธารณะซ่ึงเปนประปาชุมชนตั้งอยูบานคําแกนคูณ มีความลึกประมาณ 6.2 เมตร โดยมีระยะหางจากหลุมขุดเจาะ ประมาณ 1.42 กิโลเมตร

• เก็บตัวอยางน้ําบาดาลจากบอ STB-GW2 ซึ่งเปนบอบาดาลสาธารณะซ่ึงเปนประปาชุมชน ของบานโปงคอม ไมทราบขอมูลความลึก มีระยะหางจากหลุมขุดเจาะ ประมาณ 2.36 กิโลเมตร

ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ําบาดาลพบวาน้ําบาดาลท้ัง 2 สถานี พบวามีคาอยูในเกณฑมาตรฐานคุณภาพน้ําบาดาลสําหรับดื่มของประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 45

รูปที่ E 3-1: ตําแหนงสถานเีก็บตวัอยาง ในการสํารวจสภาพสิ่งแวดลอมเบื้องตน

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 46

E3.2 ส่ิงแวดลอมทางชีวภาพ

การสํารวจทรัพยากรปาไม สัตวปา และระบบนิเวศทางน้ําในพื้นท่ีโครงการ ไดดําเนินการระหว าง วัน ท่ี 13 -18 พฤษภาคม พ .ศ . 2551 โดยอาจารย สมนิมิตร พุกงาม คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรและคณะ

E3.2.1 ปาไม

การสํารวจพืชบกมุงเนนเพื่อศึกษาชนิดไม หรือพืชพรรณทั้งไมใหญ (tree) ลูกไม (sapling) และกลาไม (seedling) โดยรอบพื้นที่หลุมเจาะ Si That-B

การสํารวจภาคสนามบริเวณพื้นที่ศึกษาและพื้นที่ใกลเคียง โดยแบงพื้นที่ศึกษาออกเปน 12 บริเวณพื้นที่ศึกษายอย

ผลจากการศึกษาพบวา ในรัศมี 500 เมตรจากหลุมเจาะ พบชนิดพืชท้ังหมด 34 ชนิด การใชประโยชนท่ีดินในรัศมี 2 กิโลเมตรจากพื้นท่ีหลุมเจาะเปนพื้นท่ีเกษตรกรรม โดยเปนพื้นท่ีปลูกออย ซึ่งมีการปลูกแบบยกรอง

ในรัศมี 5 กิโลเมตรจากหลุมเจาะ พบวาพบชนิดไมไมต่ํากวา 160 ชนิดมีไมหวงหาม 43 ชนิดโดยบริเวณพื้นท่ีโครงการไมพบไมหวงหาม แตพบในบริเวณใกลเคียง 4 ชนิด ไมท่ีพบไดแก มะมวง (Mangifera indica L.) กระทอน (Sandoricum koetjape (Burm.f.) Merr.) มะมวงหัวแมงวัน (Buchanania reticulata Hance) และสะเดา (Azadirachta indica var. siamensis Valeton) พื้นท่ีศึกษาในรัศมี 2 กิโลเมตร พบไมหวงหาม 18 ชนิด เชน กระบก (Irvingia malayana Oliv. ex A .W. Benn.) แดง (Xylia xylocarpa Taub.) ตะครอ (Schleichera oleosa (Lour.) Oken) เต็ง (Shorea obtusa Wall. ex Blume) ประดู (Pterocarpus macrocarpus Kurz) ยางพลวง (Dipterocarpus tuberculatus Roxb.) สมอไทย (Terminalia chebula Retz.) เปนตน สวนพื้นท่ีศึกษาในรัศมี 5 กิโลเมตร พบไมหวงหาม 39 ชนิด เชนเดียวกับในรัศมี 2 กิโลเมตร แตมีท่ีพบมากขึ้นเชน เสลาเปลือกบาง (Lagerstroemia tomentosa Presl.) ยางกราด (Dipterocarpus intricatus Dyer) มะคาแต (Sindora siamensis Teijsm. & Miq.) ตะแบกแดง (Lagerstroemia calyculata Kurz) เปนตน

E3.2.2 สัตวปา

การสํารวจทรัพยากรสัตวปาในพ้ืนที่โครงการ มุงเนนศึกษาสัตวปา 4 กลุม คือ นก สัตวเลี้ยงลูกดวยนม สัตวเล้ือยคลาน และสัตวสะเทินน้ําสะเทินบก

ผลการสํารวจพบนกทั้งหมด 6 ชนิด สัตวเล้ียงลูกดวยนม 2 ชนิด สัตวเล้ีอยคลาน 2 ชนิด และสัตวสะเทินน้ําสะเทินบก 2 ชนิด โดยนก 4 ชนิด และสัตวเลี้อยคลาน 2 ชนิดท่ีพบจากการสํารวจ จัดเปน

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 47

ประเภทสัตวคุมครอง ตาม พรบ. สงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535 และกฎกระทรวงฉบับท่ี 4(พ.ศ.2537)

E3.2.3 สิ่งมีชีวิตในน้ํา

จากการสํารวจส่ิงมีชีวิตในน้ํา พบพืชน้ําทั้งหมด 25 ชนิดโดยมีจํานวนชนิด 3 -15 ชนิดตอพื้นที่ และพบสัตวน้ํา 17 ชนิด โดยพบ 0 -12 ชนิดตอหนึ่งสถานีเก็บตัวอยาง

ขอมูลการสํารวจแพลงกตอนพืช ของโครงการใกลเคียง

ขอมูลแพลงกตอนพืชจากการสํารวจในพื้นท่ีใกลเคียง คือ พื้นท่ีโครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-A (ไออีเอ็ม 2551) โดยตําแหนงของหลุมเจาะ Si That-A ซึ่งหางจากหลุมเจาะ Si That-Bประมาณ 5.48 กิโลเมตร

การสํารวจแพลงกตอนพืช ทําโดยเก็บตัวอยางแพลงกตอนพืช 6 สถานี ระหวางวันท่ี 8-9 กันยายน พ.ศ. 2550 โดย 3 สถานีตรวจวัดจากการสํารวจแพลงกตอนพืชของหลุมเจาะ Si That-A อยูใกลเคียงบริเวณพ้ืนท่ีของหลุมเจาะ Si That-B กลาวคือ สองสถานีอยูในพื้นท่ีศึกษาในรัศมี 5 กิโลเมตร และหนึ่งสถานีอยูในพื้นท่ีใกลเคียง รายละเอียดสรุปไดดังนี้

ผลการสํารวจพบแพลงกตอนพืช 2 ดิวิช่ัน บริเวณผิวน้ําของพื้นท่ีศึกษา ประกอบดวยดิวิช่ัน Chlorophyta (สาหรายสีเขียว) และดิวิช่ัน Chrysophyta (สาหรายสีทองและสาหรายสีเขียวแกมเหลือง) ดิวิช่ัน Chlorophyta เปนดิวิช่ันท่ีพบมากท่ีสุด โดยพบอยางนอย 50% ของความหนาแนนท้ังหมด พบดิวิช่ัน Chrysophyta เพียง 1 สถานี ประมาณ 25% ของความหนาแนนรวมท้ังหมด

ขอมูลการสํารวจแพลงกตอนสัตว ของโครงการใกลเคียง

ขอมูลแพลงกตอนสัตวจากการสํารวจในพื้นท่ีใกลเคียง คือ พื้นท่ีโครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-A (ไออีเอ็ม 2551) โดยตําแหนงของหลุมเจาะ Si That-A ซึ่งหางจากหลุมเจาะ Si That-B ประมาณ 5.48 กิโลเมตร

การสํารวจแพลงกตอนสัตว ทําโดยเก็บตัวอยางแพลงกตอนสัตว 6 สถานีระหวางวันท่ี 8 -9 กันยายน พ.ศ. 2550 โดย 3 สถานีตรวจวัดจากการสํารวจแพลงกตอนพืชของหลุมเจาะ Si That-A อยูในพื้นท่ีของหลุมเจาะ Si That-B กลาวคือ สองสถานีอยูในพื้นท่ีศึกษาในรัศมี 5 กิโลเมตร และหนึ่งสถานีอยูในพื้นท่ีใกลเคียง ผลการตรวจวัดสรุปไดดังนี้

ผลการสํารวจพบแพลงกตอนสัตว 4 ไฟลั่ม ไดแก ไฟลั่ม Rotifera ไฟลัมCladocera Copepoda และ ไฟลั่ม Protozoa ไฟลั่ม Protozoa เปนท่ีพบทุกสถานีเก็บตัวอยางและเปนไฟลั่มท่ีพบมากท่ีสุด โดยพบอยางนอย 43% ของความหนาแนนท้ังหมด ไฟลั่มท่ีพบมากรองลงมาคือ ไฟลั่ม Rotifera พบมากถงึ 57% ของความหนาแนนท้ังหมด ไฟลั่มท่ีพบมากถัดมาคือ Copepoda พบท้ังหมด 5 สถานีเก็บตัวอยาง พบมากถึง 32% ของความหนาแนนท้ังหมด ไฟลั่ม Copepoda และ Cladocera พบ 9% ของความหนาแนนท้ังหมด

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 48

E3.3 คุณคาการใชประโยชนของมนุษย

E3.3.1 การใชประโยชนที่ดิน

การศึกษาการใชประโยชนท่ีดินครอบคลุมพื้นท่ีศึกษารัศมี 5 กิโลเมตร ของพื้นท่ีหลุมขุดเจาะ พื้นท่ีศึกษาอยูในขอบเขตการปกครองของอําเภอศรีธาตุ (ตําบลตาดทอง และตําบลจําป) อําเภอกูแกว(ตําบลคอนสาย และตําบลบานจีต) และ อําเภอกุมภวาป (ตําบลแชแล ตําบลเวียงคํา) จังหวัดอุดรธานี

แหลงขอมูลท่ีใชในการศึกษาไดแก

1) รายงานขอมูลพื้นฐานและแผนพัฒนาขององคการบริหารสวนตําบล

2) ขอมูลแผนท่ีสภาพการใชท่ีดินจังหวัดอุดรธานีของกรมพัฒนาท่ีดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

3) การแปลขอมูลจากภาพถายดาวเทียม โดยดาวนโหลดจาก http://earth.google.com

4) การแปลขอมูลจากภาพถายดาวเทียม LANDSAT

5) ขอมูลจากการสํารวจภาคสนาม ในระหวางวันท่ี 13-16 พฤษภาคม พ.ศ. 2551

การใชประโยชนท่ีดินแสดงในตารางท่ี E3-2 พบวาพื้นท่ีสวนใหญเปนพื้นท่ีปลูกพืชไร (รอยละ 79.9) รองลงมาไดแก พื้นท่ีทํานาขาว (รอยละ 13.8) และสวนยูคาลิปตัส (รอยละ 1.03) ตามลําดับ และจากการสํารวจภาคสนามในพื้นท่ีศึกษารัศมี 5 กิโลเมตรจากพื้นท่ีหลุมขุดเจาะ พบวาสภาพการใชประโยชนท่ีดนิในปจจุบัน สวนใหญเปนพื้นท่ีเกษตรกรรม ไดแก ไรออย ไรมันสําปะหลัง และนาขาว

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 49

ตารางที ่E 3-2: การใชประโยชนที่ดินในพ้ืนที่ศึกษารัศมี 5 กิโลเมตร

พื้นที ่การใชประโยชนที่ดิน

ตารางกิโลเมตร รอยละ พืชไร 62.43 79.87 นาขาว 10.79 13.80 ชุมชนและส่ิงปลูกสราง 1.13 1.44 ยูคาลปิตัส 1.03 1.32 แหลงนํ้า 0.89 1.14 ปาเต็งรัง 0.57 0.72 ยางพารา 0.53 0.68 วัด 0.35 0.44 พื้นที่ลุม 0.18 0.23 สวนผลไม 0.12 0.16 โรงเรียน 0.10 0.13 ปาหัวไรปลายนา 0.03 0.04 สัก/ประดู 0.02 0.03 กฤษณา 0.003 0.004

รวม 78.17 100.00

E3.3.2 การเกษตรกรรม

ประชาชนในจังหวัดอุดรธานีประกอบอาชีพเกษตรกรรมเปนหลัก พืชเศรษฐกิจท่ีสําคัญและมีการเพาะปลูกมาก ไดแก ออยโรงงาน มันสําปะหลัง และขาวนาป โดยเกษตรกรสวนใหญนิยมปลูกขาวเหนียว การเพาะปลูกสวนใหญยังอาศัยน้ําฝน ระยะเวลาการเพาะปลูกอยูในชวงเดือนพฤษภาคม-กันยายน

นอกจากนี้ยังมีการทําอุตสาหกรรมในครัวเรือนและการทําหัตถกรรม เชน ทอผาไหม เย็บผา มัดหมี่ ทําขนม เปนอาชีพเสริมรายได

E3.3.3 การทําประมงและการเพาะเล้ียงสัตวน้ํา

ครัวเรือนสวนนอยในพื้นท่ีโครงการท่ีทําการประมงและเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ในอําเภอศรีธาตุ (รอยละ 7.4) อําเภอกุมภวาป(รอยละ 7.2) และ อําเภอกูแกว (รอยละ 1.9) โดยสวนใหญแลวจะทําประมงและเพาะเลี้ยงสัตวน้ําเพื่อการบริโภคในครัวเรือนมากกวาเพื่อการจําหนาย

E3.3.4 น้ําอุปโภคบริโภค

พื้นท่ีโดยรอบพื้นท่ีโครงการมักจะประสบปญหาขาดแคลนน้ําในฤดูแลง ดังนั้นหมูบานตางๆ จึงสรางแหลงน้ําเพื่อกักเก็บน้ําไวใชท้ังเพื่อการเกษตร และอุปโภคบริโภคในชวงฤดูแลง

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 50

ขนาดของแหลงน้ําเหลานี้จะขึ้นกับจํานวนครัวเรือนในหมูบานนั้นๆ และงบประมาณจากทางราชการ (เชน กรมชลประทาน และองคการบริหารสวนตําบล) บางหมูบานอาจสรางเขื่อนและฝายขนาดเล็กเพื่อสงน้ําไปยังพื้นท่ีเกษตรกรรมและระบบประปาของชุมชน

แหลงน้ําท่ีมนุษยสรางขึ้นและแหลงน้ําตามธรรมชาติท่ีสําคัญ ในพื้นท่ีศึกษารัศมี 5 กิโลเมตร จากพื้นท่ีหลุมขุดเจาะ ประกอบดวย อางเก็บน้ํา 3 แหง ไดแก อางเก็บน้ําบานหินลาด อางเก็บน้ําหนองมวง และอางเก็บน้ํานาสิน ลําหวย 11 แหง ไดแก หวยหินลาด หวยน้ําออก หวยคําแคน หวยคําลอมร้ัว หวยสะโนดหวยคึงคัง หวยวังเฮือ หวยตาดนอย หวยคําปลากั้ง หวยโนนมวง และหวยคํายาง

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 51

E3.3.5 สาธารณูปโภค

E3.3.5.1 ประปา

การบริการประปาในพื้นท่ีโครงการ ไดรับการบริการจากระบบประปาหมูบาน ซึ่งดําเนินการโดยองคการบริหารสวนตําบล และมีครัวเรือนบางสวนไดรับบริการจากสํานักงานประปาอําเภอกุมภวาป

E3.3.5.2 ไฟฟา

ครัวเรือนในพื้นท่ีศึกษา มีไฟฟาใชครบทุกครัวเรือน คิดเปนรอยละ 100 นอกจากนี้ยังมีการใหบริการไฟฟาสองสวางในหมูบาน เพื่อเพิ่มความสะดวกแกประชาชนในเวลากลางคืน

E3.3.5.3 การส่ือสารและโทรคมนาคม

ในพื้นท่ีศึกษามีท่ีทําการไปรษณียโทรเลข รวมท้ังส้ิน 4 แหง (2 แหงในอําเภอศรีธาตุ และ 2 แหงในอําเภอกูแกว) หอกระจายขาว 42 แหง (28 แหงในอําเภอศรีธาตุ และ 14 แหงในอําเภอกุมภวาป) ตูโทรศัพทสาธารณะ 52 แหง (27 แหงในตําบลศรีธาตุ 19 แหงในตําบลกุมภวาป และ 6 แหงในอําเภอกูแกว)

E3.3.6 การจัดการน้ําเสีย

ขอมูลลาสุดจากสํานักงานสถิติจังหวัดอุดรธานีปพ.ศ. 2551 พบวามีขอมูลสถิติการจัดการน้ําเสียในป พ.ศ. 2547 โดยมีบางหมูบานท่ีมีการบําบัดน้ําเสียกอนปลอยท้ิงสูแหลงน้ําธรรมชาติ จากสถิติมีครัวเรือน รอยละ 12.5 ในอําเภอกุมภวาป ครัวเรือนรอยละ 12.8 ในอําเภอศรีธาตุ และ ครัวเรือนรอยละ 32.4 ในอําเภอกูแกวท่ีมีการกําจัดน้ําเสียกอนปลอยท้ิงลงสูแหลงน้ําธรรมชาติ

E3.3.7 การจัดการขยะ

ในพื้นท่ีอําเภอกุมภวาปมีระบบการจัดการขยะ และรถเก็บขนจํานวน 1 คัน แตอยางไรก็ตามครัวเรือนสวนใหญใชวิธีกําจัดแบบกองกับพื้นและเผาเปนครั้งคราวบนท่ีดินของตนเอง

E3.3.8 การคมนาคมขนสง

E3.3.8.1 การขนสงทางรถไฟ

สถานีรถไฟอุดรธานี ตั้งอยูท่ีตําบลหมากแขง อําเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี มีระยะทางหางจากสถานีกรุงเทพ 568 กิโลเมตร

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 52

E3.3.8.2 การขนสงทางอากาศ

ทาอากาศยานอุดรธานี ตั้งอยูท่ีตําบลหมากแขง หางจากตัวเมืองประมาณ 3 กิโลเมตร การเดินทางจากกรุงเทพฯ ไปอุดรธานี ใชเวลาประมาณ 1 ช่ัวโมง

E3.3.8.3 การขนสงทางรถยนต

เสนทางการคมนาคมขนสงในพ้ืนที่โครงการ

ประกอบดวยถนนสายหลักท่ีสําคัญ 2 สาย ไดแก ทางหลวงแผนดินหมายเลข 2 ซึ่งเปนถนนสายหลักท่ีเช่ือมตอจังหวัดตางๆ ในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยสามารถแยกเขาสูพื้นท่ีตั้งโครงการโดยใช ทางหลวงหมายเลข 2393

ปริมาณการจราจร

ปริมาณการจราจรบนเสนทางคมนาคมบริเวณพื้นท่ีโครงการ อางอิงจากขอมูลปริมาณการจราจรเฉลี่ยตอวันตลอดป (ADDT) โดยสํานักอํานวยความปลอดภัย กองวิศวกรรมจราจร กรมทางหลวง ในป พ.ศ. พ.ศ.2550

ปริมาณการจราจรและคาความสามารถในการรองรับปริมาณการจราจรของถนนบริเวณพื้นท่ีโครงการในสภาพปจจุบัน (V/C Ratio) ดังแสดงในตารางท่ี 3-30 พบวาเสนทางคมนาคมบริเวณพ้ืนท่ีโครงการมีคา V/C Ratio อยูระหวาง 0.03-0.09 เมื่อเทียบกับเกณฑประเมินสภาพการจราจร สรุปไดวาเสนทางคมนาคมโดยรอบพื้นท่ีโครงการมีปริมาณการจราจรท่ีเบาบาง และเคลื่อนตัวไดดีมาก

E3.4 คุณภาพชีวิต

ในสวนนี้กลาวถึงขอมูลเกี่ยวกับ การปกครองสวนทองถ่ิน ประชากร เศรษฐกิจและสังคม สาธารณสุขและสุขอนามัยของประชาชน แหลงโบราณคดี และสถานท่ีทองเท่ียวในบริเวณท่ีตั้งโครงการ

E3.4.1 การปกครองสวนทองถิ่น

พื้นท่ีศึกษาของโครงการตั้งอยูในเขต จังหวัดอุดรธานี เขตการปกครองสวนทองถ่ินท่ีเกี่ยวของกับพื้นท่ีศึกษาของโครงการ ประกอบดวย

• 1 องคการบริหารสวนจังหวัด (จังหวัดอุดรธานี)

• 3 อําเภอ คือ อําเภอกูแกว อําเภอศรีธาตุ เเละอําเภอกุมภวาป

• 6 ตําบล คือ ตําบลตาดทอง ตําบลจําป ตําบลคอนสาย ตําบลบานจีต ตําบลแชแล และตําบลเวียงคํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 53

E3.4.2 ประชากร

ในสวนนี้เปนการอธิบายลักษณะประชากรในพื้นท่ีท่ีคาดวาจะไดรับผลกระทบ ตั้งแตระดับจังหวัด ระดับอําเภอ และระดับตําบล ขอมูลประชากรในแตละพื้นท่ีประกอบดวยขอมูลโดยท่ัวไป จํานวนและความหนาแนนของประชากร การศึกษา และเศรษฐกิจในทองถิ่น

จังหวัดอุดรธานี

จังหวัดอุดรธานี ตั้งอยูภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เเละหางจากกรุงเทพมหานครตามาทางหลวงแผนดินหมายเลข 2 เปนระยะทาง 564 กิโลเมตร มีพื้นท่ีประมาณ 11,730.302 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 7,331,438.75 ไร ซึ่งจัดวาเปนจังหวัดท่ีมีพื้นท่ีมากเปนอันดับท่ี 4 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แบงการปกครองเปน 20 อําเภอ 155 ตําบล 1,880 หมูบาน 403 เทศบาลนคร 150 องคการบริหารสวนตําบล จํานวนประชากรชายและหญิงในจังหวัดอุดรธานีจากขอมูลสถิติประชากรจากกรมการปกครองในเดือนธันวาคม ป 2550 พบวาจํานวนประชากรชาย และหญิงมีจํานวน 765,723 และ 764,963 คน ตามลําดับ ประชากรรวมคิดเปน 1,530,686 คน

จากขอมูลจํานวนสถานศึกษาในปการศึกษา 2551 จังหวัดอุดรธานีมีสถานศึกษารวมท้ังส้ิน 940 สถานศึกษา แบงเปนสถานศึกษาระดับประถม 851 โรงเรียน ระดับมัธยมศึกษา 71 โรงเรียน และระดับท่ีสูงกวามัธยมศึกษา 18 แหง (จังหวัดอุดรธานี, 2551)

สภาพทางเศรษฐกิจของจังหวัดอุดรธานี ในป 2549 พบวา ประชากรมีรายได เฉลี่ยตอหัว 34,355 บาท ตอป โดยท้ังจังหวัดมีผลิตภัณฑมวลรวม (GPP) 52,652 ลานบาท รายไดสวนใหญขึ้นอยูกับสาขาคาปลีก-คาสงมากท่ีสุด รอยละ 23.26 รองลงมาเปนสาขาการเกษตรรอยละ และสาขาอุตสาหกรรม รอยละ 13.18

อําเภอกูแกว

อําเภอกูแกว ครอบคลุมพื้นท่ี 151 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวย 4 ตําบล 4 องคการบริหารสวนตําบล และ 37 หมูบาน. ประชากรรวมในป 2550 มีจํานวนท้ังส้ิน 27,714คน (ผูชาย 10,988 คน และ ผูหญิง 10,716 คน) จํานวนครัวเรือน 5,412 ครัวเรือน และมีจํานวนโรงเรียนมัธยมศึกษา 1 โรง ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม

ตําบลคอนสาย

ตําบลคอนสายครอบคลุมพื้นท่ี 50 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวย 15 หมูบาน ประชากรรวมในป 2550 มีจํานวนท้ังส้ิน 8,253 คน (ผูชาย 4,187 คน และ ผูหญิง 4,066 คน). จํานวนครัวเรือน2,149. ครัวเรือน และมีจํานวนโรงเรียนประถม 7 โรง ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม

ตําบลบานจีต

ตําบลจําปครอบคลุมพื้นท่ี 91 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวย 8 หมูบาน ประชากรรวมในป 2550 มีจํานวนท้ังส้ิน 5,467 คน (ผูชาย 2,821 คน และ ผูหญิง 2,646 คน). จํานวนครัวเรือน1,416. ครัวเรือน และมี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 54

จํานวนโรงเรียนประถม 3 โรง และโรงเรียนมัธยมศึกษาจํานวน 1 โรง ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม

อําเภอศรีธาตุ

อําเภอศรีธาตุ ครอบคลุมพื้นท่ี 512 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวย 1 เทศบาล 7 ตําบล 7 องคการบริหารสวนตําบล และ 85 หมูบาน. ประชากรรวมในป 2550 มีจํานวนท้ังส้ิน 42,213 คน (ผูชาย 21,375 คน และ ผูหญิง 20,838 คน) จํานวนครัวเรือน 10,045 ครัวเรือน และมีจํานวนโรงเรียนมัธยมศึกษา 3 โรง ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม

ตําบลตาดทอง

ตําบลตาดทองครอบคลุมพื้นท่ี 42 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวย 13 หมูบาน ประชากรรวมในป 2550 มีจํานวนท้ังส้ิน 6,069 คน (ผูชาย 3,025 คน และ ผูหญิง 3,044 คน). จํานวนครัวเรือน1,506. ครัวเรือน และมีจํานวนโรงเรียนประถม 4 โรงและโรงเรียนมัธยม 1 โรง ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม

ตําบลจําป

ตําบลจําปครอบคลุมพื้นท่ี 91 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวย 17 หมูบาน ประชากรรวมในป 2550 มีจํานวนท้ังส้ิน 7,991 คน (ผูชาย 4,091 คน และ ผูหญิง 3,900 คน). จํานวนครัวเรือน1,910. ครัวเรือน และมีจํานวนโรงเรียนประถม 6 โรง ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม

อําเภอกุมภวาป

อําเภอกุมภวาป ครอบคลุมพื้นท่ี 660 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวย 3 เทศบาล 13 ตําบล 12 องคการบริหารสวนตําบล และ 174 หมูบาน. ประชากรรวมในป 2550 มีจํานวนท้ังส้ิน 92,913 คน (ผูชาย 46,495 คน และ ผูหญิง 46,418 คน) จํานวนครัวเรือน 22,159 ครัวเรือน และมีจํานวนสถานศึกษา 2 แหง ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม

ตําบลเวียงคํา

ตําบลหัวนาคําครอบคลุมพื้นท่ี 102.72 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวย 18 หมูบาน ประชากรรวมในป 2550 มีจํานวนท้ังส้ิน 10,008 คน (ผูชาย 5,035 คน และ ผูหญิง 4,973 คน). จํานวนครัวเรือน 2,561. ครัวเรือน และมีจํานวนโรงเรียนประถม 1 โรง และโรงเรียนมัธยมศึกษา 9 โรง ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม

ตําบลแชแล

ตําบลเวียงคําครอบคลุมพื้นท่ี 68.68 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวย 14 หมูบาน ประชากรรวมในป 2549 มีจํานวนท้ังส้ิน 8,261 คน (ผูชาย 4,181 คน และ ผูหญิง 4,080 คน). จํานวนครัวเรือน2,504 ครัวเรือน และมีจํานวนโรงเรียนประถม 7 โรง และโรงเรียนมัธยมศึกษา 1 โรง ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 55

E3.5 23สภาพทางสังคม-เศรษฐกิจ

จากการสํารวจสภาพเศรษฐกิจสังคมในภาคสนาม โดยการใชแบบสอบถามสัมภาษณครัวเรือนจาก 5 ตําบล (ตําบลตาดทอง และ จําป ในอําเภอศรีธาตุ ตําบลเวียงคํา ในอําเภอกุมภวาป และ คอนสาย และ บานจีด ในอําเภอกูแกว จังหวัดอุดรธานี) เพื่อเก็บรวบรวมขอมูลพื้นฐานและทัศนคติของประชาชนที่มีตอโครงการ สามารถสรุปผลการศึกษาไดดังนี้

สภาพเศรษฐกจิ-สังคมของครัวเรือน

โดยท่ัวไปแลว ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญประกอบอาชีพทําไร (รอยละ 37.87) รองลงมาคือ รับจาง (รอยละ 26.91) และทํานา (รอยละ 13.95) ในขณะท่ีไมมีงานทําหรือไมไดทํางาน รอยละ 2.33 และรอยละ 56.15 ของครัวเรือนผูตอบแบบสอบถามไมมีอาชีพเสริม

รายไดเฉลี่ยของครัวเรือนผูตอบแบบสอบถามสวนใหญนอยกวา 50,000 บาทตอป (รอยละ 46.51) รองลงมาคือ มีรายได 50,001–100,000 บาทตอป (รอยละ 32.56) และ 100,001-150,000 บาทตอป (รอยละ 11.96) ตามลําดับ สถานภาพทางเศรษฐกิจของครัวเรือนโดยท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม พบวาครัวเรือนสวนใหญ (รอยละ 54.49) มีรายไดไมเพียงพอกับรายจาย ในขณะท่ีรอยละ 37.21 ของครัวเรือนผูตอบแบบสอบถามมีรายไดพอใชแตไมเหลือเก็บ และผูตอบแบบสอบถามรอยละ 8.31 มีรายไดเพียงพอและเหลือเก็บ

สภาพสิ่งแวดลอม สาธารณปูโภค และสุขอนามัย

จากการสํารวจพบวา ผูตอบแบบสอบถามท้ังหมด (รอยละ 98.67) ไมเคยพบเห็นสัตวหายากหรือใกลสูญพันธุบริเวณพื้นท่ีศึกษา

สําหรับการใชน้ํา พบวาแหลงน้ําดื่มของครัวเรือนสวนใหญเปนน้ําฝน (รอยละ 88.37) โดย ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ (รอยละ 70.10) ไมไดทําใหน้ําสะอาดกอนดื่ม และผูตอบแบบสอบถามบางสวนมวิีธีการทําใหน้ําสะอาดกอนดื่มโดยการกรอง (รอยละ 74.44) และการตม (รอยละ 25.56)

แหลงน้ําใชในครัวเรือนผูตอบแบบสอบถามสวนมาก คือ น้ําประปา (รอยละ 86.05) บอบาดาล (รอยละ 8.31) และ บอน้ําตื้น (รอยละ 3.65)

ผูตอบแบบสอบถามรอยละ 97.34 ไมไดบําบัดน้ําเสียจากการซักลาง ขณะท่ีผูตอบแบบสอบถามรอยละ 1.00 ระบายน้ําเสียจากการซักลางลงทอน้ําท้ิงสาธารณะ ผูตอบแบบสอบถามรอยละ 63.46 ระบายน้ําจากหองสวมลงบอเกรอะ สวนการกําจัดน้ําเสียจากหองครัว ผูตอบแบบสอบถามสวนมาก (รอยละ 96.35) ไมมีการบําบัดน้ําเสียจากหองครัว และมีเพียงรอยละ 1.00 ท่ีระบายลงบอดักไขมัน และระบายลงทอน้ําท้ิงสาธารณะในอัตราสวนท่ีเทากัน

การจัดการของเสียในพื้นท่ีโครงการ พบวาครัวเรือนของผูตอบแบบสอบถามเกือบท้ังหมดจัดการขยะโดยการเผา (รอยละ 91.36)

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 56

ดานสุขภาพอนามัย ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ (รอยละ 39.53) เจ็บปวยเฉลี่ย 1-2 ครั้งตอป ในขณะที่รอยละ 24.92 ไมเจ็บปวยเลยในรอบปท่ีผานมา โดยสาเหตุของการเจ็บปวยอันดับแรก คือ โรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจหรือไขหวัด (รอยละ 49.17) รองลงมาคือ โรคเกี่ยวกับระบบกลามเนื้อ (รอยละ 17.28) และโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร (รอยละ 9.30) ตามลําดับ ท้ังนี้ผูตอบแบบสอบถามรอยละ 59.80 ไปรักษาอาการเจ็บปวยท่ีโรงพยาบาลรัฐ ในขณะที่ผูตอบแบบสอบถามรอยละ 26.58 รักษาอาการปวยท่ีสถานีอนามัย

การใชประโยชนที่ดิน

ผูตอบแบบสอบถามสวนมาก (รอยละ 97.01) ไมไดใชประโยชนจากท่ีดินบริเวณโครงการ มเีพยีงรอยละ 2.99 เทานั้นท่ีใชประโยชนท่ีดินบริเวณโครงการเพื่อทํากิน ผูตอบแบบสอบถามสวนมาก (รอยละ 94.02) คิดวาการดําเนินโครงการจะไมกอใหเกิดผลกระทบตอการเกษตร มีผูตอบแบบสอบถามรอยละ 9.97 ระบุวาเคยไดรับคาชดเชยจากโครงการสํารวจปโตรเลียมท่ีผานมา ในจํานวนนี้รอยละ 66.67 พึงพอใจกับคาชดเชยท่ีเคยไดรับ ผูตอบแบบสอบถามเกือบท้ังหมด (รอยละ 98.34) ไมมีปญหากับโครงการท่ีผานมา

E3.5.1 สาธารณสุขและสุขาภิบาล

ขอมูลสุขภาพอนามัยของชุมชนจะเนนท่ีจํานวนสถานพยาบาลและบุคลการทางการแพทยในบริเวณพื้นท่ีศึกษารอบโครงการและขอมูลผูปวยนอกในอําเภอและตําบลท่ีเกี่ยวของเปนขอมูลพื้นฐานในการติดตามประเมินผลกระทบดานสุขภาพอนามัยของชุมชนกอนดําเนินโครงการ.

E3.5.1.1 95สถานบริการสาธารณสุข

การสาธารณสุข จังหวัดอุดรธานี มีโรงพยาบาลรัฐ 4 แหง รวมจํานวนโรงพยาบาลชุมชน18 แหง และมีมีสถานีอนามัยกระจายอยูทุกตําบล จํานวน 209 สถานีอนามัย จํานวนเตียงคนไขรวม 1,897 เตียง นอกจากนี้ยังมีโรงพยาบาลเอกชน จํานวน 5โรง ซึ่งมีจํานวนเตียงคนไขรวม 460 เตียง

บุคลากรทางการแพทยในจังหวัดอุดรธานีรวม 3,319 คน แพทย 321 คน ทันตแพทย 69 คน เภสัชกร 141 คน พยาบาลวิชาชีพ 1,499 คน พยาบาลเทคนิค 187 คน เจาหนาท่ีสาธารณสุข 1,002 คน

E3.5.1.2 สถิติทางสาธารณสุข

สถิติทางสาธารณสุข มาจากสาธารณสุขจังหวัด อําเภอ และ ตําบลท่ีเกี่ยวของในรัศมี 5 กิโลเมตรจากโครงการ ตามรายงานผูปวยนอก504 ในป 2550 โรคท่ีพบไดท่ัวไปในบริเวณอําเภอและตําบลในพ้ืนท่ีโครงการไดแก โรคที่เกิดจากระบบทางเดินหายใจ โรคระบบทางเดินอาหาร และอาการผิดปกติท่ีไมสามารถจําแนกเปนโรคประเภทอื่นๆได ซึ่งโรคท่ีเกิดจากระบบทางเดินหายใจเปนโรคท่ีพบไดท่ัวไป สาเหตุการตายท่ีพบในอําเภอในพื้นท่ีโครงการ คือ มะเร็งและเนื้องอก โรคติดเช้ือ และสาเหตุอื่นๆ

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 57

E3.5.2 โบราณคดี

พื้นท่ีตั้งโครงการตั้งอยูใน อําเภอกูแกว อําเภอศรีธาตุ และอําเภอกุมภวาป จังหวัดอุดรธานี หลักฐานทางโบราณคดีท่ีคนพบแสดงถึงรองรอยการอยูอาศัยของประชาชนในพื้นท่ีดังกลาวในอดีต

การศึกษาและสํารวจทางโบราณคดีทําโดยการวาจางนักโบราณคดี ดร. ประสิทธ์ิ เอื้อตระกูลวิทย เปนผุศึกษาสํารวจทางโบราณคดี

การศึกษาโบราณคดีนั้นใช 2 วิธี กลาวคือ (1) ในรัศมี 2 กิโลเมตรจากท่ีตั้งโครงการใชการสํารวจภาคสนาม และ (2) ศึกษาขอมูลทุติยภูมิในการศึกษาประกอบในรัศมี 2 ถึง 5 กิโลเมตรจากพื้นท่ีโครงการใชขอมูลทุติยภูมิจากรายงานการศึกษาเพื่อการประเมินผลการศึกษาทางโบราณคดีในพื้นท่ีดังกลาว

ผลการศึกษาทางโบราณคดีพบวา ไมพบโบราณคดี เเละสถานท่ีสําคัญทางประวัติศาสตรท่ีสําคัญอยูในรัศมี 1 กิโลเมตรจากพื้นท่ีโครงการ แตพบวัดอยูในบริเวณพ้ืนท่ีศึกษาในรัศมี 5 กิโลเมตร ขณะนี้บริษัทท่ีปรึกษา ไออีเอ็มไดสงผลการสํารวจภาคสนามทางโบราณคดีในพื้นท่ีโครงการ รวมท้ังรายงานการประเมินผลกระทบไปยัง สํานักศิลปากรท่ี 9 ขอนแกน เพื่อขอความความคิดเห็น

สํานักศิลปากรท่ี 9 ขอนแกนไดตรวจสอบเบื้องตนแลว ไมพบโบราณสถานปรากฎบนผิวดินในระยะ 1 กิโลเมตร แตมีโบราณสถานประเภทแหลงใบเสมาขนาดเล็ก ท่ีวัดปาศรีชนช่ืนรัตนารามอยูในระยะ 1.3 กิโลเมตร จากหลุมเจาะ จึงไมนาจะมีผลกระทบตอโบราณสถาน แตตองดําเนินการดวยความระมัดระวัง ในกรณีท่ีขุดพบโบราณวัตถุหรือสวนใดของโบราณสถานตองหยุดดําเนินการทันที และแจงใหสํานักศิลปากรท่ี 9 ขอนแกนทราบเพื่อจักไดรวมกันหาทางดําเนินงานท่ีเหมาะสมตอไป

E3.5.3 สถานที่ทองเที่ยว

พื้นท่ีโครงการโดยสวนใหญตั้งอยูในเขตตําบลคอนสาย อําเภอกูแกว ตําบลตาดทอง อําเภอศรธีต ุและ ตําบลเวียงคํา อําเภอกุมภวาป จังหวัดอุดรธานี ซึ่งไมพบสถานท่ีทองเท่ียวอยูในบริเวณดังกลาว แตพบสถานที่ทองเที่ยวใกลเคียงอยูในบริเวณอําเภอกุมภวาป จํานวน 2 แหงคือ พระธาตุดอนแกว และ บานเดียม โฮมสเตย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 58

E4 การมีสวนรวมของประชาชน

E4.1 บทนํา

การมีสวนรวมของประชาชนเปนสวนประกอบท่ีสําคัญสวนหน่ึงในรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ซึ่งมีวัตถุประสงคหลัก คือ การสรางความเขาใจเกี่ยวกับโครงการใหแกประชาชน โดยการใหและแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางเจาของโครงการและชุมชนซึ่งอาจไดรับผลกระทบโดยทางตรงหรือทางออมจากกิจกรรมโครงการ

อพิโก ไดดําเนินแผนการมีสวนรวมของประชาชนสําหรับการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 แหลงศรีธาตุ ซึ่งแผนการดําเนินงาน ประกอบดวย

1. การสํารวจทัศนคติในตําบลตาดทอง ตําบลจําป อําเภอศรีธาตุ ตําบลเวียงคํา ตําบลแชแล อําเภอหวยเม็ก และตําบลคอนสาย ตําบลบานจีต อําเภอกูแกว จังหวัดอุดรธานีซึ่งอยูในรัศมี 5 กิโลเมตรรอบพื้นท่ีโครงการ

2. การประชุมกลุมยอยกับหนวยงานราชการระดับอําเภอในพื้นท่ี นักวิชาการในจังหวัด และผูนําชุมชนรวมทั้งประชาชนท่ีอยูภายในรัศมี 5 กิโลเมตรจากโครงการ โดยจัดการประชุมท้ังหมด 2 ครั้ง ครั้งแรกจัดประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอรางขอเสนอโครงการ และครั้งท่ี 2 เพื่อรับฟงความคิดเห็นตอรางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการ

การดําเนินการดานการมีสวนรวมของประชาชนของโครงการไดปฏิบัติตามแนวทางการดําเนินงานเรื่องการมีสวนรวมของประชาชนและการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคมในการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

1. การสํารวจทัศนคติ

ผลการสํารวจทัศนคติพบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีความเห็นวาโครงการจะไมกอใหเกิดผลกระทบตอทรัพยากรทางกายภาพทุกประเด็น บางสวนมีความเห็นวาโครงการจะสงผลกระทบทางลบในระดับพอใชตอคุณภาพน้ําผิวดิน (20.60%) คุณภาพน้ําใตดิน (21.59%) และคุณภาพเสียง (23.92%) และบางสวนมีความเห็นวาโครงการจะสงผลกระทบทางลบในระดับพอใช และรุนแรง ตอคุณภาพน้ําผิวดิน (19.60%, 10.30%) และตอคุณภาพอากาศ (24.92%, 18.27%)

ในสวนของทรัพยากรทางชีวภาพ ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีความเห็นวาโครงการจะไมกอใหเกิดผลกระทบตอทรัพยากรทางชีวภาพทุกประเด็น บางสวนมีความเห็นวาโครงการจะสงผลกระทบทางลบในระดับพอใชตอพื้นท่ีเกษตรกรรม (22.59%)

คุณคาการใชประโยชนของมนุษย ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีความเห็นวาโครงการจะไมกอใหเกิดผลกระทบตอคุณคาการใชประโยชนของมนุษยในทุกประเด็น บางสวนมีความเห็นวาโครงการจะสงผลกระทบทางลบในระดับพอใชตอการปลูกพืชในทองถ่ิน (21.59%) และบางสวนมีความเห็นวาโครงการจะ

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 59

สงผลกระทบทางบวกในระดับเกือบดี และดี ตอการคมนาคมในทองถ่ิน (22.92%, 21.59%) และสงผลกระทบทางบวกในระดับเกือบดี ดี และดีมาก ตอราคาท่ีดินในทองถ่ิน (19.93%, 30.90%, 5.65%) และสงผลกระทบทางบวกในระดับดี และดีมาก ตอเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ (33.55%, 17.94%)

ผลกระทบตอคุณคาคุณภาพชีวิต ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ มีความเห็นวาโครงการไมกอใหเกิดผลกระทบตอคุณคาคุณภาพชีวิตในทุกประเด็น บางสวนมีความเห็นวาโครงการจะกอใหเกิดผลกระทบดานลบในระดับพอใชตอความปลอดภัย (20.27%) และสงผลกระทบทางลบในระดับพอใช และรุนแรง ตอสุขภาพอนามัยทางกาย (28.90%, 13.29%) และสุขภาพอนามัยทางจิตใจ (30.23, 10.30%) และบางสวนมีความเห็นวาโครงการจะกอใหเกิดผลกระทบทางบวกในระดับ เกือบดี ดี และดีมาก ตออาชีพและการจางงาน (24.92%, 32.23%, 5.65%) และรายได (24.58%, 31.56%, 6.31%)

2. การประชุมกลุมยอย

โครงการไดจัดการประชุมท้ังหมด 2 ครั้ง ครั้งแรกจัดประชุมเพื่อรับฟงเพื่อรับฟงความคิดเห็นเกี่ยวกับรางขอเสนอโครงการและประเด็นผลกระทบท่ีควรศึกษาเพิ่มเติม และครั้งท่ี 2 เพื่อรับฟงความคิดเห็นตอรางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการ

• ครั้งท่ี 1 ดําเนินการระหวางวันท่ี 15-16 พฤษภาคม 2551

• ครั้งท่ี 2 ดําเนินการระหวางวันท่ี 5-6 มิถุนายน 2551

โดยสรุปแลว ประเด็นขอกังวลของผูเขารวมประชุมแบงออกเปน 6 ประการ คือ ผลกระทบตอพื้นท่ีเกษตรกรรม ผลกระทบจากการคมนาคมขนสงของโครงการ ผลกระทบจากการปนเปอนของโคลนขุดเจาะตอนํ้าใตดิน การใชน้ําของโครงการ การบําบัด/กําจัดน้ําท่ีปนเปอนและโคลนขุดเจาะท่ีเส่ือมสภาพ และผลกระทบจากการหกรั่วไหลของสารเคมี ซึ่งประเด็นขอวิตกกังวล คําช้ีแจง และมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบ ไดสรุปไวในตารางที่ E4-1

ตารางที ่E 4-1: สรุปขอวิตกกังวล คําชี้แจง และมาตรการที่บรษิัทกําหนดเพ่ือรองรบัขอกังวล

ขอกังวล คําชี้แจง มาตรการทีบ่รษัิทกําหนดเพื่อรองรับขอกังวล 1. พ้ืนที่เกษตรกรรมจะไดรับความเสียหายจากการดําเนินโครงการหรือไม

บ ริ เ ว ณ พ้ื น ที่ โ ค ร ง ก า ร เ ป น พ้ื น ที่เกษตรกรรมท้ังหมด บริษัทจะทําการสํารวจวาพ้ืนที่ที่อยูในโครงการเปนพ้ืนที่ของใคร และจะทําการเชาพ้ืนที่ ซึ่งถาพ้ืนที่นั้นมีผลผลิตทางการเกษตรอยู ก็จะทําการชดเชยราคาผลผลิตที่ตองสูญเสียใหแกเจาของพ้ืนที่

• การชดเชยผลผลิตทางการเกษตร

2. การคมนาคมขนสงของโ ค ร งก า ร จ ะ เ กิ ดคว ามเสียหายหรือเกิดผลกระทบตอชุมชนหรือไม และถามี

การขนสงอาจสงผลกระทบโดยจะทําใหมีการจราจรในพ้ืนที่เพ่ิมข้ึนเล็กนอย แตก็จะมีการระมัดระวังในการใชถนน มีการควบคุมความเร็วในเขตพื้นที่ชุมชน ใน

• การจํากัดความเร็วไมเกิน 30 กิโลเมตรตอชั่วโมงในชวงสัญจรผานชมุชน และถนนดินลูกรัง

• การฉีดพรมน้ําบนถนนดินลูกรัง

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 60

ขอกังวล คําชี้แจง มาตรการทีบ่รษัิทกําหนดเพื่อรองรับขอกังวล

ความเ สียหายหรื อ เ กิดผลกระทบขึ้ น ชาวบานส า ม า ร ถ ร อ ง เ รี ย น ห าผูรับผิดชอบไดอยางไร

สวนพ้ืนถนนที่ไมไดลาดยางก็จะมีการพรมน้ําเพ่ือปองกันฝุนละออง และถาเ กิดผลกระทบกับ ชุมชน ชาวบ านสามารถมารองเรียนกับทางบริษัทไดทันที และหากบริษัทตรวจสอบพบวาความเสียหาย หรือผลกระทบที่เกิดข้ึนเ กิดจากความผิ ดพลาดหรื อความบกพรองของบริษัท ทางบริษัทก็จะรีบดําเนินการซอมแซมถนนที่เสียหายใหทันที

• จัดต้ังศูนยรับเรือ่งรองเรยีน

3. น้ําโคลนที่ใชหากมีการรั่วไหล จะสงผลกระทบตอน้ําใตดินมากนอยเพียงใด

โครงการเลือกใชโคลนขุดเจาะท่ีมีน้ําเปนองคปนะกอบหลัก (WBM) ซึ่งไมถือวาเปนสารอันตราย อยางไรก็ตามจะมีการปองกันไมใหโคลนขุดเจาะร่ัวไหลออกสูภายนอกพ้ืนที่โครงการอยางเด็ดขาด โดยมีการสรางบอเก็บโคลนขุดเจาะและเศษหินอยางมิดชิด และรวบรวมนําไปกําจัดที่โรงปูนซีเมนต การขุดเจาะในชวงแรกจะใชน้ําจืดเปนของเหลวในการขุดเจาะ สวนชวงลึกลงไปจะใชน้ําโคลน ซึ่งบริษัทจะทําการตรวจสอบชั้นความลึกของหลุมอยูตลอดเพ่ือปองกันการรั่วซึมของน้ําโคลนสูชั้นหินหรือน้ําใตดิน และมีการใสทอกรุทุกชวงที่ทําการขุดเจาะลงไป

• ใชโคลนขุดเจาะที่มีน้ําเปนองคประกอบหลัก (WBM) ซึ่งไมถือวาเปนสารอันตราย

• สรางบอเก็บโคลนขุดเจาะและเศษหินจากการขุดเจาะ และปูพ้ืนดวยวัสดุกันซึม เพ่ือปองกันการร่ัวซึม

• ใสทอกรุทุกๆ ชวงที่ทําการขุดลงไป

4. การใชน้ําของโครงการ โดยเฉพาะน้ํากินน้ําใช จะสงผลกระทบตอประชาชนหรือไม

โครงการจะซ้ือน้ําบริโภคจากภายนอก สวนน้ําในการขุดเจาะจะมาจากบอน้ําที่ทางโครงการกักเก็บไว ซึ่งคาดวาจะตองใชน้ําประมาณ 1,590 ลูกบาศกเมตร ในระหวางการขุดเจาะ โดยจะใชน้ําจากอางเก็บน้ําหนองมวง ทั้งนี้บริ ษัทอยูระหวางการดําเนินการขออนุญาตใชน้ําจากองคการบริหารสวนตําบลในพ้ืนที่

• ทําการซื้อน้ําจากผูจําหนายในพ้ืนที่

• สรางบอเก็บน้ําเพ่ือใชภายในโครงการ

• บริษัทจะทําการขออนุญาตใชน้ําจากองคการบริหารสวนตําบลในพ้ืนที ่

5. โครงการมีการบําบัด หรือกําจัดน้ํ าที่ปนเปอน และโคลนขุดเจาะหรือไม

สําหรับน้ํ าที่ปนเป อน โครงการจะมีกระบวนการบําบัด หากสามารถนํากลับมาใชใหมไดก็จะนํามาใช สําหรับน้ําโคลนที่เส่ือมสภาพ โครงการจะทําการปรับสภาพเพ่ือนํามาใชใหม แตหากไม

• สรางบอบําบัดน้ําเพ่ือนํากลับมาใชใหม

• ทําการปรับสภาพโคลนเพ่ือนํามาใชใหม

• หากไมสามารถบําบัดหรือปรับสภาพได จะรวบรวมไปกําจัดดวยการเผาที่โรงงานปูนซีเมนต

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 61

ขอกังวล คําชี้แจง มาตรการทีบ่รษัิทกําหนดเพื่อรองรับขอกังวล

สามารถนํามาใชได ก็จะขนไปกําจัดที่โรงงานปูนซีเมนต

6. สารเคมีที่ใชหากหกรั่วไหลจะสงผลกระทบตอชุมชนอยางไร และหากเกิดผลกระทบแลว บริษัทจะรับผิดชอบอยางไร

สารเคมีที่ ใช ในโครงการเปนสารที่มีอันตรายตํ่า โดยสารที่มีความรุนแรงที่สุดคือ โซดาไฟ โดยอาจทําให เ กิดการระคายเคืองเมื่อรับสัมผัส อยางไรก็ตามสารเคมีทุกชนิดจะเก็บไว ในสถานที่มิดชิด และเก็บไวในปริมาณเทาที่จําเปนเทานั้น และหากมีการรองเรียนจากชุมชนวาเกิดการเจ็บปวยจากการรับสัมผัสสารเคมีของโครงการ โดยพิสูจนแลววาเปนผลกระทบจากทางโครงการจริง บริษัทยินดีที่จะรับผิดชอบดานการรักษาพยาบาลทั้งหมด

• สรางสถานที่เก็บสารเคมีใหมิดชิด

• จัดเตรียมอุปกรณทําความสะอาดสารเคมีที่หกรั่วไหล

• จัดต้ังศูนยรับเรือ่งรองเรยีน

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 62

E5 การประเมินผลกระทบ

E5.1 การกลั่นกรองผลกระทบ

เพื่อใหการวิเคราะหกิจกรรมโครงการและผลกระทบของกิจกรรมดังกลาวท่ีอาจเกิดขึ้นตอสิ่งแวดลอมอยางเปนระบบ จึงใชวิธีทําเมตริกซสรุป เพื่อใหทราบถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น รายละเอียดของกิจกรรมโครงการและประเด็นดานสิ่งแวดลอมจะไดมาดวยวิธีการดังตอไปน้ี

• ปรึกษาหารือกับ อพิโก แอล แอล ซี

• ใชแนวทางการสํารวจน้ํามันและกาซบนบก ของประเทศไทย (PTIT, 2001)

• ใชแนวทางการประเมินผลกระทบดานสุขภาพอนามัย ของประเทศไทย (สผ, 2544)

• ใชรายการตรวจสอบโครงการพัฒนาน้ํามันและกาซบนบก ของธนาคารโลก

• ประสบการณของบริษัทท่ีปรึกษาจากโครงการที่มีลักษณะคลายกัน

E5.2 สรุปการประเมินผลกระทบ

ตารางที่ E5-1 สรุปผลกระทบท้ังหมดท่ีอาจเกิดขึ้นจากการกิจกรรมดําเนินโครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมในแปลงสํารวจหมายเลข L13/48

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 63

ตารางที ่E 5-1: สรุปผลกระทบที่คาดวาจะเกิดข้ึน

ปจจัยทางส่ิงแวดลอม

ขั้นตอนและกิจกรรมของโครงการ

ผลกระทบท่ีสําคัญ ระดับนัยสําคัญของ

ผลกระทบ

ทรัพยากรทางกายภาพ

• การกอสราง • การเส่ือมโทรมของคุณภาพอากาศเน่ืองจากการปลอยมลสารทางอากาศจากการเผาไหม และฝุนละอองที่ฟุงกระจายจากรถบรรทุก

• ต่ํา คุณภาพอากาศและภูมิอากาศ

• การขุดเจาะและทดสอบหลุม • มลสารจากการเผาไหมจากเคร่ืองกําเนิดไฟฟา

• มลสารที่เล็ดลอดออกมาระหวางการขนสงและขนถาย

• ต่ํา

• ปานกลาง

• การกอสราง • เสียงจากเคร่ืองจักรที่ใชในการกอสราง

• ต่ํา เสียงและแสง

• การขุดเจาะและทดสอบหลุม • เสียงจากแทนขุดเจาะและเครื่องกําเนิดไฟฟา

• ต่ํา

แสงและความรอน • การขุดเจาะและทดสอบหลุม • แสงรบกวนที่เพิ่มข้ึนในระหวางการทํางานเวลากลางคืน

• รังสีความรอนจากการเผากาซ

• ต่ํา

• ปานกลาง

• การกอสราง • การรบกวนดิน

• การชะลางพังทลายดิน

• การปนเปอนจากอุบัติเหตุการร่ัวไหล

• ต่ํา

• ต่ํา – ปานกลางฃ

• ต่ํา

ดิน

• การขุดเจาะและทดสอบหลุม • การชะลางพังทลายดิน

• การปนเปอนจากอุบัติเหตุการร่ัวไหล เศษดินและหิน ของเสียอันตรายและของเสียไมอันตราย

• ต่ํา

• ปานกลาง

อุทกวิทยานํ้าผิวดิน • การกอสราง • ปริมาณนํ้าไหลบาเพิ่มข้ึนจากการแผวถางพืช

• ต่ํา

• การกอสราง • ปริมาณนํ้าไหลบาเพิ่มข้ึนจากการรบกวนดิน

• การปนเปอนจากอุบัติเหตุการร่ัวไหล

• ต่ํา

• ต่ํา

คุณภาพนํ้าผิวดิน

• การขุดเจาะและทดสอบหลุม • การปนเปอนจากนํ้าไหลบา

• การปนเปอนจากอุบัติเหตุการร่ัวไหลของเชื้อเพลงิ และเศษ

• ต่ํา

• ปานกลาง

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 64

ปจจัยทางส่ิงแวดลอม

ขั้นตอนและกิจกรรมของโครงการ

ผลกระทบท่ีสําคัญ ระดับนัยสําคัญของ

ผลกระทบ

หินและโคลนจากการขุดเจาะ นํ้าเสีย ของเสียอันตรายและของเสียไมอันตราย

• การกอสราง • การปนเปอนจากอุบัติเหตุการร่ัวไหล

• ต่ํา คุณภาพนํ้าใตดิน

• การขุดเจาะและทดสอบหลุม • การปนเปอนจากอุบัติเหตุการร่ัวไหลของเชื้อเพลงิและสารเคมี นํ้าเสีย การสูญเสียโคลนขุดเจาะในชั้นหิน ของเสียอันตรายและของเสียไมอันตราย

• ปานกลาง

ทรัพยากรทางชีวภาพ

• การกอสราง • เกิดความเปนพิษจากอุบัติเหตุการร่ัวไหล

• การสูญเสียถ่ินอาศัยเน่ืองจากการแผวถางพืชและเปดหนาดิน

• การรบกวนทางกายภาพ

• กิจกรรมของมนุษยและเสียง

• ต่ํา - ปานกลาง พืชบกและสัตวบก

• การขุดเจาะและทดสอบหลุม • เกิดความเปนพิษจากอุบัติเหตุการร่ัวไหลของเชื้อเพลิง สารเคมี และโคลนขุดเจาะ

• กิจกรรมของมนุษย เสียง แสง และการเผากาซ

• ต่ํา – ปานกลาง

พืชนํ้าและสัตวนํ้า • การกอสราง • เกิดความเปนพิษ นํ้าผิวดินขาดออกซิเจน เน่ืองจากการปนเปอนจากอุบัติเหตุการร่ัวไหล การเกิดยูโทรฟเคช่ัน

• ต่ํา

• การขุดเจาะและทดสอบหลุม • เกิดความเปนพิษเน่ืองจากการการปนเปอนจากอุบัติเหตุการร่ัวไหลของเชื้อเพลงิ สารเคมี เศษหินและโคลนจากการขุดเจาะ

• ปานกลาง

คุณคาการใชประโยชนของมนุษย

การใชประโยชนที่ดิน

• การกอสราง

• การขุดเจาะและทดสอบหลุม

• การสูญเสียพื้นที่เกษตรกรรม • ต่ํา

การขนสง • การกอสราง

• การขุดเจาะและทดสอบหลุม

• เพิ่มปริมาณการจราจร

• การจราจรติดขัด

• เกิดการจราจรแบบคอขวด

• ต่ํา – ปานกลาง

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 65

ปจจัยทางส่ิงแวดลอม

ขั้นตอนและกิจกรรมของโครงการ

ผลกระทบท่ีสําคัญ ระดับนัยสําคัญของ

ผลกระทบ

นํ้าใช • การกอสราง

• การขุดเจาะและทดสอบหลุม

• การใชนํ้าของโครงการไปจํากัดการใชนํ้าของผูใชนํ้ารายอื่น

• ต่ํา

การจัดการของเสีย • การขุดเจาะและทดสอบหลุม • การกําจัดของเสีย • ปานกลาง คุณคาตอคุณภาพชีวิต

สภาพ เศ รษฐกิ จ -สังคม

• การกอสราง

• การขุดเจาะและทดสอบหลุม

• เพิ่มการจางงานและรายได

• การผลิตในอนาคตสงผลตอการกระจายคาภาคหลวง

• ผลประโยชนเล็กนอย

• มีโอกาสเกิดผลประโยชนในอนาคต

วัฒนธรรม/แหลงโบราณคดี

• การกอสราง

• การขุดเจาะ

• เกิดความเสียหายตอโบราณวัตถุหรือแหลงโบราณคดี

• เกิดเสียงรบกวนตอวัดและรบกวนกิจกรรมของชุมชน

• ต่ํา – ปานกลาง

สุขภาพ

สุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของชุมชน

• การกอสราง

• การขุดเจาะและทดสอบหลุม

• เพิ่มโอกาสการเกิดโรคติดตอ

• การเขาใชพื้นที่

• ปานกลาง

สุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของพนักงาน

• การกอสราง

• การขุดเจาะและทดสอบหลุม

• อุบัติเหตุหรือการบาดเจ็บ

• การสัมผัสกับฝุน เสียง สารเคมีจากการขุดเจาะ และของเสีย

• สถานพยาบาล

• ต่ํา

• ต่ํา – ปานกลาง

• ต่ํา สุขภาพจิต • การกอสราง

• การขุดเจาะและทดสอบหลุม

• ความเครียด • ปานกลาง

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 66

E6 การประเมินความเส่ียง

E6.1 สรุปความเสี่ยงโดยรวม

จากการประเมินความเสี่ยงทางสิ่งแวดลอม พบวาความเส่ียงท่ีสําคัญท่ีมีโอกาสเกิดขึ้นไดแก

การพลุง (โดยมีเพลิงไหมเกิดข้ึนดวย)

โอกาสท่ีจะเกิดการพลุงจากหลุมเจาะในระหวางการขุดเจาะมีโอกาสเกิดขึ้นไดนอยมาก อยางไรก็ตาม หากเกิดเหตุการณขึ้น จะมีความเสี่ยงอยางมีนัยสําคัญระดับปานกลางตอสุขภาพอนามัย และความปลอดภัยของพนักงานของ อพิโก และผูรับเหมาที่อยูในพื้นท่ีโครงการ ความเส่ียงจากเหตุการณนี้จัดวาอยูในระดับปานกลางตอส่ิงแวดลอม ช่ือเสียงบริษัท และสังคม

ผลกระทบโดยรวมที่เกิดขึ้นจากเหตุการณพลุง (โดยมีเพลิงไหมเกิดขึ้นดวย)อยูในระดับท่ีมีนัยสําคัญปานกลาง แตสามารถปองกันและแกไขได ดังนั้น อพิโก จึงจัดทําแผนการควบคุมหลุมเจาะ แผนการรับมือเหตุฉุกเฉินและวิกฤตการณ ซึ่งแผนการเหลานี้รวมถึงการจัดเตรียมติดตั้งระบบฉีดพนน้ําครอบคลุมปากหลุมเจาะ ระบบแยกของแข็ง ระบบโชค (Choke) และระบบปลองเผากาซ รวมถึงอุปกรณดับเพลิงจํานวนมากไวในพื้นท่ีโครงการ และการจัดการอบรมใหกับพนักงานท้ังหมด และประสานงานกับหนวยงานรับมือเหตุการณฉุกเฉินในพื้นท่ี

เพลิงไหมและการระเบิด (ที่ไมเกี่ยวของกับการพลุง)

โอกาสท่ีจะเกิดเพลิงไหมนั้นมีโอกาสเกิดขึ้นไดนอยมาก ความเส่ียงจากการเกิดเพลิงไหมและการระเบิด (ท่ีไมเกี่ยวของกับการพลุง)นั้นจัดอยูในระดับท่ีต่ําตอส่ิงแวดลอม ช่ือเสียงของบริษัท และสังคม แตอยางไรก็ตาม การเกิดเพลิงไหมจะสงผลกระทบทําใหเกิดการบาดเจ็บของพนักงานในพื้นท่ีโครงการ ดังนั้นผลกระทบตอสุขภาพอนามัย จึงจัดวามีระดับนัยสําคัญปานกลาง

แผนการรับมือเหตุการณฉุกเฉินและวิกฤตการณของอพิโกท่ีไดจัดตั้งขึ้นเพื่อบริหารจัดการ และเปนมาตรการลดความเสี่ยงท่ีจะเกิดเพลิงไหมและการระเบิด และยังชวยลดผลกระทบถาเพลิงไหมและการระเบิดเกิดขึ้น การจัดการเหตุการณกรณีท่ีเกิดเพลิงไหม อพิโกไดจัดใหมีอุปกรณดับเพลิงจํานวนมากไวในพื้นท่ี และพนักงานไดรับการฝกอบรมการใชงานในกรณีท่ีเกิดเหตุขึ้น ดังนั้นหากเกิดเพลิงไหมขึ้นจะสามารถควบคุมไดในเวลาอันรวดเร็ว

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 67

การรั่วไหลของสารเคมี ของเสียเส่ียงอันตราย และวัตถุเสี่ยงอันตราย

พื้นท่ีโครงการจะมีการเก็บสารเคมีและวัตถุเส่ียงอันตรายท่ีมีความเปนอันตรายต่ําไวเพียงเล็กนอย ดังนั้นโอกาสท่ีจะเกิดการรั่วไหลของสารเคมีมีโอกาสเกิดขึ้นไดนอยมาก มีเพียงสารเคมีบางจําพวกในปริมาณท่ีนอย และมีความเปนพิษต่ําท่ีจะเก็บไวในพื้นท่ีปฎิบัติงาน การประเมินความเสี่ยงจากการรั่วไหลของสารเคมี ของเสียเสี่ยงอันตราย และวัตถุเส่ียงอันตรายน้ันจัดอยูในระดับปานกลางตอสุขภาพอนามัย ระดับกลางตอช่ือเสียงของบริษัท และสังคมระดับต่ําตอส่ิงแวดลอม อยางไรก็ตาม ยังคงมีความเส่ียงตอสิ่งแวดลอม คุณภาพอากาศ คุณภาพน้ําใตดินและน้ําผิวดิน คุณภาพดิน พืชและสัตวหลงเหลืออยู นอกจากนั้นการร่ัวไหลของสารเคมีและวัตถุเส่ียงอันตรายทําใหพนักงานของอพิโกและผูรับเหมามีโอกาสจะไดรับสารนั้นเพิ่มขึ้น ซึ่งอาจสงผลตอสุขภาพได (ผูคน) กรณีนี้มีระดับความเสี่ยงปานกลาง แตปองกันและแกไขได

ขั้นตอนการปฏิบัติงานท่ีเหมาะสมตามขั้นตอนการปฏิบัติงานมาตรฐานของอพิโก และแผนการรับมือเหตุฉุกเฉินจะลดความเสี่ยงท่ีเกิดจากการรั่วไหลและผลกระทบหลังจากหกรั่วไหลเกิดขึ้น นอกจากนี้วัสดุและของเสียท้ังหมดจะถูกคัดแยกและจัดเก็บในท่ีปลอดภัย จัดเตรียมอุปกรณสําหรับการเก็บกวาดการรั่วไหลไวในพื้นท่ีโครงการ จัดการอบรมท่ีเหมาะสม รวมท้ังปฎิบัติตามแผนปฎิบัติงานดานความปลอดภัย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 68

E7 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

E7.1 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

จากการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม สามารถระบุผลกระทบที่มีนัยสําคัญท่ีอาจเกิดขึ้นไดจํานวนหน่ึง แมวาในบางกรณี ผลกระทบนั้นจะมีนัยสําคัญต่ํา แตก็ไดจัดเตรียมมาตรการลดผลกระทบไว โดยจัดเปนสวนหนึ่งของแนวทางการจัดการดานส่ิงแวดลอมของบริษัท อพิโก แอล แอล ซี ในบทนี้เปนการเสนอมาตรการลดผลกระทบเพื่อลดโอกาสของการเกิดผลกระทบ และ/หรือ เพื่อจํากัดขอบเขตของผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น นอกจากนี้จะนํามาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอมมาใช เพื่อประเมินประสิทธิผลของมาตรการลดผลกระทบและเพื่อใหเปนไปตามที่ไดกําหนดไวในรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม

สรุปมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม ท่ีกําหนดขึ้นตามการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม และขอเสนอแนะจากชุมชนผูมีสวนไดเสียท่ีไดรับมาระหวางการปรึกษาสาธารณะ ดังแสดงไวในตารางที่ E7-1 ถึง ตารางที่ E7-4 โดยแบงมาตรการออกเปน 4 ระยะ คือ ระยะการเตรียมพื้นท่ีโครงการ / ระยะการกอสราง (ตารางท่ี E7-1) ระยะดําเนินการขุดเจาะ (ตารางท่ี E7-2) ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ (ตารางที่ E7-3) และระยะดําเนินการสละหลุม (ตารางที่ E7-4)

E7.2 มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

แผนการติดตามตรวจสอบสภาพสิ่งแวดลอมภายนอกพื้นท่ีโครงการประกอบดวย 2 ประการ ประการแรกเปนการติดตามตรวจสอบผลกระทบของการระบายและการแพรกระจายมลสารตามท่ีไดวางแผนไว และประการที่สองเพื่อตอบสนองเหตุการณตางๆ ท่ีเกิดขึ้นโดยท่ีไมไดมีการวางแผนไว นอกจากนั้น โครงการจะเสนอมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอมไวในรายงานการดําเนินการ โดยแสดงการเปรียบเทียบสภาพกอนและหลังการดําเนนการ เชน รายงานอุบัติเหตุ/อุบัติการณ และการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ

สรุปมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมของโครงการ ดังแสดงไวในตารางที่ E7-6 ถึง ตารางที่ E7-8 โดยแบงมาตรติดตามตรวจสอบเปน 3 ระยะคือ ระยะการเตรียมพื้นท่ีโครงการ / ระยะการกอสราง (ตารางท่ี E7-6) ระยะดําเนินการขดุเจาะ (ตารางท่ี E7-7) และระยะดําเนินการสละหลุม (ตารางท่ี E7-8)

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 69

ตารางที ่E 7-1: มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม-ระยะการเตรยีมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางกายภาพ 1 คุณภาพอากาศ 1.1 คุณภาพอากาศเสื่อมลง

เนื่องจากฝุนละออง 1.1.1 ปรับสภาพผิวถนน และปรับปรุงถนนลูกรังซึ่งใชเปนเสนทางเขา

สูโครงการและเสนทางที่ใชในการขนสงของโครงการ ถนนลูกรังที่ใชเปนเสนทางเขาสูพื้นที่

โครงการซึ่งอยูใกลกับพื้นที่ออนไหว

ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

1.1.2 ฉีดพนละอองน้ําบนถนนที่ไมไดลาดยางในแนวเสนทางขนสงของโครงการเมื่อสภาพอากาศแหง อยางนอย วันละ 2 ครั้ง (เวลาเชาและบาย)

ถนนลูกรังที่ใชเปนเสนทางเขาสูพื้นที่

โครงการซึ่งอยูใกลกับพื้นที่ออนไหว

ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

1.1.3 ติดตั้งปายจํากัดความเร็วบนเสนทางการขนสงของโครงการ และจํากัดความเร็วของยานพาหนะบนถนนที่ไมไดลาดยางไวที่ 30 กม./ชม.

เสนทางการขนสงที่ใชในพื้นที่โครงการ

ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

1.1.4 ใชยานพาหนะที่ติดตั้งแผนกันฝุนที่ลอทั้ง 4 ขาง ยานพาหนะของโครงการทุกคัน

ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

1.1.5 ใชผาใบปกคลุมวัสดุกอสรางที่ขนสง ยานพาหนะของโครงการทุกคัน

ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

1.2 คุณภาพอากาศเสื่อมลงเนื่องจากการปลอยมลสารจากเครื่องยนตดีเซล

1.2.1 ตรวจสอบและบํารุงรักษาเครื่องจักร และยานพาหนะทัง้หมดตามที่ผูผลิตกําหนดไวอยางเหมาะสม และสม่ําเสมอ

เครื่องจักรและยานพาหนะทั้งหมด

ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 70

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

2 เสียง 2.1 ระดับเสียงที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากเครื่องจักรและเครื่องยนตที่ใชในระหวางการกอสรางพื้นที่โครงการ

2.1.1 ในกรณีที่มีการรองเรียนจากประชาชนในพื้นที่เรื่องเสียงรบกวน อพิโก ตองทําการตรวจวัดคาระดับเสียงรบกวนในพื้นที่ที่มีการรองเรียน ตามมาตรฐานการตรวจวัดที่ระบุไวในประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 29 (พ.ศ. 2550) เรื่องคาระดับเสียงรบกวน

พื้นที่โครงการ ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

2.1.2 ตรวจสอบการติดตั้งหมอพักไอเสีย/เก็บเสียง ของเครื่องยนตทั้งหมด

เครื่องจักรและยานพาหนะทั้งหมด

ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

2.1.3 ตรวจสอบและบํารุงรักษาเครื่องจักร และยานพาหนะทั้งหมดตามที่ผูผลิตกําหนดไวอยางเหมาะสม และสม่ําเสม

เครื่องจักรและยานพาหนะทั้งหมด

ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

3 ดิน 3.1 คุณภาพดินเสื่อมลงเนื่องจากการอัดตัว หรือการกัดเซาะ ในระหวางการกอสราง

3.1.1 กําหนดใหมีการบดอัดดินเฉพาะในบริเวณพื้นที่โครงการและถนนเขาสูพื้นที่โครงการ

พื้นที่โครงการ ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

3.1.2 สรางรองระบายน้ําและบอดักตะกอนโดยรอบพื้นที่โครงการเพื่อลดการกัดเซาะ

พื้นที่โครงการ ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 71

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

4.1.1 หลีกเลีย่งการกอสรางพื้นที่โครงการ และถนนเขาสูพื้นที่โครงการในบริเวณที่อาจกีดขวางเสนทางน้ํา

พื้นที่โครงการ ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี 4 คุณภาพน้ําผิวดิน 4.1 เพิ่มเสนทางการระบายของน้ําผิวดิน

4.1.2 หากหลีกเลี่ยงไมได จะตองสรางชองทางใหน้ําสามารถไหลผานไดตามธรรมชาติ

พื้นที่โครงการ ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

5 การกําจัดของเสียไมอันตราย และของเสียจากที่พักอาศัยและสํานักงาน

5.1 ของเสียจากที่พักอาศัยและสํานักงานอาจทําใหเกิดอันตรายจากเพลิงไหม หรือถูกลมพัดกระจาย หรือเปนสิ่งดึงดูดสัตวรําคาญ หรือเกิดการปนเปอนลงสูแหลงน้ําผิวดินและแหลงน้ําใตดิน รวมทั้งอาจเปนแหลงเพาะเชื้อโรคได

5.1.1 จัดใหมีหองสุขาแบบเคลื่อนยายไดและถังบําบัดไวสําหรับพนักงานของโครงการ

พื้นที่โครงการ ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

5.1.2 ตรวจสอบการบําบัดและกําจัดของเสียที่ดําเนินการโดยผูรับเหมาซึ่งไดรับอนุญาตอยางถูกตองตามกฎหมาย รวมทั้งจัดเก็บบันทึกเอกสารกํากับของเสียดวย

พื้นที่โครงการ ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

5.1.3 ปฏิบัติตามวิธีการรักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอย (Good Housekeeping) อยางเครงครัด

พื้นที่โครงการ ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 72

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

5.1.4 คัดแยกของเสียและรวบรวมจัดเก็บไวในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมและปลอดภัย รวมทั้งติดฉลากใหถูกตอง

พื้นที่โครงการ ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

5.1.5 กําจัดของเสียซึ่งมีการติดฉลากที่ภาชนะบรรจุอยางถูกตองไวแลวดวยวิธีการนํากลับมาใชใหม (recycle) หากสามารถทําได

พื้นที่โครงการ ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

5.1.6 หามเผาขยะทุกชนิดในพื้นที่โครงการ พื้นที่โครงการ ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางชีวภาพ 6 พืชบกและสัตวบก 6.1 การแผวถางพืชกอนเริ่ม

ดําเนินการกอสรางพื้นที่โครงการ

6.1.1 แผวถางพืชเฉพาะในบริเวณพื้นที่โครงการเทานั้น พื้นที่โครงการ ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

6.1.2 ทําเครื่องหมายแสดงขอบเขตพื้นที่โครงการใหชัดเจนและหามมิใหยานพาหนะของโครงการเขาไปในพื้นที่บริเวณขางเคียง

พื้นที่โครงการ ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

คุณคาการใชประโยชนของมนุษย 7 การใชประโยชนที่ดิน 7.1 การเปลี่ยนแปลงสภาพ

การใชที่ดิน 7.1.1 ตรวจสอบใหมั่นใจวาไดรับใบอนุญาตตางๆ อยางถูกตอง

ครบถวน พื้นที่โครงการ ระยะการเตรียม

พื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

7.1.2 แจงเรื่องสถานที่และระยะเวลาการดาํเนินการของโครงการใหเจาของที่ดินโดยรอบพื้นที่โครงการทราบ กอนการดําเนินกิจกรรมของโครงการลวงหนาเปนเวลา 2 สัปดาห

พื้นที่โครงการ ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 73

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

8 การขนสง 8.1 เกิดการรบกวนการจราจร

8.1.1 ติดตั้งปายจํากัดความเร็ว และตรวจสอบการปฏิบัติตามอยางเครงครัด (กําหนดตามกฎหมายการจราจรบนทางหลวงและพื้นที่ชุมชน คือ 30 กม./ชม. บนถนนที่ไมลาดยาง)

เสนทางการขนสง ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

8.1.2 แจงเรื่องสถานที่และระยะเวลาการดาํเนินการของโครงการใหเจาของที่ดินโดยรอบพื้นที่โครงการทราบ กอนการดําเนินกิจกรรมของโครงการลวงหนาเปนเวลา 2 สัปดาห

เสนทางการขนสง ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

8.1.3 แจงตํารวจใหชวยนําเสนทาง ในกรณีที่มีการขนสงโดยใชรถบรรทุกหนักขนาดใหญ

เสนทางการขนสง ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

8.1.4 ปรึกษาหนวยงานทองถิ่นซึ่งมีหนาที่รับผิดชอบดูแลกอนที่จะมีการขนสงหรือเคลื่อนยายครั้งสําคัญของโครงการ

เสนทางการขนสง ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

8.1.5 หลีกเลีย่งชวงเวลาที่มีการจราจรหนาแนน ระหวาง 07.30 น. ถึง 08.30 น. และ 15.30 น. ถึง 16.30 น. ในการขนสงวัสดุอุปกรณหรือเครื่องจักรขนาดใหญ

เสนทางการขนสง ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

8.1.6 ติดตั้งปายหรือธงเพื่อใหสัญญาณจราจร เสนทางการขนสง ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

8.1.7 ตรวจสอบขอรองเรียนและดําเนินการแกไขอยางเหมาะสม รวมทั้งจัดเก็บบันทึกขอรองเรียนและติดตามผลการดําเนินงาน

เสนทางการขนสง ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

8.2 เกิดความเสียหายตอถนน

8.2.1 ซอมแซมถนนที่เกิดความเสียหาย เสนทางการขนสง ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ /

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 74

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

ระยะการกอสราง คุณคาตอคุณภาพชีวิต 9 ความปลอดภัยและ

สุขภาพอนามัยของชุมชน

9.1 อุบัติเหตุจากยานพาหนะและเครื่องจักร

9.1.1 ติดตั้งปายจํากัดความเร็ว และตรวจสอบการปฏิบัติตามอยางเครงครัด (ตองปฏิบัติตามกฎหมายการจราจรบนทางหลวงและในพื้นที่ชุมชน บนถนนที่ไมลาดยาง จํากัดความเร็วไมเกิน 30 กม./ชม.)

เสนทางการขนสง ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

9.1.2 ตรวจสอบใหมั่นใจวาพนักงานขับรถไดรับการฝกอบรมและปฏิบัติตามกฎจราจร

เสนทางการขนสง ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

9.1.3 หลีกเลีย่งชวงเวลาที่มีการจราจรหนาแนน ระหวาง 07.30 น. ถึง 08.30 น. และ 15.30 น. ถึง 16.30 น. ในการขนสงวัสดุอุปกรณหรือเครื่องจักรขนาดใหญ

เสนทางการขนสง ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

9.1.4 ตรวจสอบและบํารุงรักษาเครื่องจักร และยานพาหนะทัง้หมดตามที่ผูผลิตกําหนดไวอยางเหมาะสม และสม่ําเสมอ

เครื่องจักรและยานพาหนะทั้งหมด

ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

9.1.5 ตรวจสอบใหมีการจัดอุปกรณปองกันภัยสวนบุคคลใหกับพนักงานตามที่กําหนดไวในแผนงานเพื่อความปลอดภยั

พื้นที่โครงการ ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

9.2 เพลิงไหม 9.2.1 จํากัดใหมีการสูบบุหรี่เฉพาะในบริเวณที่กําหนดไวเทานั้น พื้นที่โครงการ ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 75

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

9.2.2 หามมิใหบุคคลที่ไมมีสวนเกี่ยวของเขามาในบริเวณพื้นที่โครงการ

พื้นที่โครงการ ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

10 การมีสวนรวมของประชาชน

10.1 ชุมชนกับการมีสวนรวมในกิจกรรมของโครงการ

10.1.1 กอนเริ่มการดําเนินกิจกรรมของโครงการ ตองแจงใหประชาชน (ผูใหญบาน ตัวแทนชุมชน และผูนําชุมชน) ทราบลวงหนาเปนเวลา 2 สัปดาห โดยในที่ประชุมจะกลาวถึงความกาวหนาในการดําเนินงานของโครงการและขอเสนอแนะจากชุมชน ซึ่งผลสรุปจากที่ประชุมจะนําเสนอรวมไวในรายงานการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม

ชุมชนในพื้นที่โครงการ ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

10.1.2 ปฏิบัติตามแผนงานชุมชนสัมพันธของ อพิโก แอล แอล ซีเพื่อใหความรูความเขาใจแกประชาชนในทองถิ่นและหนวยงานที่เกี่ยวของ

ชุมชนในพื้นที่โครงการ ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

11 โบราณคดี 11.1 อาจพบวัตถุทางโบราณคดีในพื้นที่โครงการ

11.1.1 ตรวจสอบทางดานโบราณคดีบริเวณหลุมที่ถูกขุดเพื่อใชเปนบอตางๆ ในระหวางการกอสรางพื้นที่โครงการ

พื้นที่โครงการ ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

11.1.2 รายงานใหทางกรมศิลปากรทราบ หากพบวัตถุทางโบราณคดี พื้นที่โครงการ ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 76

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

การจัดการสิ่งแวดลอม 12 การจัดการ 12.1 เกิดความเสียหายตอ

สิ่งแวดลอม 12.1.1 ในกรณีที่จําเปนจะตองยายพื้นที่โครงการหางจากตําแหนงที่

เสนอไวเปนระยะทางมากกวา 300 ม. ผูรับสัมปทานจะตองนําเสนอรายละเอียดของตําแหนงที่ตั้งใหม รวมทั้งผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นและมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ตอสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กอนที่จะดําเนินการกอสรางพื้นที่โครงการ

พื้นที่โครงการ ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

12.1.2 กําหนดใหผูจัดการดานสุขภาพอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดลอม (HSE) เปนผูรับผิดชอบในการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

พื้นที่โครงการ ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

12.1.3 ดําเนินการตรวจประเมินการปฏิบัติตามขอกําหนดโดยหนวยงานภายนอกองคกร และรับฟงขอเสนอแนะเพื่อดําเนินการแกไข

พื้นที่โครงการ ระยะการเตรียมพื้นที่โครงการ / ระยะการกอสราง

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 77

ตารางที ่E 7-2: มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม-ระยะดําเนนิการขุดเจาะ

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางกายภาพ 1. คุณภาพอากาศ 1.1 คุณภาพอากาศเสื่อมลง

เนื่องจากฝุนละออง 1.1.1 ฉีดพนละอองน้ําบนถนนที่ไมไดลาดยางในแนวเสนทางขนสงของ

โครงการเมื่อสภาพอากาศแหง อยางนอย วันละ 2 ครั้ง (เวลาเชาและบาย

ถนนลูกรังที่ใชเปนเสนทางเขาสูพื้นที่

โครงการซึ่งอยูใกลกับพื้นที่ออนไหว

ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

1.1.2 )ติดตั้งปายจํากัดความเร็วบนเสนทางการขนสงของโครงการ และจํากัดความเร็วของยานพาหนะบนถนนที่ไมไดลาดยางไวที่ 30 กม./ชม.

ถนนลูกรังที่ใชเปนเสนทางเขาสูพื้นที่

โครงการซึ่งอยูใกลกับพื้นที่ออนไหว

ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

1.1.3 ใชยานพาหนะที่มีแผนกันฝุน ยานพาหนะของโครงการทุกคัน

ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

1.1.4 ใชผาใบปกคลุมวัสดุกอสรางที่ขนสง ยานพาหนะของโครงการทุกคัน

ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

1.2 คุณภาพอากาศเสื่อมลงเนื่องจากการปลอยมลสารจากเครื่องยนตดีเซล

1.2.1 ตรวจสอบและบํารุงรักษาเครื่องจักร และยานพาหนะทัง้หมดตามที่ผูผลิตกําหนดไวอยางเหมาะสม และสม่ําเสมอ

เครื่องจักรและยานพาหนะทั้งหมด

ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 78

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

2 เสียง 2.1 ระดับเสียงที่เพิ่มขึ้นระหวางการขุดเจาะสํารวจ

2.1.1 ในกรณีที่มีการรองเรียนจากประชาชนในพื้นที่เรื่องเสียงรบกวน อพิโก ตองทําการตรวจวัดคาระดับเสียงรบกวนในพื้นที่ที่มีการรองเรียน ตามมาตรฐานการตรวจวัดที่ระบุไวในประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 29 (พ.ศ.2550) เรื่องคาระดับเสียงรบกวน

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

2.1.2 ตรวจสอบการติดตั้งหมอพักไอเสีย/เก็บเสียง ของเครื่องยนตทั้งหมด

เครื่องจักรและยานพาหนะทั้งหมด

ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

2.1.3 ตรวจสอบและบํารุงรักษาเครื่องจักร และยานพาหนะทัง้หมดตามที่ผูผลิตกําหนดไวอยางเหมาะสม และสม่ําเสมอ

เครื่องจักรและยานพาหนะทั้งหมด

ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

3 ดินและน้ําใตดิน 3.1 คุณภาพดินและน้ําใตดินเสื่อมลงเนื่องจากการรั่วไหลของสารเคมีหรือน้ํามัน

3.1.1 สรางบอคอนกรีตเฉพาะสําหรับรองรับเศษหินที่เกิดขึ้นจากการขุดเจาะ (ขนาดความจุ 937.5 ลบ.ม.) และมีคันลอมรอบขอบบอสูง 0.5 ม. เพื่อปองกันมิใหเกิดน้ําไหลลนออกสูสิ่งแวดลอม และติดตามตรวจสอบระดับน้ําเพื่อปองกันการไหลลนจากบอในชวงฤดูฝน

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

3.1.2 ใชโคลนขุดเจาะที่มีน้ําเปนองคประกอบหลักและโคลนขุดเจาะแบบ NAF ซึ่งไมมีความเปนพิษ และแจงใหกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติและสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมทราบ หากมีการเปลี่ยนแปลงสารเคมีที่ใชกับโคลน

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

3.1.3 สรางถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงบนฐานคอนกรีตและลอมรอบดวยคันดินกั้น เพื่อปองกันการไหลลนในกรณีเกิดเหตุน้ํามันหกรั่วไหล

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 79

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

3.1.4 สรางระบบระบายน้ํารอบบริเวณพื้นคอนกรีตที่ตั้งเปนฐานรองรับออกสูภายนอกแทนขุดเจาะและถังเก็บโคลน เพื่อรวบรวมของเหลวที่อาจเกิดการหกรั่วไหลลงสูบอเก็บเศษหิน

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

3.1.5 สรางบอเก็บน้ํามันที่ไหลมาจากระบบระบายน้ํารอบพื้นที่โครงการ เพื่อปองกันไมใหเกิดการรั่วไหลออกนอกพื้นที่

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

3.1.6 จัดเก็บสารเคมีในพื้นที่ปลอดภัยซึ่งมีพื้นกันซึมซึ่งดาษดวยซีเมนตหรือมีแผนพลาสติกรองรับ และมีคันกั้นโดยรอบ รวมทั้งมีการจัดการสารเคมีตางๆ ตามที่กําหนดไวในเอกสารความปลอดภัยเคมีภัณฑ (MSDS)

พื้นที่จัดเก็บวัสดุ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

3.1.7 ใชถาดรองน้ํามันเมื่อทําการซอมบํารุงยานพาหนะ และทําการซอมบํารุงบนพื้นคอนกรีตเทานั้น

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

3.2 การปนเปอนจากการกําจัดโคลนและเศษหินเมื่อเสร็จสิ้นการดําเนินงาน

3.2.1 จัดเก็บโคลนและเศษหินในบอคอนกรีต และตรวจสอบวาผูรับเหมาที่ไดรับอนุญาตนําเศษหินและโคลนไปบําบัดและกําจัดอยางเหมาะสม รวมทั้งจัดเก็บบันทึกเอกสารกํากับของเสียดวย

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

4 คุณภาพน้ําผิวดิน 4.1 คุณภาพน้ําผิวดินเสื่อมลงเนื่องจากอุบัติเหตุการรั่วไหล

4.1.1 สรางบอคอนกรีตเฉพาะสําหรับรองรับของเสียที่เกิดขึ้นจากการขุดเจาะ และมีคันลอมรอบขอบบอ เพื่อปองกันมิใหเกิดน้ําไหลลนออกสูสิ่งแวดลอม และติดตามตรวจสอบระดับน้ําเพื่อปองกันการไหลลนจากบอในชวงฤดูฝน

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

4.1.2 ใชโคลนขุดเจาะที่มีน้ําเปนองคประกอบหลัก ไมมีความเปนพิษ และแจงใหกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติและสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมทราบ หากมีการเปลี่ยนแปลงสารเคมีที่ใชกับโคลน

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 80

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

4.1.3 สรางถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงบนฐานคอนกรีตและลอมรอบดวยคันดินกั้น เพื่อปองกันการไหลออกสูภายนอกในกรณีเกิดเหตุน้ํามันหกรั่วไหล

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

4.1.4 สรางระบบระบายน้ํารอบบริเวณพื้นคอนกรีตที่เปนฐานรองรับออกสูภายนอกแทนขุดเจาะและถังเก็บโคลน เพื่อรวบรวมของเหลวที่อาจเกิดการหกรั่วไหลลงสูบอเก็บเศษหิน

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

4.1.5 สรางบอเก็บน้ํามันที่ไหลมาจากระบบระบายน้ํารอบพื้นที่โครงการ เพื่อปองกันไมใหเกิดการรั่วไหลออกนอกพื้นที่

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

4.1.6 จัดเก็บสารเคมีในพื้นที่ปลอดภัยซึ่งมีพื้นกันซึมซึ่งดาษดวยซีเมนตหรือมีแผนพลาสติกรองรับ และมีคันกั้นโดยรอบ รวมทั้งมีการจัดการสารเคมีตางๆ ตามที่กําหนดไวในเอกสารความปลอดภัยเคมีภัณฑ (MSDS)

พื้นที่จัดเก็บวัสดุ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

4.1.7 ใชถาดรองน้ํามันเมื่อทําการซอมบํารุงยานพาหนะ และทําการซอมบํารุงบนพื้นคอนกรีตเทานั้น

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

4.1.8 จัดใหมีชุดอุปกรณทําความสะอาดคราบน้ํามัน และฝกอบรมทีมปฏิบัติการกําจัดคราบน้ํามัน

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

4.2 คุณภาพน้ําผิวดินเสื่อมลงเนื่องจากการทิ้งน้ําเสียและสิ่งปฏิกลูจากที่พักอาศัยและสํานักงาน

4.2.1 ติดตั้งถังบําบัดน้ําเสียเพื่อรองรับน้ําเสียและสิ่งปฏิกูล

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

4.2.2 สูบสิ่งปฏิกูลในถังเก็บไปยังถังปฏิกรณชีวภาพอยางสม่ําเสมอ เพื่อปองกันการไหลลน

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 81

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

4.2.3 ใชถังปฏิกรณชีวภาพและลานบําบัดเพื่อใชบําบัดสิ่งปฏิกูลและน้ําเสีย พรอมทั้งมีการตรวจสอบประสิทธิภาพในการทํางานของถังปฏิกรณชีวภาพ

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

4.3 คุณภาพน้ําผิวดินเสื่อมลงเมื่อสิ้นสุดการขุดเจาะ

4.3.1 ตรวจสอบการบําบัดและกําจัดของเสียที่ดําเนินการโดยผูรับเหมาซึ่งไดรับอนุญาตอยางถูกตองตามกฎหมาย รวมทั้งจัดเก็บบันทึกเอกสารกํากับของเสียดวย

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

5 การกําจัดของเสียไมอันตราย และของเสียจากที่พักอาศัยและสํานักงาน

5.1 ของเสียจากที่พักอาศัยและสํานักงานอาจทําใหเกิดอันตรายจากเพลิงไหม หรือถูกลมพัดกระจาย หรือเปนสิ่งดึงดูดสัตวรําคาญ หรือเกิดการปนเปอนลงสูแหลงน้ําผิวดินและแหลงน้ําใตดิน รวมทั้งอาจเปนแหลงเพาะเชื้อโรคได

5.1.1 จัดใหมีหองสุขาแบบเคลื่อนยายไดและถังบําบัดไวสําหรับพนักงานของโครงการ

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

5.1.2 ตรวจสอบการบําบัดและกําจัดของเสียที่ดําเนินการโดยผูรับเหมาซึ่งไดรับอนุญาตอยางถูกตองตามกฎหมาย รวมทั้งจัดเก็บบันทึกเอกสารกํากับของเสียดวย

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

5.1.3 ปฏิบัติตามวิธีการรักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอย (Good Housekeeping) อยางเครงครัด

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 82

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

5.1.4 คัดแยกของเสียและรวบรวมจัดเก็บไวในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมและปลอดภัย รวมทั้งติดฉลากใหถูกตอง

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

5.1.5 กําจัดของเสียซึ่งมีการติดฉลากที่ภาชนะบรรจุอยางถูกตองไวแลวดวยวิธีการนํากลับมาใชใหม (recycle) หากสามารถทําได

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

5.1.6 หามเผาขยะทุกชนิดในพื้นที่โครงการ พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

6 ของเสียอันตราย 6.1 กอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพและสิ่งแวดลอม

6.1.1 ทดสอบเศษหินและโคลนขุดเจาะทั้งหมดเพื่อตรวจสอบดูวาเปนของเสียอันตรายหรือไม

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

6.1.2 ตรวจสอบการบําบัดและกําจัดของเสียที่ดําเนินการโดยผูรับเหมาซึ่งไดรับอนุญาตอยางถูกตองตามกฎหมาย รวมทั้งจัดเก็บบันทึกเอกสารกํากับของเสียดวย

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

6.1.3 คัดแยกของเสียและรวบรวมจัดเก็บไวในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมและปลอดภัย รวมทั้งติดฉลากใหถูกตอง

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางชีวภาพ 7 พืชบก 7.1 เกิดความเปนพิษตอ

สิ่งมีชีวิตและถิ่นที่อยูอาศัยเสื่อมสภาพ เนื่องจากเศษหินและโคลน และอุบัติเหตุการรั่วไหล

7.1.1 สรางบอคอนกรีตเฉพาะสําหรับรองรับของเสียที่เกิดขึ้นจากการขุดเจาะ และทําคันดินลอมรอบบนขอบบอ เพื่อปองกันมิใหเกิดน้ําไหลลนออกสูสิ่งแวดลอม และติดตามตรวจสอบระดับน้ําเพื่อปองกันการไหลลนจากบอในชวงฤดูฝน

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

7.1.2 สรางถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงบนฐานคอนกรีต และลอมรอบดวยคันดินกั้น เพื่อปองกันการไหลลนในกรณีเกิดเหตุน้ํามันหกรั่วไหล

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 83

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

8 สัตวบกและสัตวน้ํา 8.1 เกิดความเปนพิษตอสิ่งมีชีวิตและถิ่นที่อยูอาศัยเสื่อมสภาพ เนื่องจากเศษหินและโคลน และอุบัติเหตุการรั่วไหล

8.1.1 ใชโคลนขุดเจาะที่มีน้ําเปนองคประกอบหลัก ที่มีสารอันตรายต่ํา และใชโคลนขุดเจาะที่มีสารสังเคราะหเปนองคประกอบหลัก

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

8.1.2 สรางบอคอนกรีตเฉพาะสําหรับรองรับของเสียที่เกิดขึ้นจากการขุดเจาะ และทําคันดินลอมรอบบนขอบบอ เพื่อปองกันมิใหเกิดน้ําไหลลนออกสูสิ่งแวดลอม และติดตามตรวจสอบระดับน้ําเพื่อปองกันการไหลลนจากบอในชวงฤดูฝน

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

8.1.3 สรางถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงบนฐานคอนกรีต และลอมรอบดวยคันดินกั้น เพื่อปองกันการไหลออกสูภายนอกกรณีเกิดเหตุน้ํามันหกรั่วไหล

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

8.1.4 ปฏิบัติตามมาตรฐานและขอกําหนดในการบําบัดและกําจัดเศษหินและโคลนจากการขุดเจาะ

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

8.1.5 สรางระบบระบายน้ํารอบบริเวณพื้นคอนกรีตที่เปนฐานรองรับออกสูภายนอกแทนขุดเจาะและถังเก็บโคลน เพื่อรวบรวมของเหลวที่อาจเกิดการหกรั่วไหลลงสูบอเก็บเศษหิน

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

8.1.6 จัดเก็บสารเคมีในพื้นที่ปลอดภัยซึ่งมีพื้นกันซึมดาษดวยซีเมนตหรือมีแผนพลาสติกรองรับ และมีคันกั้นโดยรอบ รวมทั้งมีการจัดการสารเคมีตางๆ ตามที่กําหนดไวในเอกสารความปลอดภัยเคมีภัณฑ (MSDS)

พื้นที่จัดเก็บวัสดุ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 84

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

คุณคาการใชประโยชนของมนุษย 9 การใชประโยชนที่ดิน 9.1 คุณภาพดินเสื่อมลง

เนื่องจากการบดอัด การกัดเซาะ การปลอยเศษหินและโคลนจากการเจาะหลุมระดับพื้นผิว การหกรั่วไหล และการไหลลนจากบอ

9.1.1 สรางบอคอนกรีตเฉพาะสําหรับรองรับเศษหินที่เกิดขึ้นจากการขุดเจาะ และมีคันลอมรอบบนขอบบอ เพื่อปองกันมิใหเกิดน้ําไหลลนออกสูสิ่งแวดลอม และติดตามตรวจสอบระดับน้ําเพื่อปองกันการไหลลนจากบอ

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

10 การขนสง 10.1 เกิดการรบกวนการจราจร 10.1.1 ติดตั้งปายจํากัดความเร็ว และตรวจสอบการปฏิบัติตามอยางเครงครัด (กําหนดตามกฎหมายการจราจรบนทางหลวงและพื้นที่ชุมชน คือ 30 กม./ชม. บนถนนที่ไมลาดยาง)

เสนทางการขนสง ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

10.1.2 แจงเรื่องสถานที่และระยะเวลาการดาํเนินการของโครงการใหเจาของที่ดินโดยรอบพื้นที่โครงการทราบ กอนการดําเนินกิจกรรมของโครงการลวงหนาเปนเวลา 2 สัปดาห

เสนทางการขนสง ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

10.1.3 แจงตํารวจโดยขอใชรถตํารวจนํา ในกรณีที่มีการขนสงโดยใชรถบรรทุกหนักขนาดใหญ

เสนทางการขนสง ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

10.1.4 ปรึกษาหนวยงานทองถิ่นซึ่งมีหนาที่รับผิดชอบดูแลกอนที่จะมีการขนสงหรือเคลื่อนยายครั้งสําคัญของโครงการ

เสนทางการขนสง ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

10.1.5 หลีกเลีย่งชวงเวลาที่มีการจราจรหนาแนน ระหวาง 07.30 น. ถึง 08.30 น. และ 15.30 น. ถึง 16.30 น. ในการขนสงวัสดุอุปกรณหรือเครื่องจักรขนาดใหญ

เสนทางการขนสง ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

10.1.6 ติดตั้งปายหรือธงเพื่อใหสัญญาณจราจร เสนทางการขนสง ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 85

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

10.1.7 ตรวจสอบขอรองเรียนและดําเนินการแกไขอยางเหมาะสม รวมทั้งจัดเก็บบันทึกขอรองเรียนและติดตามผลการดําเนินงาน

เสนทางการขนสง ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

10.2 เกิดความเสียหายตอถนน

10.2.1 ซอมแซมถนนที่เกิดความเสียหาย เสนทางการขนสง ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

11 แหลงน้ําใช 11.1 การใชน้ําของโครงการอาจสงผลกระทบตอแหลงน้ําใชของชุมชน

11.1.1 ตรวจสอบขอรองเรียนและดําเนินการแกไขอยางเหมาะสม รวมทั้งจัดเก็บบันทึกขอรองเรียนและติดตามผลการดําเนินงาน

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

คุณคาตอคุณภาพชีวิต 12 ความปลอดภัยและ

สุขภาพอนามัยของชุมชน

12.1 อุบัติเหตุจากยานพาหนะและเครื่องจักร

12.1.1 ติดตั้งปายจํากัดความเร็ว และตรวจสอบการปฏิบัติตามอยางเครงครัด (ตองปฏิบัติตามกฎหมายการจราจรบนทางหลวงและในพื้นที่ชุมชน บนถนนที่ไมลาดยาง จํากัดความเร็วไมเกิน 30 กม./ชม.)

เสนทางการขนสง ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

12.1.2 ตรวจสอบใหมั่นใจวาพนักงานขับรถไดรับการฝกอบรมและปฏิบัติตามกฎจราจร

เสนทางการขนสง ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

12.1.3 หลีกเลีย่งชวงเวลาที่มีการจราจรหนาแนน ระหวาง 07.30 น. ถึง 08.30 น. และ 15.30 น. ถึง 16.30 น. ในการขนสงวัสดุอุปกรณหรือเครื่องจักรขนาดใหญ

เสนทางการขนสง ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

12.1.4 ตรวจสอบการขนสงวัตถุอันตรายใหเปนไปตามที่กฎหมายกําหนดไว

เสนทางการขนสง ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 86

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

12.1.5 ตรวจสอบและบํารุงรักษาเครื่องจักร และยานพาหนะทัง้หมดตามที่ผูผลิตกําหนดไวอยางเหมาะสม และสม่ําเสมอ

เครื่องจักรและยานพาหนะทั้งหมด

ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

12.1.6 ตรวจสอบใหมีการจัดอุปกรณปองกันภัยสวนบุคคลใหกับพนักงานตามที่กําหนดไวในแผนงานเพื่อความปลอดภยั

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

12.2 เพลิงไหม 12.2.1 จํากัดใหมีการสูบบุหรี่เฉพาะในบริเวณที่กําหนดไวเทานั้น พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

12.2.2 จัดใหมีการอบรมและฝกซอมดับเพลิง พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

12.2.3 ติดตั้งถังดับเพลิง อุปกรณสงสัญญาณเตือน และอุปกรณบอกทิศทางลม (ใหสามารถมองเห็นและไดยินไปทั่วพื้นที่ปฏิบัติงาน)

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

12.2.4 จัดใหมีอุปกรณเพื่อความปลอดภัยและทดสอบการใชงานทุกสัปดาห

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

12.2.5 หามมิใหบุคคลที่ไมมีสวนเกี่ยวของเขามาในบริเวณพื้นที่โครงการ

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

12.3 การพลุง 12.3.1 ติดตั้งอุปกรณปองกันการพลุง (BOP) และ shear rams พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

12.3.2 ทดสอบอุปกรณเพื่อความปลอดภัยกอนเริ่มดําเนินงาน เพื่อตรวจสอบการทํางานและความสมบูรณของอุปกรณ

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

12.3.3 ฝกอบรมพนักงานใหทราบขอปฏิบัติในกรณีฉุกเฉิน พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 87

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

13 การมีสวนรวมของประชาชน

13.1 ชุมชนกับการมีสวนรวมในกิจกรรมของโครงการ

13.1.1 กอนเริ่มการดําเนินกิจกรรมของโครงการ ตองแจงใหประชาชน (ผูใหญบาน ตัวแทนชุมชน และผูนําชุมชน) ทราบลวงหนาเปนเวลา 2 สัปดาห โดยในที่ประชุมจะกลาวถึงความกาวหนาในการดําเนินงานของโครงการและขอเสนอแนะจากชุมชน ซึ่งผลสรุปจากที่ประชุมจะนําเสนอรวมไวในรายงานการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม

ชุมชนในพื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

13.1.2 ปฏิบัติตามแผนงานชุมชนสัมพันธของ อพิโก แอล แอล ซี เพื่อใหความรูความเขาใจแกประชาชนในทองถิ่นและหนวยงานที่เกี่ยวของ

ชุมชนในพื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

14 โบราณคดี 14.1 อาจพบวัตถุทางโบราณคดีในพื้นที่โครงการ

14.1.1 รายงานใหทางกรมศิลปากรทราบ หากพบวัตถุทางโบราณคดี พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

การจัดการสิ่งแวดลอม 15 การจัดการ 15.1 เกิดความเสียหายตอ

สิ่งแวดลอม 15.1.1 กําหนดใหผูจัดการดานสุขภาพอนามัย ความปลอดภัย และ

สิ่งแวดลอม (HSE) เปนผูรับผิดชอบในการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

15.1.2 ดําเนินการตรวจประเมินการปฏิบัติตามขอกําหนดโดยหนวยงานภายนอกองคกร และรับฟงขอเสนอแนะเพื่อดําเนินการแกไข

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการขุดเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 88

ตารางที ่E 7-3: มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิง่แวดลอม-ระยะดําเนนิการทดสอบหลุมเจาะ

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางกายภาพ 1. คุณภาพอากาศ 1.1 คุณภาพอากาศเสื่อมลง

เนื่องจากฝุนละออง 1.1.1 ฉีดพนละอองน้ําบนถนนที่ไมไดลาดยางในแนวเสนทางขนสงของ

โครงการเมื่อสภาพอากาศแหง อยางนอย วันละ 2 ครั้ง (เวลาเชาและบาย)

ถนนลูกรังที่ใชเปนเสนทางเขาสูพื้นที่

โครงการซึ่งอยูใกลกับพื้นที่ออนไหว

ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

1.1.2 ติดตั้งปายจํากัดความเร็วบนเสนทางการขนสงของโครงการ และจํากัดความเร็วของยานพาหนะบนถนนที่ไมไดลาดยางไวที่ 30 กม./ชม.

เสนทางการขนสงที่ใชในพื้นที่โครงการ

ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

1.2 คุณภาพอากาศเสื่อมลงเนื่องจากการปลอยมลสารจากเครื่องยนตดีเซล

1.2.1 ตรวจสอบและบํารุงรักษาเครื่องจักร และยานพาหนะทัง้หมดตามที่ผูผลิตกําหนดไวอยางเหมาะสม และสม่ําเสมอ

เครื่องจักรและยานพาหนะทั้งหมด

ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

1.3 คุณภาพอากาศเสื่อมลง เนื่องจากเผากาซ

1.3.1 ตรวจสอบระบบการเผากาซใหมีประสิทธิภาพ ปลองเผากาซ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

2. เสียง 2.1 ระดับเสียงที่เพิ่มขึ้นระหวางการทดสอบหลุมขุดเจาะ เนื่องจากการเผากาซ

2.1.1 ตรวจสอบใหมีการติดตั้งที่เก็บเสียงของเครื่องยนตดีเซลและกาซ เครื่องจักรและยานพาหนะทั้งหมด

ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

2.1.2 ตรวจสอบใหมีการบํารุงรักษาเครื่องจักร และยานพาหนะทั้งหมดตามระยะเวลาซอมบํารุงอยางสม่ําเสมอ

เครื่องจักรและยานพาหนะทั้งหมด

ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 89

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

2.1.3 ควบคุมอัตราการปลอยกาซใหมีคาไมเกิน 10 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

3 ดินและน้ําใตดิน 3.1 คุณภาพดินและน้ําใตดินเสื่อมลงเนื่องจากการรั่วไหลของสารเคมีหรือน้ํามัน

3.1.2 บํารุงรักษาระบบระบายน้ํารอบบริเวณพื้นคอนกรีตรองรับแทนขุดเจาะ เพื่อรวบรวมของเหลวที่อาจเกิดการหกรั่วไหลลงสูบอเก็บของเสีย

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

3.1.3 บํารุงรักษาบอดักน้ํามันของระบบระบายน้ํารอบพื้นที่โครงการ เพื่อปองกันไมใหน้ํามันรั่วไหลออกนอกพื้นที่

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

3.1.4 จัดเก็บสารเคมีในพื้นที่ปลอดภัยซึ่งมีพื้นกันซึมซึ่งดาษดวยซีเมนตหรือมีแผนพลาสติกรองรับ และมีคันกั้นโดยรอบ รวมทั้งมีการจัดการสารเคมีตางๆ ตามที่กําหนดไวในเอกสารความปลอดภัยเคมีภัณฑ (MSDS)

พื้นที่จัดเก็บวัสดุ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

3.1.5 ใชถาดรองน้ํามันเมื่อทําการซอมบํารุงยานพาหนะ และทําการซอมบํารุงบนพื้นคอนกรีตเทานั้น

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

4 คุณภาพน้ําผิวดิน 4.1 คุณภาพน้ําผิวดินเสื่อมลงเนื่องจากอุบัติเหตุการรั่วไหล

4.1.2 บํารุงรักษาบอดักน้ํามันของระบบระบายน้ํารอบพื้นที่โครงการ เพื่อปองกันไมใหเกิดการรั่วไหลออกนอกพื้นที่

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

4.1.3 จัดเก็บสารเคมีในพื้นที่ปลอดภัยซึ่งมีพื้นกันซึมที่ดาษดวยซีเมนตหรือมีแผนพลาสติกรองรับ และมีคันกั้นโดยรอบ รวมทั้งมีการจัดการสารเคมีตางๆ ตามที่กําหนดไวในเอกสารความปลอดภัยเคมีภัณฑ (MSDS)

พื้นที่จัดเก็บวัสดุ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

4.1.4 ใชถาดรองน้ํามันเมื่อทําการซอมบํารุงยานพาหนะ และทําการซอมบํารุงบนพื้นคอนกรีตเทานั้น

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 90

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

4.2 คุณภาพน้ําผิวดินเสื่อมลงเนื่องจากการทิ้งน้ําเสียและสิ่งปฏิกลูจากที่พักอาศัยและสํานักงาน

4.2.1 ติดตั้งถังบําบัดน้ําเสียเพื่อรองรับน้ําเสียและสิ่งปฏิกูล พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

4.2.2 สูบสิ่งปฏิกูลในถังเก็บไปยังถังปฏิกรณชีวภาพอยางสม่ําเสมอ เพื่อปองกันการไหลลน

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

4.2.3 ใชถังปฏิกรณชีวภาพและลานบําบัดในการบําบัดสิ่งปฏิกูลและน้ําเสีย พรอมทั้งมีการตรวจสอบประสิทธิภาพในการทํางานของถังปฏิกรณชีวภาพ

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

5 การกําจัดของเสียไมอันตราย และของเสียจากที่พักอาศัยและสํานักงาน

5.1 ของเสียจากที่พักอาศยัและสํานักงานอาจทําใหเกิดอันตรายจากเพลิงไหม หรือถูกลมพัดกระจาย หรือเปนสิ่งดึงดูดสัตวรําคาญ หรือเกิดการปนเปอนลงสูแหลงน้ําผิวดินและแหลงน้ําใตดิน รวมทั้งอาจเปนแหลงเพาะเชือ้โรคได

5.1.2 จัดใหมีหองสุขาแบบเคลื่อนยายไดและถังบําบัดไวสําหรับพนักงานของโครงการ

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 91

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

5.1.3 ตรวจสอบการบําบัดและกําจัดของเสียที่ดําเนินการโดยผูรับเหมาซึ่งไดรับอนุญาตอยางถูกตองตามกฎหมาย รวมทั้งจัดเก็บบันทึกเอกสารกํากับของเสียดวย

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

5.1.4 ปฏิบัติตามวิธีการรักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอย (Good Housekeeping) อยางเครงครัด

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

5.1.5 กําจัดของเสียซึ่งมีการติดฉลากที่ภาชนะบรรจุอยางถูกตองไวแลวดวยวิธีการนํากลับมาใชใหม (recycle) หากสามารถทําได

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

5.1.6 หามเผาขยะทุกชนิดในพื้นที่โครงการ พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

6 ของเสียอันตราย 6.1 กอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพและสิ่งแวดลอม

6.1.1 คัดแยกของเสียและรวบรวมจัดเก็บไวในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมและปลอดภัย รวมทั้งติดฉลากใหถูกตอง

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางชีวภาพ 7 พืชบก 7.1 เกิดความเปนพิษตอ

สิ่งมีชีวิตและถิ่นที่อยูอาศัยเสื่อมสภาพ เนื่องจากเศษหินและโคลน และอุบัติเหตุการรั่วไหล

7.1.1 สรางถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงบนฐานคอนกรีต และลอมรอบดวยคันดินกั้น เพื่อปองกันการไหลลนในกรณีเกิดเหตุน้ํามันหกรั่วไหล

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 92

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

8 สัตวบกและสัตวน้ํา 8.1 เกิดความเปนพิษตอสิ่งมีชีวิตและถิ่นที่อยูอาศัยเสื่อมสภาพ เนื่องจากเศษหินและโคลน และอุบัติเหตุการรั่วไหล

8.1.1 สรางถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงบนฐานคอนกรีต และลอมรอบดวยคันดินกั้น เพื่อปองกันการไหลลนในกรณีเกิดเหตุน้ํามันหกรั่วไหล

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

8.1.2 บํารุงรักษาระบบระบายน้ํารอบบริเวณพื้นที่โครงการ และภายในพื้นที่โครงการ เพื่อปองการการปนเปอนของของเหลวที่อาจเกิดการหกรั่วไหล

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

8.1.3 จัดเก็บสารเคมีในพื้นที่ปลอดภัยซึ่งมีพื้นกันซึมที่ดาษดวยซีเมนตหรือมีแผนพลาสติกรองรับ และมีคันกั้นโดยรอบ รวมทั้งมีการจัดการสารเคมีตางๆ ตามที่กําหนดไวในเอกสารความปลอดภัยเคมีภัณฑ (MSDS)

พื้นที่จัดเก็บวัสดุ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

8.1.4 สรางคันกั้นรอบบริเวณถังเก็บน้ํามันดิบเพื่อสํารองใหเปนบริเวณกั้นการรั่วไหล

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

คุณคาการใชประโยชนของมนุษย 9 การใชประโยชนที่ดิน 9.1 คุณภาพดินเสื่อมลง

เนื่องจากการบดอัด การกัดเซาะ การปลอยเศษหินและโคลนจากการเจาะหลุมระดับพื้นผิว การหกรั่วไหล และการไหลลนจากบอ

9.1.1 สรางบอคอนกรีตเฉพาะสําหรับรองรับเศษหินที่เกิดขึ้นจากการขุดเจาะ และลอมรอบดวยคันกั้น เพื่อปองกันมิใหเกิดน้ําไหลลนออกสูสิ่งแวดลอม และติดตามตรวจสอบระดับน้ําเพื่อปองกันการไหลลนจากบอ

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 93

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

10 การขนสง 10.1 เกิดการรบกวนการจราจร

10.1.1 ติดตั้งปายจํากัดความเร็ว และตรวจสอบการปฏิบัติตามอยางเครงครัด (กําหนดตามกฎหมายการจราจรบนทางหลวงและพื้นที่ชุมชน คือ 30 กม./ชม. บนถนนที่ไมลาดยาง)

เสนทางการขนสง ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

10.1.2 ติดตั้งปายหรือธงเพื่อใหสัญญาณจราจร เสนทางการขนสง ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

10.1.3 ตรวจสอบขอรองเรียนและดําเนินการแกไขอยางเหมาะสม รวมทั้งจัดเก็บบันทึกขอรองเรียนและติดตามผลการดําเนินงาน

เสนทางการขนสง ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

10.2 เกิดความเสียหายตอถนน

10.2.1 ซอมแซมถนนที่เกิดความเสียหาย เสนทางการขนสง ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

11 แหลงน้ําใช 11.1 การใชน้ําของโครงการอาจสงผลกระทบตอแหลงน้ําใชของชุมชน

11.1.1 ตรวจสอบขอรองเรียนและดําเนินการแกไขอยางเหมาะสม รวมทั้งจัดเก็บบันทึกขอรองเรียนและติดตามผลการดําเนินงาน

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

คุณคาตอคุณภาพชีวิต 12 ความปลอดภัยและ

สุขภาพอนามัยของชุมชน

12.1 อุบัติเหตุจากยานพาหนะและเครื่องจักร

12.1.1 ติดตั้งปายจํากัดความเร็ว และตรวจสอบการปฏิบัติตามอยางเครงครัด (กําหนดตามกฎหมายการจราจรบนทางหลวงและพื้นที่ชุมชน คือ 30 กม./ชม. บนถนนที่ไมลาดยาง)

เสนทางการขนสง ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

12.1.2 ตรวจสอบใหมั่นใจวาพนักงานขับรถไดรับการฝกอบรมและปฏิบัติตามกฎจราจร

เสนทางการขนสง ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

12.1.3 ตรวจสอบและบํารุงรักษาเครื่องจักร และยานพาหนะทัง้หมดตามที่ผูผลิตกําหนดไวอยางเหมาะสม และสม่ําเสมอ

เครื่องจักรและยานพาหนะทั้งหมด

ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

12.1.4 ตรวจสอบใหมีการจัดอุปกรณปองกันภัยสวนบุคคลใหกับพนักงานตามที่กําหนดไวในแผนงานเพื่อความปลอดภยั

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 94

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

12.2 เพลิงไหม 12.2.1 จํากัดใหมีการสูบบุหรี่เฉพาะในบริเวณที่กําหนดไวเทานั้น พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

12.2.2 จัดใหมีการอบรมและฝกซอมดับเพลิง พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

12.2.3 ติดตั้งถังดับเพลิง อุปกรณสงสัญญาณเตือน และอุปกรณบอกทิศทางลม (ใหสามารถมองเห็นและไดยินไปทั่วพื้นที่ปฏิบัติงาน)

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

12.2.4 จัดใหมีอุปกรณเพื่อความปลอดภัยและทดสอบการใชงานทุกสัปดาห

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

12.2.5 หามมิใหบุคคลที่ไมมีสวนเกี่ยวของเขามาในบริเวณพื้นที่โครงการ

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

12.3 การพลุง 12.3.1 ติดตั้งอุปกรณปองกันการพลุง (BOP) และ shear rams พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

12.3.2 ทดสอบอุปกรณเพื่อความปลอดภัยกอนเริ่มดําเนินงาน เพื่อตรวจสอบการทํางานและความสมบูรณของอุปกรณ

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

12.3.3 ฝกอบรมพนักงานใหทราบขอปฏิบัติในกรณีฉุกเฉิน พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

13 การมีสวนรวมของประชาชน

13.1 ชุมชนกับการมีสวนรวมในกิจกรรมของโครงการ

13.1.1 กอนเริ่มการดําเนินกิจกรรมของโครงการ ตองแจงใหประชาชน (ผูใหญบาน ตัวแทนชุมชน และผูนําชุมชน) ทราบลวงหนาเปนเวลา 2 สัปดาห โดยในที่ประชุมจะกลาวถึงความกาวหนาในการดําเนินงานของโครงการและขอเสนอแนะจากชุมชน ซึ่งผลสรุปจากที่ประชุมจะนําเสนอรวมไวในรายงานการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม

ชุมชนในพื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 95

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

13.1.2 ปฏิบัติตามแผนงานชุมชนสัมพันธของ อพิโก แอล แอล ซี เพื่อใหความรูความเขาใจแกประชาชนในทองถิ่นและหนวยงานที่เกี่ยวของ

ชุมชนในพื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

14 โบราณคดี 14.1 อาจพบวัตถุทางโบราณคดีในพื้นที่โครงการ

14.1.1 รายงานใหทางกรมศิลปากรทราบ หากพบวัตถุทางโบราณคดี พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

การจัดการสิ่งแวดลอม 15 การจัดการ 15.1 เกิดความเสียหายตอ

สิ่งแวดลอม 15.1.1 กําหนดใหผูจัดการดานสุขภาพอนามัย ความปลอดภัย และ

สิ่งแวดลอม (HSE) เปนผูรับผิดชอบในการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

15.1.2 ดําเนินการตรวจประเมินการปฏิบัติตามขอกําหนดโดยหนวยงานภายนอกองคกร และรับฟงขอเสนอแนะเพื่อดําเนินการแกไข

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการทดสอบหลุมเจาะ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 96

ตารางที ่E 7-4: มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม-ระยะดําเนนิการสละหลุม

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางกายภาพ 1. ดินและน้ําใตดิน 1.1 คุณภาพดินและน้ําใต

ดินเสื่อมลงเนื่องจากการอัดตัว หรือการกัดเซาะ ในระหวางการกอสรางและการขุดเจาะ

1.1.1 ฟนฟูสภาพพื้นที่ใหใกลเคียงกับสภาพเดิมกอนที่จะมีกิจกรรมโครงการ

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการสละหลุม

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

คุณคาการใชประโยชนของมนุษย 2 การใชประโยชนที่ดิน 2.1 คุณภาพดินเสื่อมลง

เนื่องจากการบดอัด การกัดเซาะ การปลอยเศษหินและโคลนจากการเจาะหลุมระดับพื้นผิว การหกรั่วไหล และการไหลลนจากบอ

2.1.1 ฟนฟูสภาพพื้นที่ใหใกลเคียงกับสภาพเดิมกอนที่จะมีกิจกรรมโครงการ

พื้นที่หลุมขุดเจาะ ระยะดําเนินการสละหลุม

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

การจัดการสิ่งแวดลอม 3 การจัดการ 3.1 เกิดความเสียหายตอ

สิ่งแวดลอม 3.1.1 ดําเนินการจางบริษัทที่ปรึกษาดานสิ่งแวดลอมเพื่อทําการตรวจ

ประเมินการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอมเมื่อโครงการแลวเสร็จ

พื้นที่โครงการ ระยะดําเนินการสละหลุม หลังจาก

สิ้นสุดการดําเนินการโครงการ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 97

ตารางที ่E 7-5: ตารางสรุปมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม-ระหวางเตรียมพื้นที่/ระยะกอสราง

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

มาตรการติดตามตรวจสอบ ระยะเวลา หรือความถี่ ในการติดตามตรวจสอบ

พื้นที่ดําเนินการ งบประมาณ

(ตอครั้ง) ผูรับผิดชอบ

ระหวางเตรียมพื้นที่/ระยะการกอสราง

1.1 TSP (24 ชั่วโมง)

1.2 PM10 (24 ชั่วโมง)

1. คุณภาพอากาศ

1.3 ทิศทางและความเร็วลม

• ติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศในสถานีตรวจวัดพื้นฐาน

• ติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศในกรณีที่มีการรองเรียนจากประชาชนในพื้นที่

• วัดบานคําปลากั้ง และศูนยชุมชนบานคําแคนคูณ (ตารางที่ E7-9 และรูปที่ E7-1)

• พื้นที่ที่มีการรองเรียน

100,000 บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 98

ตารางที ่E 7-6: ตารางสรุปมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม-ระยะการขุดเจาะ

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

มาตรการติดตามตรวจสอบ ระยะเวลา หรือความถี่ ในการติดตามตรวจสอบ

พื้นที่ดําเนินการ งบประมาณ

(ตอครั้ง) ผูรับผิดชอบ

1.1 TSP (24 ชั่วโมง) 1.2 PM10 (24 ชั่วโมง)

1. คุณภาพอากาศ

1.3 ทิศทางและความเร็วลม

• ติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศในกรณีที่มีการรองเรียนจากประชาชนในพื้นที่

• ตรวจวัดอยางตอเนื่องเปนเวลา 3 วนั

พื้นที่ที่มีการรองเรียน 100,000 บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

2. สารเคมีที่ใชในการขุดเจาะ 2.1 ชนิดสารเคมี 2.2 ปริมาณที่ใช (บันทึกรายวัน)

ติดตามตรวจสอบทุกวัน และจัดทํารายงานสรุปเมื่อสิ้นสุดการขุดเจาะ

พื้นที่โครงการ

งบประมาณดําเนินการ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

3. ของเสียจากการขุดเจาะ 3.1 ติดตามตรวจสอบปริมาณของโคลนและเศษหินหลังจากการขุดเจาะ

1 ครั้ง หลังเสร็จสิ้นการขุดเจาะ (กอนนําไปกําจัด)

พื้นที่โครงการ งบประมาณดําเนินการ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 99

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

มาตรการติดตามตรวจสอบ ระยะเวลา หรือความถี่ ในการติดตามตรวจสอบ

พื้นที่ดําเนินการ งบประมาณ

(ตอครั้ง) ผูรับผิดชอบ

3. ของเสียจากการขุดเจาะ (ตอ

3.2 วิเคราะห เศษหินและโคลนขุดเจาะที่จะนําไปกําจัด ดังนี้ คาความเปนกรดดาง (pH), คาการนําไฟฟา, ปริมาณปโตรเลียมไฮโดรคารบอนโดยรวม (TPH), Cl, As, Ba, Hg, Pb, Cd และการตรวจสอบโคลนขุดเจาะที่มีน้ําเปนองคประกอบ (Water Base Mud) โดยนํามาสกัดดวยวิธี Waste Extraction Test

1 ครั้ง หลังเสร็จสิ้นการขุดเจาะ (กอนนําไปกําจัด)

พื้นที่โครงการ งบประมาณดําเนินการ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

4.1 Leq (24 ชั่วโมง)

4.2 Lmax

4. เสียง

4.3 Ldn

• ติดตามตรวจสอบระดับเสียงในกรณีที่มีการรองเรียนจากประชาชนในพื้นที่

• ตรวจวัดอยางตอเนื่องเปนเวลา 3 วนั

วัดบานคําปลากั้ง ศูนยชุมชนบานคําแคนคูณ

100,000 บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

ตรวจวัด 1 ครั้ง ใน ทุก 3 เดือนหลังเสร็จสิ้นการขุดเจาะ

สถานีเก็บตัวอยางน้ําผิวดิน จํานวน 4 สถานี (ตารางที่ E7-9 และรูปที่ E7-1)

5. คุณภาพน้ําผิวดิน 5.1 คาความเปนกรดดาง (pH), คาการนําไฟฟา, ปริมาณปโตรเลียมไฮโดรคารบอนโดยรวม (TPH), Cu, Cl, As, Cd, Cr, Hg, Mn, Pb, Zn

ในกรณีที่เกิดการหกรั่วไหล แหลงน้ําผิวดินในบริเวณที่เกิดเหตุ

100,000 บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 100

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

มาตรการติดตามตรวจสอบ ระยะเวลา หรือความถี่ ในการติดตามตรวจสอบ

พื้นที่ดําเนินการ งบประมาณ

(ตอครั้ง) ผูรับผิดชอบ

ตรวจวัด 1 ครั้ง ในทุก 3 เดือนหลังเสร็จสิ้นการขุดเจาะ

1) สถานีเก็บตัวอยางน้ําใตดิน จํานวน 2 สถานี (ตารางที่ E7-9 และรูปที่ E7-1) 2) บอติดตามตรวจสอบน้ําใตดินที่ติดตั้งในพื้นที่โครงการ (จํานวน 2 บอ ดานตนและปลายทศิทางการไหลของน้ําใตดิน

6. คุณภาพน้ําใตดิน 6.1 คาความเปนกรดดาง (pH), คาการนําไฟฟา, ปริมาณปโตรเลียมไฮโดรคารบอนโดยรวม (TPH), Cu, Cl, As, Cd, Cr, Hg, Mn, Pb, Zn

ในกรณีที่เกิดการหกรั่วไหล บอน้ําใตดินในบริเวณที่เกิดเหตุ

200,000 บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

7. อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

7.1 บันทึกอุบัติเหตุ อุบัติการณ และเหตุการณที่เกอืบทําใหเกิดอุบัติเหตุ

• ติดตามตรวจสอบรายวันในระหวางการขุดเจาะ

• จัดทํารายงานเมื่อสิ้นสุดการขุดเจาะ

พื้นที่โครงการ และแนวเสนทางการขนสง งบประมาณดําเนินการ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 101

ตารางที ่E 7-7: ตารางสรุปมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม-ระยะทดสอบหลุม

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

มาตรการติดตามตรวจสอบ ระยะเวลา หรือความถี่ ในการติดตามตรวจสอบ

พื้นที่ดําเนินการ งบประมาณ

(ตอครั้ง) ผูรับผิดชอบ

1.1 TSP (24 ชั่วโมง) 1.2 PM10 (24 ชั่วโมง)

1. คุณภาพอากาศ

1.3 ทิศทางและความเร็วลม

• ติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศในสถานีตรวจวัดพื้นฐาน

• ติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศในกรณีที่มีการรองเรียนจากประชาชนในพื้นที่

• วัดบานคําปลากั้ง และศูนยชุมชนบานคําแคนคูณ (ตารางที่ E7-9 และรูปที่ E7-1)

• พื้นที่ที่มีการรองเรียน

100,000 บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

2.1 Leq (24 ชั่วโมง)

2.2 Lmax

2. เสียง

2.3 Ldn

• ติดตามตรวจสอบระดับเสียงในกรณีที่มีการรองเรียนจากประชาชนในพื้นที่

วัดบานคําปลากั้ง ศูนยชุมชนบานคําแคนคูณ

100,000 บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

3. คุณภาพน้ําผิวดิน 3.1 คาความเปนกรดดาง (pH), คาการนําไฟฟา, ปริมาณปโตรเลียมไฮโดรคารบอนโดยรวม (TPH), Cu, Cl, As, Cd, Cr, Hg, Mn, Pb, Zn

ในกรณีที่เกิดการหกรั่วไหล แหลงน้ําผิวดินในบริเวณที่เกิดเหตุ 100,000 บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

4. คุณภาพน้ําใตดิน 4.1 คาความเปนกรดดาง (pH), คาการนําไฟฟา, ปริมาณปโตรเลียมไฮโดรคารบอนโดยรวม (TPH), Cu, Cl, As, Cd, Cr, Hg, Mn, Pb, Zn

ในกรณีที่เกิดการหกรั่วไหล บอน้ําใตดินในบริเวณที่เกิดเหตุ 200,000 บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

5. อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

5.1 บันทึกอุบัติเหตุ อุบัติการณ และเหตุการณที่เกอืบทําใหเกิดอุบัติเหตุ

จัดทํารายงานเมื่อสิ้นสุดการขุดเจาะ พื้นที่โครงการ และแนวเสนทางการขนสง งบประมาณดําเนินการ

บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 102

ตารางที ่E 7-8: ตารางสรุปมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม-ระยะการสละหลุม

ปจจัยทางสิ่งแวดลอม/เหตุการณ

มาตรการติดตามตรวจสอบ ระยะเวลา หรือความถี่ ในการติดตามตรวจสอบ

พื้นที่ดําเนินการ งบประมาณ

(ตอครั้ง) ผูรับผิดชอบ

1. คุณภาพดิน 1.1 คาความเปนกรดดาง (pH), คาการนําไฟฟา, ปริมาณปโตรเลียมไฮโดรคารบอนทั้งหมด (TPH), Cl, As, Ba, Hg, Pb, Cd

ตรวจวัด 1 ครั้ง หลังจากทําการฟนฟูสภาพพื้นโครงการใหมีสภาพใกลเคียงกับสภาพเดิมกอนที่จะมีกิจกรรมโครงการ

เก็บตัวอยางดิน สถานีละ 2 ตัวอยางที่ระดับผิวดิน และระดับความลึก 3 เมตรจากผิวดิน ณ พื้นที่โครงการ และบอเก็บเศษหิน (ตารางที่ E7-9และรูปที่ E7-1)

100,000 บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

2. คุณภาพน้ําผิวดิน 2.1 คาความเปนกรดดาง (pH), คาการนําไฟฟา, ปริมาณปโตรเลียมไฮโดรคารบอนทั้งหมด (TPH), Cu, Cl, As, Cd, Cr, Hg, Mn, Pb, Zn

ตรวจวัด 1 ครั้ง หลังจากทําการฟนฟูสภาพพื้นที่โครงการ หากพบวาคุณภาพน้ําผิวดินมีคาเกินกวาคามาตรฐานกําหนดควรมีการตรวจสอบและแจงไปทางกรมเชื้อเพลิงธรรมชาตแิละสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สถานีเก็บตัวอยางน้ําผิวดิน จํานวน 4 สถานี (ตารางที่ E7-9และรูปที่ E7-1)

100,000 บริษัท อพิโก แอล แอล ซี

หมายเหต:ุ ตําแหนงสถานีเก็บตัวอยางเพื่อติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ เสียง น้ําผิวดิน และน้ําใตดิน ดังแสดงในรูปที่ E7-1

ตําแหนงที่ตั้งและพิกัดภูมิศาสตรของสถานีติดตามตรวจวัดคุณภาพ ดังแสดงในตารางที่ E7-9

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 103

รูปที่ E 7-1: ตําแหนงสถานเีก็บตวัอยางเพื่อติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ เสียง น้ําผิวดิน และน้ําใตดิน

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมบนบก หลุมเจาะ Si That-B แปลงสํารวจหมายเลข L13/48 จังหวัดอุดรธานี

รายงานสรุป

มกราคม 2552 แฟมขอมูล: I:\Reports_2008\APICO_SITHAT B\Integrate Report\STB Integrated Report Thai\00 Si That_Ex_Th_FN.doc

หนา 104

ตารางที ่E 7-9: ตําแหนงทีต่ัง้และพิกัดภูมิศาสตรของสถานีติดตามตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดลอม

พิกัด (UTM Zone 48N) สถานีตรวจวัด ท่ีต้ังสถานี

ตะวันออก เหนือ

ระยะหางจากหลุมเจาะ

(กิโลเมตร)

สถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ (2 สถานี)

1 STB-A1 วัดบานคําปากั้ง 303750 1893076 1.40

2 STB-A2 ศูนยชุมชนบานคําแคนคูณ 304570 1890598 1.31

สถานีตรวจวัดคุณภาพเสียง (2 สถานี)

1 STB-A1 วัดบานคําปากั้ 303718 1893070 1.40

2 STB-A2 ศูนยชุมชนบานคําแคนคูณ 304607 1890631 1.30

สถานีตรวจวัดคุณภาพน้ําผิวดิน (4 สถานี)

1 STB-SW1 หวยตาดนอย 301337 1889852 3.20

2 STB-SW2 หวยคําปากั้ง (สะพานกุมภวาป 3) 304219 1890083 1.64

3 STB-SW3 หวยคําปากั้ง (ใกลวัด) 304635 1890481 1.41

4 STB-SW4 หวยคําแคน 302571 1894726 3.30

สถานีตรวจวัดคุณภาพน้ําใตดิน (2 สถานี)

1 STB-GW1 บานคําแคนคูณ 303851 1893118 1.47

2 STB-GW2 บานโปงคอม 302243 1890035 2.38

สถานีตรวจวัดคุณภาพดิน (4 สถานี)

1 STB-S1 ทิศตะวันตกเฉียงเหนือจากบริเวณหลุมเจาะ

303840 1891746 0.14

2 STB-S2 ทิศตะวันออกเฉียงเหนือจากบริเวณหลุมเจาะ

304036 1891789 0.14

3 STB-S3 ทิศตะวันออกเฉียงใตจากบริเวณหลุมเจาะ

304070 1891631 0.17

4 STB-S4 ทิศตะวันตกเฉียงใตจากบริเวณหลุมเจาะ

303874 1891592 0.14