ค ำแนะน ำกำรใช้ส ำหรับครู เล่ม...

40
4 ชุดกิจกรรมการเรียนรูหน่วยการเรียนรู้ที1 ไฟฟ้ากระแส รายวิชาฟิสิกส์ 3 รหัสวิชา 33203 ชั้นปีท2 (เทียบเท่ามัธยมศึกษาปีท6) พัฒนาขึ้นเพื่อให้ครูผู้สอนใช้เป็นสื่อการเรียนรูโดย ใช้ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยยึดหลักและรูปแบบของสถาบัน ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งมีข้อปฏิบัติและทาความเข้าใจ ดังนี1 . ชุดกิจกรรมการเรียนรูเรื่อง แหล่งกาเนิดไฟฟ้า เล่มที1 ใช้ประกอบกับแผนการจัดการ เรียนรู้ที1 เรื่อง แหล่งกาเนิดไฟฟ้า ว33203 ฟิสิกส์ 3 ชั้นปีท2 (เทียบเท่ามัธยมศึกษาปีท6) จานวน 1 แผน ใช้เวลา 3 ชั่วโมง 2 . อธิบายเกี่ยวกับการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรูตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู(5E) โดย แนะนาให้นักเรียนอ่านแผนผังแสดงขั้นตอนการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรูร่วมกับการจัดการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู(5E) คาแนะนาการใช้สาหรับนักเรียน ผลการ เรียนรู้ สาระสาคัญ และจุดประสงค์การเรียนรูเพื่อให้นักเรียนทาความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ชุด กิจกรรมการเรียนรูและปฏิบัติตามได้อย่างถูกต้อง 3 . เตรียมความพร้อมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยจัดเตรียมสื่อและแหล่งเรียนรู้ ไว้ ให้พร้อม สารวจอุปกรณ์ต่าง ๆ ว่า มีความถูกต้องสมบูรณ์อยู่ในสภาพที ่นามาใช้ได้หรือไมหาก ชารุดควรปรับปรุงแก้ไข ศึกษาลาดับอุปกรณ์และสื่อให้เป็นระบบ 4 . การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรูเล่มนีให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังจากจัดการเรียนรู้เสร็จสิ้นแล้ว ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน แล้วให้นักเรียนตรวจ คาตอบที่อยู่ในภาคผนวกท้ายเล่ม พร้อมทั้งบันทึกผลคะแนนการทดสอบก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ลง ในแบบบันทึกคะแนน 5 . แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 5 นาย โดยคละความสามารถของนักเรียน คือ เก่ง 2 นาย ปานกลาง 2 นาย และอ่อน 1 นาย (กาหนดไว้ก่อนโดยดูจากคะแนนวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนการจัดการเรียนรู้) แล้วให้นักเรียนนั่งเรียนเป็นกลุ่มย่อย 6 . ให้นักเรียนศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรูและลงมือปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรูตาม แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู(5E) ประกอบด้วย 1 ) ขั้นสร้างความสนใจ 2 ) ขั้นสารวจและ ค้นหา 3 ) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป 4 ) ขั้นขยายความรูและ 5 ) ขั้นประเมินผล โดยครูผู้สอนคอย ช่วยเหลือและให้คาแนะนานักเรียนตลอดการจัดการเรียนรู7. ควรดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามลาดับขั้นตอนก่อน-หลังในแผนการจัดการเรียนรูทั้งนี้ ครูผู้สอนสามารถปรับประยุกต์ใช้ได้ตามบริบทและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน คำแนะนำกำรใช้สำหรับครู เล่มที่ 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้ำ

Transcript of ค ำแนะน ำกำรใช้ส ำหรับครู เล่ม...

  • 4

    ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ไฟฟ้ากระแส รายวิชาฟิสิกส์ 3 รหัสวิชา ว33203 ชั้นปีที่ 2 (เทียบเท่ามัธยมศึกษาปีที่ 6) พัฒนาขึ้นเพ่ือให้ครูผู้สอนใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ โดยใช้ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยยึดหลักและรูปแบบของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งมีข้อปฏิบัติและท าความเข้าใจ ดังนี้

    1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง แหล่งก าเนิดไฟฟ้า เล่มที่ 1 ใช้ประกอบกับแผนการจัดการเรียนรู้ที ่1 เรื่อง แหล่งก าเนิดไฟฟ้า ว33203 ฟิสิกส์ 3 ชั้นปีที่ 2 (เทียบเท่ามัธยมศึกษาปีที่ 6) จ านวน 1 แผน ใช้เวลา 3 ชัว่โมง

    2. อธิบายเกี่ยวกับการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยแนะน าให้นักเรียนอ่านแผนผังแสดงขั้นตอนการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ร่วมกับการจัดการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ค าแนะน าการใช้ส าหรับนักเรียน ผลการเรียนรู ้ สาระส าคัญ และจุดประสงค์การเรียนรู้ เพ่ือให้นักเรียนท าความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ และปฏิบัติตามได้อย่างถูกต้อง

    3. เตรียมความพร้อมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยจัดเตรียมสื่อและแหล่งเรียนรู้ ไว้ให้พร้อม ส ารวจอุปกรณ์ต่าง ๆ ว่า มีความถูกต้องสมบูรณ์อยู่ในสภาพที่น ามาใช้ได้หรือไม่ หากช ารุดควรปรับปรุงแก้ไข ศึกษาล าดับอุปกรณ์และสื่อให้เป็นระบบ

    4. การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มนี้ ให้นักเรียนท าแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังจากจัดการเรียนรู้เสร็จสิ้นแล้ว ให้นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียน แล้วให้นักเรียนตรวจค าตอบที่อยู่ในภาคผนวกท้ายเล่ม พร้อมทั้งบันทึกผลคะแนนการทดสอบก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ลงในแบบบันทึกคะแนน

    5. แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 5 นาย โดยคละความสามารถของนักเรียน คือ เก่ง 2 นาย ปานกลาง 2 นาย และอ่อน 1 นาย (ก าหนดไว้ก่อนโดยดูจากคะแนนวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนการจัดการเรียนรู้) แล้วให้นักเรียนนั่งเรียนเป็นกลุ่มย่อย

    6. ให้นักเรียนศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ และลงมือปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ประกอบด้วย 1) ขั้นสร้างความสนใจ 2) ขั้นส ารวจและค้นหา 3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป 4) ขั้นขยายความรู้ และ 5) ขั้นประเมินผล โดยครูผู้สอนคอยช่วยเหลือและให้ค าแนะน านักเรียนตลอดการจัดการเรียนรู้

    7. ควรด าเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามล าดับขั้นตอนก่อน-หลังในแผนการจัดการเรียนรู้ ทั้งนี้ ครูผู้สอนสามารถปรับประยุกต์ใช้ได้ตามบริบทและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน

    ค ำแนะน ำกำรใช้ส ำหรับครู เล่มที่ 1 แหล่งก ำเนิดไฟฟ้ำ

  • 5

    แผนผังแสดงขั้นตอนกำรจัดกำรเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้ ร่วมกับกำรจัดกำรเรียนรู้แบบสืบเสำะหำควำมรู้ (5E)

    อ่านค าแนะน าการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ร่วมกับ การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ส าหรับนักเรียน

    อ่านผลการเรียนรู้ สาระส าคัญ และจุดประสงค์การเรียนรู้

    ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ร่วมกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยปฏิบัติ ดังนี ้1. ท าแบบทดสอบก่อนเรียน 2. ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง แหล่งก าเนิดไฟฟ้า 3. ท ากิจกรรมการทดลองเรื่อง เซลไฟฟ้าเคมี 4. ท ากิจกรรมขยายความรู้เรื่อง เครื่องก าเนิดไฟฟ้าอย่างง่าย 5. ท าแบบฝึกทักษะท้ายบทเรียน 6. ท าแบบทดสอบหลังเรียน

    ไม่ผ่านเกณฑ์

    ตรวจสอบค าตอบจากเฉลยแบบทดสอบก่อน-หลังเรียน และเฉลยแบบฝึกทักษะ

    จากเฉลยแบบฝึกทักษะท้ายเล่ม การประเมินผล

    ผ่านเกณฑ์

    ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 2 ต่อไป

  • 6

    ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ไฟฟ้ากระแส รายวิชา ว33203 ฟิสิกส์ 3 ชั้นปีที่ 2 (เทียบเท่ามัธยมศึกษาปีที่ 6) เล่มที่ 1 เรื่องแหล่งก าเนิดไฟฟ้า พัฒนาขึ้นเพ่ือส่งเสริมให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น และบรรลุตามผลการเรียนรู้ ซึ่งก่อนใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ นักเรียนควรปฏิบัติและท าความเข้าใจตามล าดับขั้นตอน ดังนี้

    1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 1 เรื่อง แหล่งก าเนิดไฟฟ้า ใช้เวลา 3 ชั่วโมง 2. อ่านและท าความเข้าใจค าแนะน าการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ นี้ให้ชัดเจน 3. อ่านและท าความเข้าใจผลการเรียนรู้ สาระส าคัญ และจุดประสงค์การเรียนรู้ 4. ท าแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง แหล่งก าเนิดไฟฟ้า จ านวน 10 ข้อ ในใบค าตอบ 5. นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือปฏิบัติตามกิจกรรมการเรียนรู้ที่ครูก าหนดให้ ดังนี้

    ขั้นที่ 1 ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) ขั้นที่ 2 ขั้นส ารวจและค้นหา (Exploration) ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินผล (Evaluation)

    6. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาและท ากิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนผังแสดงขั้นตอนการจัด การเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E)

    7. นักเรียนทุกคนต้องมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองในการทดแบบทดสอบ และแบบฝึกทักษะ ไม่เปิดดูเฉลยที่อยู่ในภาคผนวก

    8. ตรวจสอบแบบฝึกทักษะจากเฉลยท้ายเล่มชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 9. ท าแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง แหล่งก าเนิดไฟฟ้า จ านวน 10 ข้อ ลงในกระดาษค าตอบ

    เพ่ือตรวจสอบความก้าวหน้าทางการเรียน โดยนักเรียนตรวจค าตอบแบบทดสอบก่อนและหลังเรียนด้วยตนเอง แล้วบันทึกผลคะแนนที่ได้ลงในแบบบันทึกคะแนน ซึ่งนักเรียนต้องท ากิจกรรมให้ได้ร้อยละ 80 ขึ้นไป จึงจะผ่านเกณฑ์ ถ้านักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่ก าหนดไว้ให้ทบทวนเนื้อหา แล้วท าแบบทดสอบหลังเรียนอีกครั้ง หากผ่านเกณฑ์ให้ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ในเล่มที่ 2 ต่อไป

    10. เมื่อนักเรียนร่วมกันเรียนรู้ ให้รู้จักช่วยเหลือกันภายในกลุ่ม ไม่ควรหยอกล้อหรือไม่ตั้งใจเรียน ควรพัฒนาตนเองให้มีความรู้เพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นด้วย

    ค ำแนะน ำกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้ ร่วมกับกำรจัดกำรเรียนรู้แบบสืบเสำะหำควำมรู้ (5E) ส ำหรับนักเรียน

  • 7

    อธิบายความหมาย แหล่งก าเนิดไฟฟ้าแต่ละชนิด รวมทั้งส ารวจ ตรวจสอบ ทดลองจนได้ข้อมูลน าไปสู่การสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับแหล่งก าเนิดไฟฟ้าได้ถูกต้อง

    ประจุไฟฟ้า (Electric Charge) คือ สิ่งที่แสดงอ านาจทางไฟฟ้าออกมา มี 2 ชนิด คือ ประจุบวก (+) และ ประจุลบ (-) โดยอิเล็กตรอนเป็นประจุลบ (-) และโปรตอน เป็นประจุบวก (+) ส าหรับนิวตรอนไม่มีประจุไฟฟ้าหรือเป็นกลางทางไฟฟ้า ชนิดของไฟฟ้า โดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ ไฟฟ้าสถิต และไฟฟ้ากระแส โดยไฟฟ้ากระแสสามารถแยกออกเป็นไฟฟ้ากระแสตรง และไฟฟ้ากระแสสลับ ส่วนเซลล์ไฟฟ้าเคมี คือ อุปกรณ์ที่สามารถเปลี่ยนพลังงานเคมี เป็นพลังงานไฟฟ้า ที่อาศัยการรับและส่งอิเล็กตรอนของขั้วไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวน าเกิดจากขดลวดหมุนตัดกับสนามแม่เหล็ก หรือ สนามแม่เหล็กตัดกับขดลวด จะท า ให้เกิดกระแสไฟฟ้าขึ้น จากหลักการนี้จึงได้น ามาสร้าง เครื่องมือจ่ายกระแสไฟฟ้าที่ใช้กันในปัจจุบัน ที่เรยีกกว่า ไดนาโม นั้นเอง

    เพื่อให้นักเรียนได้พัฒนำควำมรู้ควำมสำมำรถดังนี้

    1.ด้ำนควำมรู้ (Knowledge : K) 1.1) อธิบายสมบัติประเภทของแหล่งก าเนิดไฟฟ้าชนิดต่างๆ 1.2) อธิบายหลักการท างานของเซลล์ไฟฟ้าเคมี และยกตัวอย่าง เซลล์ไฟฟ้าเคมีแบบปฐมภูมิ และทุตติยภูมิ 1.3) อธิบายหลักการเกิดกระแสไฟฟ้าจากการเหนี่ยวน า 1.4) อธิบายหลักการท างานของไดนาโม

    ผลกำรเรียนรู้/ สำระส ำคัญ/ จุดประสงค์กำรเรียนรู้

    ผลกำรเรียนรู้

    สำระส ำคัญ

    จุดประสงค์กำรเรียนรู้

  • 8

    2.ด้ำนทักษะ/กระบวนกำร (Performance : P) 2.1) ทดลองและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับหลักการเซลล์ไฟฟ้าเคมี 2.2) ทดลองและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับเครื่องก าเนิดไฟฟ้าอย่างง่าย 2.3) ทักษะกระบวนการในการท าการทดลองและเรียนรู้ภายในกลุ่ม

    3.ด้ำนคุณลักษณะ (Attitude : A) 3.1) มีวินัย 3.2) ความตรงต่อเวลา 3.3) ความรับผิดชอบ 3.4) มีน ้าใจช่วยเหลือผู้อื่น 3.5) มีเจตคตทิี่ดีต่อวิชาที่เรียน

    ภาพแหล่งก าเนิดไฟฟ้าแบบต่างๆ

    ที่มา : https://www.slideshare.net/napasornjuiin1/chapter-1-79986825

    https://www.slideshare.net/napasornjuiin1/chapter-1-79986825

  • 9

    ค ำชี้แจง 1. ข้อสอบเป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จ านวน 10 ข้อ นักเรียนต้องเลือก

    ค าตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว โดยกากบาท () ลงในช่องอักษร ก ข ค หรือ ง ในใบตอบ 2. ก าหนดเวลาให้นักเรียนได้ปฏิบัติ 10 นาที และมีคะแนนเต็ม 10 คะแนน 3. ห้ามขีดเขียนหรือท าเครื่องหมายใด ๆ ลงในแบบทดสอบ

    1. วัตถุท่ีรับอิเล็กตรอนมาจากวัตถุอ่ืน วัตถุนั้นจะแสดงอ านาจไฟฟ้าตามข้อใด ก. สภาพเป็นกลาง ข. อ านาจไฟฟ้าลบ ค. อ านาจไฟฟ้าบวก ง. แสดงอ านาจทั้งบวกและลบสลับกัน 2. จากข้อความต่อไปนี้ 1) ประจุไฟฟ้าต่างชนิดกันจะดูดกัน 2) ประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันจะผลักกัน 3) ประจุไฟฟ้าต่างชนิดกันจะผลักกัน 4) วัตถุท่ีเป็นกลางทางไฟฟ้าสามารถแสดงอ านาจเป็นบวกหรือลบก็ได้ ข้อใดกล่าวถูกต้อง ก. ข้อ 1 และ 2 ข. ข้อ 1, 2 และ 4 ค. ข้อ 2, 3 และ 4 ง. ข้อ 1, 2, 3 และ 4

    แบบทดสอบก่อนเรียน เล่มที่ 1 เร่ือง แหล่งก ำเนิดไฟฟ้ำ

    3. หลักการท างานของอุปกรณ์ในข้อใด ที่เกิดจากการหมุนของขดลวดตัดสนามแม่เหล็ก แล้วท าให้เกิดกระแสไฟฟ้า ก. เซลล์ไฟฟ้าเคมี ข. มอเตอร์

    ค. ไดนาโม ง. เครื่องวัดกระแสไฟฟ้า

  • 10

    8. ข้อใดกล่าวถูกต้อง ก. เซลล์ไฟฟ้าปฐมภูมิเมื่อใช้หมดแล้วสามารถน ากลับมาใช้ได้อีก

    ข. ถ่ายไฟฉายโดยทั่วไปจะใช้สังกะสีเป็นขั้วลบ มีนิเกิลเป็นขั้วบวก ค. ตัวอย่างเซลล์ไฟฟ้าทุตติยภูมิ ได้แก่ แบตเตอรี่รถยนต์ เซลแห้ง ถ่านไฟฉายอัลคาไลน์ ง. แบตเตอรี่รถยนต์แผ่นตะกั่วพรุนท าหน้าที่เป็นขั้วลบ แผ่นตะก่ัวเปอร์ออกไซด์ท าหน้า

  • 11

    กระดำษค ำตอบแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 1 ไฟฟ้ำกระแส

    รำยวิชำ ว33203 ฟิสิกส์ 3 ชั้นปีท่ี 2 (เทียบเท่ำมัธยมศึกษำปีที่ 6) เล่มท่ี 1 เรื่อง แหล่งก ำเนิดไฟฟ้ำ

  • 12

    ขั้นที่ 1 ขั้นสร้ำงควำมสนใจ

  • 13

    กิจกรรมที่ 1 รับชมวีดีโอพร้อมตอบค ำถำม

    ค ำชี้แจง ให้นักเรียนรับชมวีดีโอเรื่อง แหล่งก าเนิดไฟฟ้า และตอบค าถาม

    ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=No6-7-Amj6w

    เมื่อนักเรียนดูวีดีโอเรื่องแหล่งก าเนิดไฟฟ้าเสร็จสิ้น จงโยงเส้นจับคู่ต่อไปนี้ (5 คะแนน)

    ขั้นที่ 2 ขั้นส ำรวจและค้นหำ

    เปล่ียนพลงังานแสงเป็นพลงังานไฟฟ้า

    เคร่ืองมือท่ีเรียกวา่ “คู่ควบความร้อน”

    สารละลายน าไฟฟ้าได ้

    เซลลทุ์ตติยภูมิ

    เปล่ียนพลงังานกลเป็นพลงังานไฟฟ้า

    https://www.youtube.com/watch?v=No6-7-Amj6w

  • 14

    ใบควำมรู้ที่ 1 เร่ือง แหล่งก ำเนิดไฟฟ้ำ

    แหล่งก าเนิดไฟฟ้ามีหลายรูปแบบ เช่น การเปลี่ยนรปูพลังงานจากพลังงานรูป อ่ืน ๆ มาเป็นพลังงานไฟฟ้า หรือแหล่งผลิตพลังงานไฟฟ้าโดยตรง เช่น พลังงานที่ใช้ใน นาฬิกาได้มาจากถ่านไฟฉาย ถ่ายไฟฉายจึงเป็นแหล่งก าเนิดไฟฟ้านั่นเอง การน าพลังงานไฟฟ้าจากแหล่งก าเนิดไฟฟ้าไปยังบ้านเรือนที่มีเครื่องใช้ไฟฟ้า โดยส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งการท าให้เกิดกระแสไฟฟ้าท าได้หลายวิธี เช่น ปฏิกิรยิาเคมี การใช้แท่งแม่เหล็กตัดกับขดลวด หรือใช้ขดลวดตัดกับสนามแม่เหล็ก เป็นต้น เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical cell) เซลล์ไฟฟ้าเคมี คือ อุปกรณ์ที่สามารถเปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า ที่อาศัยการรับและส่งอิเล็กตรอนของขั้วไฟฟ้า (electrode) ที่เป็นขั้วโลหะ 2 ชนิด ผ่านอิเล็กโทรไลต์ (electrolyte) ซึ่งท าหน้าที่เป็นตัวกลางยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ โดยเมื่อจุ่มขั้วไฟฟ้า เช่น แผ่นทองแดง (ขั้วไฟฟ้าบวก) และแผ่นสังกะสี (ข้ัวไฟฟ้าลบ) ลงในสารละลายกรดซัลฟิวริกที่เป็นอิเล็กโทรไลต์ สังกะสีจะแตกตัวเป็นไอออนและให้ อิเล็กตรอนมากกว่าทองแดง ท าให้เกิดการไหลของอิเล็กตรอนจากสังกะสีไปสู่ทองแดง ขณะเดียวกันก็จะเกิดการไหลของกระแสไฟฟ้าสวนทางกับการไหลของอิเล็กตรอนจาก ทองแดงไปสู่สังกะสี จนกระทั่งข้ัวไฟฟ้าทั้งสองขั้วมีประจุไฟฟ้าเท่ากัน จึงหยุดการเคลื่อนที่

    ภาพสารละลายอิเล็กโทรไลต์น าไฟฟ้า (ท่ีมา : http://www.neutron.rmutphysics.com/physics-

    glossary/index.php?option=com_content&task=view&id=1657&Itemid=0)

    หลักการของเซลล์ไฟฟ้าเคมี จึงสรุปได้ดังนี้

    1. กรดซัลฟิวริกเจือจางเป็นสารละลายอิเล็กโทรไลต์ เนื่องจากยอมให้ กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ โดยโลหะจะท าปฏิกิริยากับสารละลายแล้วแตกตัวให้ไอออน บวกและไอออนลบ

    2. โลหะที่จุ่มในสารละลายกรด เรียกว่า ขั้วไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าจะไหลจาก ขั้วที่มีพลังงาน

    http://www.neutron.rmutphysics.com/physics-glossary/index.php?option=com_content&task=view&id=1657&Itemid=0http://www.neutron.rmutphysics.com/physics-glossary/index.php?option=com_content&task=view&id=1657&Itemid=0

  • 15

    1.2 เซลล์ทุติยภูมิ (secondary cell) เป็นเซลล์ไฟฟ้าอีกแบบหนึ่งซึ่งขั้วไฟฟ้า (electrode) และอิเล็กโทรไลต์จะเปลี่ยนแปลงโดยปฏิกิริยาเคมีซึ่งเกิดขึ้นเมื่อเซลล์ปล่อยกระแสไฟฟ้า เป็นเซลล์ไฟฟ้าที่ยังไม่สามารถใช้งานได้ ต้องอัดหรือชาร์จ (charge) ไฟฟ้า กระแสตรงเข้าไปในเซลล์ก่อน เมื่อใช้พลังงานหมดแล้วสามารถน ากลับมาใช้ใหม่ได้อีก เช่น เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ วหรือที่เรียกว่า แบตเตอรี่ (battery)

  • 16

    คู่ควบควำมร้อน เป็นแหล่งก าเนิดไฟฟ้าที่ประกอบด้วยโลหะ 2 ชนิด โลหะหนึ่งพร้อมที่จะให้อิเล็กตรอนอิสระ มากกว่าอีกโลหะหนึ่ง เช่น เมื่อน าทองแดงและเหล็ก มาต่อปลายทั้งสองข้างเข้าด้วยกัน ดังรูป ท าให้ปลายทั้งสองมีอุณหภูมิต่างกัน ปลายข้างหนึ่งเย็นปลายอีกข้างหนึ่ง

  • 17

  • 18

    จุดประสงค์

    กิจกรรมกำรทดลองที่ 1 เร่ือง เซลล์ไฟฟ้ำเคมี

  • 19

    6. ยกแผ่นสังกะสีหรือแผ่นทองแดงแผ่นใดแผ่นหนึ่งขึ้นจากบีกเกอร์ สังเกต การเบนของเข็มแอมมิเตอร์ บันทึกผลการทดลอง 7. จับปลายของแผ่นทองแดงและแผ่นสังกะสีส่วนที่จุ่ มในกรดซัลฟิวริกเจือจาง ให้แตะกัน สังเกตการณเ์บนของเข็มแอมมิเตอร์ บันทึกผลการทดลอง 8. เปลี่ยนแผ่นโลหะที่จุ่มลงในในกรดซัลฟิวริกเจือจาง เป็นแผ่นทองแดงทั้ง 2 แผ่นเหมือนกัน

  • 20

    ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบำยและลงข้อสรุป

  • 21

    ชื่อกลุ่ม

    ชื่อสมำชิก 1. 2. 3. 4.

    5.

    ค ำถำมก่อนกำรทดลอง (2 คะแนน) 1. ปัญหำของกำรทดลองนี้คืออะไร ................................................................................................................................. ................................................................................................................................. ................................................................................................................................. 2. กำรทดลองนี้มีกำรก ำหนดตัวแปรได้อย่ำงไร 2.1 ตัวแปรต้น คือ ……………………………………………………………………..………………………… 2.2 ตัวแปรตำม คือ …………………………………………………………………….…………………….… 2.3 ตัวแปรควบคุม คือ ……………………………………………………………….……………………… 3. นักเรียนจะตั้งสมมติฐำนของกำรทดลองนี้ได้ว่ำอย่ำงไร ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................

    บันทึกผลและอภิปรำย

    (2 คะแนน)

  • 22

  • 23

    ขั้นที่ 4 ขั้นขยำยควำมรู้

  • 24

    มำท ำควำมรู้จักกับเครื่องก ำเนิดไฟฟ้ำอย่ำงง่ำย (ไดนำโม) กันเถอะ

    ทดลองและร่วมกันสรุปผลและตอบค ำถำมเกี่ยวกับเครื่องก ำเนิดไฟฟ้ำอย่ำงง่ำย

    1. เครื่องก ำเนิดไฟฟ้ำอย่ำงง่ำย จ ำนวน 1 ชุด/กลุ่ม 2. แอมมิเตอร์ จ ำนวน 1 เครื่อง/กลุ่ม

    1. ต่อสำยไฟจำกเครื่องก ำเนิดไฟฟ้ำอย่ำงง่ำย เข้ำกับแอมมิเตอร์ สังเกตกำรเบนของเข็มของแอมมิเตอร์ 2. หมุนขดลวดช้ำๆ แล้วเพิ่มควำมเร็วของกำรหมุน สังเกตและเปรียบเทียบ กำรเบนของเข็มของแอมมิเตอร์ 3. หมุนขดลวดในทิศตรงกันข้ำม สังเกตและเปรียบเทียบกำรเบนของเข็มของ แอมมิเตอร์

    ภาพการทดลองเครื่องก าเนิดไฟฟ้าอย่างง่าย (ท่ีมา: https://ajarn3yongyut.wordpress.com/)

    (1 คะแนน)

    1. ปัญหำของกำรทดลองนี้คืออะไร .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. 2. กำรทดลองนี้มีกำรก ำหนดตัวแปรได้อย่ำงไร 2.1 ตัวแปรต้น คือ ……………………………………………………………………..…………………………

    https://ajarn3yongyut.wordpress.com/

  • 25

    ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินผล

  • 26

    ค ำชี้แจง 1. ให้นักเรียนท าเครื่องหมาย √ หน้าข้อความที่ถูกต้อง และท าเครื่องหมาย x หน้าข้อความที่เห็นว่าไม่ถูกต้อง

    2. คะแนนเต็ม 10 คะแนน (ข้อละ 1 คะแนน)

    ⎕ 1. สารละลายอิเล็กโทรไลต์ คือ สารละลายที่น าไฟฟ้าได้โดยการที่สารละลายนี้แตกตัว เป็นไอออนบวกและไอออนลบได้

    ⎕ 2. ถ่านไฟฉายถือว่าเป็นเซลไฟฟ้าเคมี ประเภท ทุตติยภูมิ

    ⎕ 3. แท่งถ่าน (C) ในถ่านไฟฉายท าหน้าที่เป็นขั้วบวก (แอโนด)

    ⎕ 4. กระแสสมมติ คือ กระแสไฟฟ้าที่เกิดจาการเคลื่อนที่หรือถ่ายเทของประจุบวก โดย จะไหลจากจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ า

    ⎕ 5. สนามแม่เหล็ก คือ บริเวณรอบแท่งแม่เหล็ก โดยทิศทางของเส้นแรงแม่เหล็ก จะพุ่ง ออกจากขั้วใต้ไปยังขั้วเหนือ

    ⎕ 6. ขั้วไฟฟ้าที่ท าจากโลหะท่ีแตกตัวได้ดี ให้อิเล็กตรอนได้มากกว่ามีศักย์ไฟฟ้าต่ า กว่าเป็นขั้วลบเรียกว่าขั้วแคโทด

    ⎕ 7. ประจุไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ ประจุบวก และประจุลบ โดยถ้าเป็นประจุชนิด เดียวกันจะผลักกัน แต่ถ้าเป็นประจุต่างชนิดกันจะดูดกัน

    ⎕ 8. ไดนาโมกระแสตรง คือ กระแสจะเปลี่ยนทิศทางทุกครึ่งรอบแต่มีการเปลี่ยนตัววง แหวน ดังนั้นกระแสจึงออกที่ขั้วเดิมเสมอ

    ⎕ 9. จ านวนกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวน าที่ไหลในลวดตัวน า จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับจ า นวนรอบของขดลวดตัวน า และความเข้มของสนามแม่เหล็กที่ตัดผ่านขดลวดเท่านั้น

    ⎕ 10. เซลล์พลังงานแสงอาทิตย์ คือแหล่งก าเนิดไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานแสงเป็นพลังงาน ไฟฟ้า และใช้หลักการทางโฟโตอิเล็กทริก

    แบบฝึกทักษะที่ 1

    แบบฝึกทักษะที่ 2

  • 27

    ค ำชี้แจง 1. ให้นักเรียนอ่ำนโจทย์และตอบค ำถำมให้ถูกต้อง 2. คะแนนเต็ม 10 คะแนน (ข้อละ 2 คะแนน)

    ค ำชี้แจง ให้ผู้เรียนตอบค ำถำมต่อไปนี้ 1. แหล่งก ำเนิดพลังงำนไฟฟ้ำมำจำกที่ใดบ้ำง (ตอบอย่ำงน้อย 5 แหล่ง) ............................................................................................................................. .................................................................................................................................................................... ..................... ............................................................................................................. .............................................. 2. แหล่งก ำเนิดไฟฟ้ำพลังงำนแสงอำทิตย์ต้องมีส่วนประกอบส ำคัญ ............................................................................................................................. ........................................................................................................................................................... .............................. ................................................................................................ ........................................................... 3. ถ่ำนไฟฉำยและแบตเตอรี่ให้พลังงำนไฟฟ้ำได้อย่ำงไร ............................................................................................................................. ........................................................................................................................................................... .............................. ........................................................................................... ............................................................................................................................................................................................. .............................. 4. ไฟฟ้ำที่เกิดจำกพลังงำนควำมร้อน มีขั้นตอนอย่ำงไร ............................................................................................................................. .................................................................................................................... ..................................................................... ............................................................................................................................. .............................. 5. แหล่งก ำเนิดไฟฟ้ำที่เกิดจำกแม่เหล็กมีหลักกำรอย่ำงไร ............................................................................................................................. ........................................................................................................... .............................................................................. ............................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................... ....................

    ค ำชี้แจง 1. ข้อสอบเป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จ านวน 10 ข้อ นักเรียนต้องเลือก

    แบบทดสอบหลังเรียน เล่มที่ 1 เร่ือง แหล่งก ำเนิดไฟฟ้ำ

  • 28

    3. หลักการท างานของอุปกรณ์ในข้อใด ที่เกิดจากการหมุนของขดลวดตัดสนามแม่เหล็ก แล้วท าให้เกิดกระแสไฟฟ้า ก. เซลล์ไฟฟ้าเคมี ข. มอเตอร์

    ค. ไดนาโม ง. เครื่องวัดกระแสไฟฟ้า

    4. ในเซลล์ไฟฟ้าเคมี สารอิเล็กโทรไลต์ คืออะไร

  • 29

    8. ข้อใดกล่าวถูกต้อง ก. เซลล์ไฟฟ้าปฐมภูมิเมื่อใช้หมดแล้วสามารถน ากลับมาใช้ได้อีก

    ข. ถ่ายไฟฉายโดยทั่วไปจะใช้สังกะสีเป็นขั้วลบ มีนิเกิลเป็นขั้วบวก ค. ตัวอย่างเซลล์ไฟฟ้าทุตติยภูมิ ได้แก่ แบตเตอรี่รถยนต์ เซลแห้ง ถ่านไฟฉายอัลคาไลน์ ง. แบตเตอรี่รถยนต์แผ่นตะกั่วพรุนท าหน้าที่เป็นขั้วลบ แผ่นตะก่ัวเปอร์ออกไซด์ท าหน้า ที่เป็นขั้วบวก ให้แรงเคลื่อนไฟฟ้าเซลล์ละ 2 โวลต์

  • 30

    กระดำษค ำตอบแบบทดสอบหลังเรียน

    ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 1 ไฟฟ้ำกระแส รำยวิชำ ว33203 ฟิสิกส์ 3 ชั้นปีท่ี 2 ( เทียบเท่ำมัธยมศึกษำปีที่ 6)

    เล่มท่ี 1 เรื่อง แหล่งก ำเนิดไฟฟ้ำ ชื่อ-สกุล ชั้น เลขที่

  • 31

    บรรณำนุกรม

    กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวช้ีวัดและสำระกำรเรียนรู้แกนกลำง กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551.

  • 32

    ภำคผนวก

  • 33

    - เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน - เฉลยแบบฝึกทักษะ - เฉลยแนวค้าตอบกิจกรรมการทดลอง

  • 34

    กิจกรรมที่ 1 รับชมวีดีโอพร้อมตอบค ำถำม

    ค ำชี้แจง ให้นักเรียนรับชมวีดีโอเรื่อง แหล่งก าเนิดไฟฟ้า และตอบค าถาม

  • 35

    บันทึกผลและอภิปรำย

  • 36

    ชื่อกลุ่ม กลุ่มท่ี ๑

    ชื่อสมำชิก 1. 2. 3. 4.

    5.

    ค ำถำมก่อนกำรทดลอง (2 คะแนน) 1. ปัญหำของกำรทดลองนี้คืออะไร - การเกิดปฏิกิริยาเคมีท าให้เกิดกระแสไฟฟ้าได้หรือไม่ . 2. กำรทดลองนี้มีกำรก ำหนดตัวแปรได้อย่ำงไร 2.1 ตัวแปรต้น คือ ปฏิกิริยาเคมีของแผ่นโลหะ . 2.2 ตัวแปรตำม คือ การเกิดกระแสไฟฟ้า . 2.3 ตัวแปรควบคุม คือ ความเข้มข้นของปริมาณกรดซัลฟิวริก ขนาดของแผ่นทองแดงและแผ่นสังกะสีที่ใช้ในการทดลอง 3. นักเรียนจะตั้งสมมติฐำนของกำรทดลองนี้ได้ว่ำอย่ำงไร -ปฏิกิริยาเคมีท าให้เกิดกระแสไฟฟ้าได้ .

    (2 คะแนน)

  • 37

    - ที่แผ่นทองแดงและแผ่นสังกะสีจะมีฟองอากาศเกิดขึ้น เพราะเกิดปฏิกิริยาเคมี ผลท าให้เข็มของ

  • 38

    (1 คะแนน)

    1. ปัญหำของกำรทดลองนี้คืออะไร -การหมุนขดลวดท าให้เกิดกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวน าได้อย่างไร .

    2. กำรทดลองนี้มกีำรก ำหนดตัวแปรได้อย่ำงไร 2.1 ตัวแปรต้น คือ – ความเร็วการหมุนของขดลวด 2.2 ตัวแปรตำม คือ– การเกิดกระแสไฟฟ้า

  • 39

  • 40

    ค ำชี้แจง 1. ให้นักเรียนท าเครื่องหมาย √ หน้าข้อความที่ถูกต้อง และท าเครื่องหมาย x หน้าข้อความที่เห็นว่าไม่ถูกต้อง

    2. คะแนนเต็ม 10 คะแนน (ข้อละ 1 คะแนน)

    ⎕ 1. สารละลายอิเล็กโทรไลต์ คือ สารละลายที่น าไฟฟ้าได้โดยการที่สารละลายนี้แตกตัว เป็นไอออนบวกและไอออนลบได้

    ⎕ 2. ถ่านไฟฉายถือว่าเป็นเซลไฟฟ้าเคมี ประเภท ทุตติยภูมิ

    ⎕ 3. แท่งถ่าน (C) ในถ่านไฟฉายท าหน้าที่เป็นขั้วบวก (แอโนด)

    ⎕ 4. กระแสสมมติ คือ กระแสไฟฟ้าที่เกิดจาการเคลื่อนที่หรือถ่ายเทของประจุบวก โดย จะไหลจากจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ า

    ⎕ 5. สนามแม่เหล็ก คือ บริเวณรอบแท่งแม่เหล็ก โดยทิศทางของเส้นแรงแม่เหล็ก จะพุ่ง ออกจากขั้วใต้ไปยังขั้วเหนือ

    ⎕ 6. ขั้วไฟฟ้าที่ท าจากโลหะท่ีแตกตัวได้ดี ให้อิเล็กตรอนได้มากกว่ามีศักย์ไฟฟ้าต่ า กว่าเป็นขั้วลบเรียกว่าขั้วแคโทด

    ⎕ 7. ประจุไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ ประจุบวก และประจุลบ โดยถ้าเป็นประจุชนิด เดียวกันจะผลักกัน แต่ถ้าเป็นประจุต่างชนิดกันจะดูดกัน

    ⎕ 8. ไดนาโมกระแสตรง คือ กระแสจะเปลี่ยนทิศทางทุกครึ่งรอบแต่มีการเปลี่ยนตัววง แหวน ดังนั้นกระแสจึงออกที่ขั้วเดิมเสมอ

    ⎕ 9. จ านวนกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวน าที่ไหลในลวดตัวน า จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับจ า นวนรอบของขดลวดตัวน า และความเข้มของสนามแม่เหล็กที่ตัดผ่านขดลวดเท่านั้น

    ⎕ 10. เซลล์พลังงานแสงอาทิตย์ คือแหล่งก าเนิดไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานแสงเป็นพลังงาน ไฟฟ้า และใช้หลักการทางโฟโตอิเล็กทริก

    ค ำชี้แจง 1. ให้นักเรียนอ่ำนโจทย์และตอบค ำถำมให้ถูกต้อง 2. คะแนนเต็ม 10 คะแนน (ข้อละ 2 คะแนน)

  • 41

    ค ำชี้แจง 1. ให้นักเรียนอ่ำนโจทย์และตอบค ำถำมให้ถูกต้อง 2. คะแนนเต็ม 10 คะแนน (ข้อละ 2 คะแนน)

    ค ำชี้แจง ให้ผู้เรียนตอบค ำถำมต่อไปนี้

  • 42

  • 43