04 basic measurement

24
04 การวัดขั้นพื้นฐาน สงวนลิขสิทธิ์ 2551 – 2554 สุรเดช จิตประไพกุลศาล

description

Lecture 4

Transcript of 04 basic measurement

Page 1: 04 basic measurement

04 การวัดขั้นพื้นฐาน

สงวนลิขสิทธิ์ 2551 – 2554สรุเดช จิตประไพกุลศาล

Page 2: 04 basic measurement

Revision 3.3 05 PSP Basic Measurement 2

หัวข้อ

• หลักการวัด (Principle of Measurement)• จุดประสงคข์องการวัด

– การวางแผนการทำางาน– การติดตามการดำาเนนิงานตามแผน– การควบคุมคุณภาพของการทำางาน– การวัด วิเคราะห์ และปรับปรุงประสทิธิภาพในการ

ทำางาน• สรุป

Page 3: 04 basic measurement

Revision 3.3 05 PSP Basic Measurement 3

ถ้าเราสามารถวัดสิ่งที่เรากำาลังกล่าวถึงออกเปน็ตัวเลขได้ เรารู้อะไรบางอย่างเก่ียวกับสิ่งนั้น แต่ถ้าเราไม่สามารถวัดออกเปน็ตัวเลขได้ แสดงว่าเรายังรู้เก่ียวกับสิ่งนั้นไม่เพียงพอ

วิลเลี่ยม ทอมพ์สนั (ลอร์ดเคลวิน)

Page 4: 04 basic measurement

Revision 3.3 05 PSP Basic Measurement 4

กระบวนการทางวิศวกรรมเปา้หมาย

ข้อจำากัด

ทรัพยากร

กระบวนการความ

ต้องการ

ผลิตภัณฑ์

บริการ

ตัววัด

ควบคมุ

ปรับปรุง

ดัดแปลงจาก James W. Moore, The Road Map to Software Engineering: A Standard-Based Guide, IEEE Computer Society Press, 2006

Page 5: 04 basic measurement

Revision 3.3 05 PSP Basic Measurement 5

วัดไปทำาไม (1)

• เพื่อให้เข้าใจอย่างลึกซึ้งเก่ียวกับ– ผลิตภณัฑ์และบริการ– กระบวนการ– บุคลากร– ทรัพยากร– เทคโนโลยี– สภาพแวดล้อม

Page 6: 04 basic measurement

Revision 3.3 05 PSP Basic Measurement 6

วัดไปทำาไม (2)

• ผลิตภัณฑ์หรือบริการ– คุณลักษณะของผลิตภณัฑ์หรือบริการ– คุณภาพของผลิตภณัฑห์รือบริการ– ความสอดคล้องกับมาตรฐาน

• กระบวนการ– ควบคุมและจัดการกระบวนการได้– คาดคะเนผลลัพธ์จากกระบวนการได้– ปรับปรุงกระบวนการได้

Page 7: 04 basic measurement

Revision 3.3 05 PSP Basic Measurement 7

วัดไปทำาไม (3)

• บคุลากร– ความสามารถ– สมรรถนะ

• ทรัพยากร– คุณภาพ– ผลกระทบ

Page 8: 04 basic measurement

Revision 3.3 05 PSP Basic Measurement 8

วัดไปทำาไม (4)

• เทคโนโลยี– เลือกใช้เทคโนโลยทีีเ่หมาะสม– ผลกระทบของเทคโนโลยี

• สภาพแวดล้อม– ปรับปรุงสภาพแวดล้อม– ผลกระทบของสภาพแวดล้อม

Page 9: 04 basic measurement

Revision 3.3 05 PSP Basic Measurement 9

ตัววัดที่ดี (Good Measure)

• มีประโยชน์ต่อการทำางาน– สมัพนัธ์กับวัตถุประสงค์ของการทำางาน

• กำาหนดไว้อย่างชัดเจน– มนียิามทีช่ัดเจนเข้าใจตรงกัน– มกีารเก็บทีเ่หมาะสม

• ใช้อย่างเหมาะสม– ใช้เพือ่ควบคุมและจัดการงาน– ใช้เพือ่ปรับปรุงการทำางาน

Page 10: 04 basic measurement

Revision 3.3 05 PSP Basic Measurement 10

การใช้ประโยชน์จากการวัด

• จัดการโครงการ– ประมาณการ– วางแผน– ติดตามและควบคุม

• จัดการคุณภาพ– คุณภาพของกระบวนการ– คุณภาพของผลิตภณัฑห์รือกระบวนการ

• จัดการความเปลี่ยนแปลง– วิเคราะหผ์ลกระทบ

Page 11: 04 basic measurement

Revision 3.3 05 PSP Basic Measurement 11

จุดประสงค์ของ PSP

• เพื่อพัฒนาทักษะที่จำาเป็นสำาหรับ– การวางแผนการทำางาน– การติดตามการดำาเนนิงานตามแผน– การควบคุมคุณภาพของการทำางาน– การวัด วิเคราะห์ และปรับปรุงประสทิธิภาพในการ

ทำางาน

• ตัววัดที่เหมาะสมสำาหรับ PSP จะต้องสัมพันธ์กับจุดประสงคเ์หล่านี้

Page 12: 04 basic measurement

Revision 3.3 05 PSP Basic Measurement 12

ตัววัดสำาหรับการวางแผน

ระยะเวลาที่จะใช้

เวลาทีใ่ช้ในแต่ละ

งาน

งานทีต่้องทำา

ขนาดของงาน

แผนการทำางาน

เวลาทีเ่รามี

Page 13: 04 basic measurement

Revision 3.3 05 PSP Basic Measurement 13

ตัววัดสำาหรับการวางแผน

• โดยปกติแล้วเราวางแผน (กำาหนดการ) ได้นัน้ เราต้องรู้– ระยะเวลาที่จะต้องใช้ทั้งหมดในการทำางาน (Total

Development time)– เวลาทีเ่รามอียู ่(Available time)

• โดยระยะเวลาที่จะต้องใช้ หาได้จาก– มงีานอะไรบ้างทีจ่ะต้องทำา (Task)– เวลาทีจ่ะใช้ในแต่ละงาน (Time for each task)

Page 14: 04 basic measurement

Revision 3.3 05 PSP Basic Measurement 14

ตัววัดสำาหรับการวางแผน

• จะรู้ว่ามีงานอะไรที่ต้องทำาบา้งจาก– เนือ้งาน (Task details)– กระบวนการ (Process)

• จะรู้เวลาที่ใชใ้นแต่ละงานได้ เราต้องรู้– ขนาดของงาน (Size)– ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดและเวลา (relationship

between size and time)

Page 15: 04 basic measurement

Revision 3.3 05 PSP Basic Measurement 15

ตัววัดสำาหรับการวางแผน

• นั่นคือเราจะต้องใชต้ัววัดต่อไปนี้ในการวางแผน– ขนาด (Size)– เวลา (Time)

• หลังวางแผนแล้วเราจะได้– กำาหนดการ (Schedule)

Page 16: 04 basic measurement

Revision 3.3 05 PSP Basic Measurement 16

ตัววัดสำาหรับการติดตามแผน

ความคืบหน้าของงาน

แผนการทำางาน

เวลาทีใ่ช้จริง

ปริมาณงานทีท่ำาได้

Page 17: 04 basic measurement

Revision 3.3 05 PSP Basic Measurement 17

ตัววัดสำาหรับการติดตามแผน

• จะรู้ความคบืหน้าของงาน เราจะต้องรู้– แผนการทำางาน (Schedule plan)– ปริมาณงานทีท่ำาได้จริง (Completed task)– ระยะเวลาที่ใช้จริง (Actual cost)

• ดังนั้น การติดตามแผนจะใชต้ัววัดต่อไปนี้– ขนาด– เวลา– กำาหนดการ

Page 18: 04 basic measurement

Revision 3.3 05 PSP Basic Measurement 18

ตัววัดสำาหรับการควบคุมคุณภาพ

ประสิทธิภาพในการขจัดข้อ

บกพร่อง

ข้อบกพร่องทีเ่กิดข้ึน

ข้อบกพร่องทีข่จัดไปคุณภาพ

ของงานจำานวนข้อบกพร่องทีเ่คยเกิดในแต่ละ

ข้ันตอน

Page 19: 04 basic measurement

Revision 3.3 05 PSP Basic Measurement 19

ตัววัดสำาหรับการควบคุมคุณภาพ

• เราจะควบคมุคุณภาพได้ เราต้องรู้– จำานวนข้อบกพร่องทีเ่กิดข้ึน– จำานวนข้อบกพร่องทีข่จัดไป– จำานวนข้อบกพร่องทีเ่คยเกิดข้ึนในแต่ละข้ันตอน

• นั่นคือเราจะต้องวัดจำานวนข้อบกพร่อง

Page 20: 04 basic measurement

Revision 3.3 05 PSP Basic Measurement 20

ตวัวัดสำาหรับประสทิธิภาพในการทำางาน

เวลาทีใ่ช้ทัง้หมด

เวลาทีใ่ช้ในการพัฒนา

เวลาทีใ่ช้ในการ

ทำางานซำ้าคุณภาพของงาน

ประสทิธิภาพในการทำางาน

ปริมาณงาน

ทีท่ำาได้

Page 21: 04 basic measurement

Revision 3.3 05 PSP Basic Measurement 21

ตวัวัดสำาหรับประสทิธิภาพในการทำางาน

• การจะวัด วิเคราะห์ และปรับปรุงประสิทธภิาพในการทำางานได้ เราต้องรู้– เวลาทีใ่ช้ทัง้หมด (Total)– เวลาทีใ่ช้ในการสร้างงาน (Productive)– เวลาทีใ่ช้ในการทำางานซำ้า (Rework)– เวลาทีใ่ช้ในการดำาเนนิการทางธุรกิจ (Overhead)– คุณภาพของการทำางาน– ปริมาณงานทีท่ำาได้

Page 22: 04 basic measurement

Revision 3.3 05 PSP Basic Measurement 22

ข้อควรคำานึงในการวัด

• การเก็บข้อมูลควรทำาพร้อมๆกับการทำางาน (real-time data collection)

• พยายามเก็บข้อมูลอย่างสมำ่าเสมอคงเส้นคงวา• ไม่ควรเก็บข้อมูลที่ไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์

การใช้งาน• ข้อมูลควรเปน็ประโยชน์ต่อผูเ้ก็บข้อมูล

Page 23: 04 basic measurement

Revision 3.3 05 PSP Basic Measurement 23

ความแม่นยำากับความเที่ยงตรง

แม่นย ำาและเท ี ่ยงตรง

ไม ่แม ่นย ำาแต ่เท ี ่ยงตรง

แม ่นย ำาแต ่ไม ่ เท ี ่ยงตรง

ไม ่แม ่นย ำาและไม ่เท ี ่ยงตรง

Page 24: 04 basic measurement

Revision 3.3 05 PSP Basic Measurement 24

สรุป

• การวัดชว่ยให้เราเข้าใจการทำางานอย่างลึกซึ้ง• การวัดที่ดีนั้นต้องมีจุดประสงคท์ี่ชดัเจนและผู้

เก็บได้ประโยชน์จากข้อมูลที่วัด• PSP เราวัดเพื่อ

– การวางแผนการทำางาน– การติดตามการดำาเนนิงานตามแผน– การควบคุมคุณภาพของการทำางาน– การวัด วิเคราะห์ และปรับปรุงประสทิธิภาพในการ

ทำางาน