พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

46
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

description

แนะนำภาพรวมพื้นฐานของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) สำหรับการสอนวิชา E-Commerce Strategy มหาวิทยาลัย ราชภัฎ ภูเก็ต ปี 2554

Transcript of พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

Page 1: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 2: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

Spa Director - เอะรอยัลสปา แอนด์ เฮลธคลับ Academic Director – โรงเรียน ภูเก็ตสปาอคาเดมี่ Director of Marketing – บ่อแสนวิวล่า แอนด์สปา Director of Marketing – โรงแรมไทยโฮเต็ล จํากัด Managing Director – บ พีซี เจมส ์จํากัด กรรมการฝ่ายผู้ประกอบการ – อาชีวศึกษา ภูเก็ต วิทยากร – TAT, MOPH, MOC, POC Task force team – APSWC อุปนายกสมาคมสปาภูเก็ต

วิเชียร จูฑะมงคล

ประวัติการศึกษา ปริญญาโท บริหารธุรกิจ MBA จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

www.facebook.com/victor2514

www.twitter.com/victor2514

victor2514.wordpress.com

www.slideshare.com/victor2514

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 3: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

• เคยซื้อสินค้าทางอินเตอร์เน็ต, Facebook, E-catalog, TV ?

• เคยได้รับข้อมูลทาง e-mail, มือถือ เกี่ยวกับสินค้า ?

• เคยลงทะเบียนสมาชิกร้านค้าใดๆ ?

• เคยขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ต, Facebook หรือ e-mail ?

• เคยจองบริการต่างๆ ผ่านหน้าเว็บไซต์ เช่น ดูหนัง ตั๋วเคร่ืองบิน ที่พักโรงแรม ต่างๆ ?

คําถาม e-Commerce

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 4: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

Internet Marketing “ทําให้โลกนี้ไร้พรมแดน” หลากหลายการบริการบนโลกอินเตอร์เน็ต

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 5: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

กรณีศึกษา: eBay เว็บ e-commerce ที่ใหญ่ที่สุด

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 6: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

กรณีศึกษา: TARAD.com

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 7: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

Internet Marketing “ทําให้โลกนี้ไร้พรมแดน” การค้ายุคเดิม การค้ายุคใหม่

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 8: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

การค้ายุคเดิมลูกค้าต้องมาที่ร้านค้า ลูกค้าไม่สะดวกบางคร้ังไม่มีที่จอดรถร้านค้าต้องเช่า ต้องซ้ือทําเล มีค่าใช้จ่ายสินค้ามีจํากัด มีเฉพาะเท่าที่โชว์ลูกค้าถูกจํากัดเท่าที่เดินผ่านหรือในละแวกบ้าน

การค้าออนไลน์ลูกค้าสั่งซื้อออนไลน์จากที่ไหนก็ได้ส่งสินค้าถึงบ้านร้านไม่ต้องเช่า ที่ดินไม่ต้องซื้อค่าใช้จ่ายต่ํา เปิดบริการ 24 ชั่วโมง มีลูกค้าอยู่ทั่วโลก

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 9: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

• ทั่วโลกมีเว็บไซต์ e-Commerce 1,093,529,692 ราย

• มีประเทศที่ให้บริการ e-Commerce แล้ว 240 ประเทศทั่วโลก

• ทั่วโลกมีโดเมนเนมอยู่ประมาณ 8,058,044,651 ล้านโดเมนเนม

• Google มีเว็บไซต์ที่แสดงผลคําว่า “Shopping” ถึง 1,420,000,000 รายการ

• ปี 2548 พบว่าในประเทศมีคนใช้ อินเทอร์เนตจากบ้าน ที่ทํางานและสถานศึกษาตามลําดับ

• ช่วงเวลาที่ใช้อินเทอร์เนตมากที่สุด คือ 20.00 – 24.00 น.

สถิติที่น่ารู้เกี่ยวกับ E-Commerce

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 10: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

สินค้าไทยที่ขายดี 3 อันดับแรกได้แก่ อัญมณี เครื่องประดับ รองลงมาเป็น เสื้อผ้า และเครื่องกีฬา โดยเฉพาะ "กางเกงมวย”

อัญมณีไทยขายบนอีเบย์มากกว่า 50,000 ชิ้น ทุกๆนาที จะขายอัญมณีได้อย่างต่ํา 3 ชิ้น เสื้อผ้า ในทุก 1 ชั่วโมง จะสามารถขายได้ 67 ชิ้น ร้านที่ขายไม้แกะสลัก หรือร้านขายผ้าไหมบนอีเบย์ สามารถทํารายได้ต่อเดือนถึง 100,000 เหรียญผ้าไหมที่จังหวัดลําพูน ราคาประมูลสูงสุดประมาณ 1,290 เหรียญ (ประมาณ 4-5 หมื่นบาท)สินค้าถนนคนเดินในจังหวัดเชียงใหม่ตั้งราคาต่ําสุดไว้ 0.99 เหรียญ สามารถถูกประมูลได้สูงสุดถึง 61 เหรียญ และขึ้นไปถึงระดับ 300-1,000 เหรียญ

สถิติที่น่ารู้เกี่ยวกับ eBay ของสินค้าไทยๆ

การขายสินค้าบนอีเบย์ ถือเป็นการลงทุนที่ต่ํามาก อีเบย์จะคิดค่าฝากขายเริ่มต้น ประมาณ 20 เซนต ์หากขายได้อีเบย์จะหักค่าธรรมเนียมอีกครั้ง เช่นสินค้าราคาไม่เกิน 25 เหรียญ จะถูกหักค่าธรรมเนียมประมาณ 5.25% ขึ้น

อยู่กับราคาสินค้าวันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 11: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

คืออะไร

Electronic Commerce หรือ E-Commerce คือการซื้อขายสินค้าหรือบริการโดยส่งข้อมูลด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านทางเครือข่าย เช่น Internet ถ้าผู้ใช้มีเครื่องคอมพิวเตอร์ คู่สายโทรศัพท์ โมเดม และเป็นสมาชิกของบริการ Internet ก็สามารถทําการค้าผ่านระบบเครือข่ายได ้

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 12: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

ตัวอย่างของ E-Commerce

การสั่งพิซซ่าทางโทรศัพท์การจองบัตรชมภาพยนตร์ผ่านมือถือการส่งข้อมูลใบขนสินค้าให้กรมศุลกากรผ่านระบบ EDIการซื้อหนังสือจากเว็บไซต์ Amazon.comการเข้าร่วมประมูลงานรัฐบาลผ่าน eAuction การสั่งซื้อสินค้าจากทาง Facebook การโอนเงินผ่านระบบ mobile bankingการชําระสินค้าผ่าน Counter Service การซื้อสินค้าโดยตรงจาก Website ต่างๆ

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 13: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

ลักษณะพิเศษของตลาดออนไลน์

กลุ่มเป้าหมายต้องชอบซื้อสินค้าผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์

กลุ่มเป้าหมายกระจายอยู่ทั่วโลกอย่างไร้พรมแดนเป็นการตลาดแบบตัวต่อตัว (one-one Marketing)

ลูกค้าตัดสินใจซื้อจากข้อมูลบนสื่ออิเล็กทรอนิกส์เปิดร้านขายได้ตลอดเวลา 24 ชั่วโมงสามารถส่งสินค้าประเภทดิจิตอล ได้ในเวลาอันรวดเร็วต้นทุนในการดําเนินธุรกิจต่ําใช้บุคลากรจํานวนน้อยไม่มีต้นทุนเรื่องสถานที่ได้ข้อมูลของลูกค้าอันมีค่าอย่างมหาศาล

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 14: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

องค์ประกอบ E-Commerce

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 15: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

ขั้นตอนการสั่งซื้อสินค้าแบบออนไลน์

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 16: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

กรณีศึกษา: E-Commerce Solutions

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 17: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

ชนิดของการทําธุรกิจออนไลน์

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 18: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

Consumer-to-Consumer (C2C) เป็นรูปแบบการซื้อขาย สินค้าระหว่างผู้บริโภคกับผู้บริโภค เช่นการประกาศขายสินค้าใช้แล้วตามเว็บไซต์ที่ให้บริการต่างๆ เป็นต้น

ตัวอย่าง E-Commerce แบบ C2C

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 19: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

Business-to-Consumer (B2C) คือรูปแบบการจําหน่ายสินค้า และบริการโดยตรงจากผู้ค้ากับผู้บริโภคโดยตรง เป็นการค้าปลีก

ตัวอย่าง E-Commerce แบบ B2C

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 20: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

Business-to-Business (B2B) คือรูปแบบการซื้อขาย สินค้าระหว่างธุรกิจกับธุรกิจ เป็นการซื้อขายทีละปริมาณมากๆ (Wholesale) มีมูลค่าการซื้อขาย แต่ละครั้งเป็นจํานวนมาก เป็นการค้าส่ง เช่น ผู้ผลิตขายส่งให้กับพ่อค้าคนกลางเป็นธุรกิจนําเข้า - ส่งออก ชําระเงินผ่านระบบธนาคารด้วยการเปิด L/C หรือในรูปของ Bill of Exchange อื่นๆ

ตัวอย่าง E-Commerce แบบ B2B

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 21: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

Business-to-Government (B2G) คือ การทําการค้าหรือการติดต่อประสานงานทางการค้าผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ระหว่างผู้ทําการค้ากับรัฐบาล ยกตัวอย่างเช่น การจัดซื้อของภาครัฐที่ต้องติดต่อกับเอกชน (eProcurement), การกรอกแบบฟอร์มและการลงทะเบียนต่าง ๆ  จดทะเบียนธุรกิจออนไลน์ www.dbd.go.th , งานบริการสาธารณะต่าง ๆ เช่นระบบสาธารณูปโภค , งานเสนอโครงการ การเปิดประมูล การยื่นซองประกวดราคา เป็นต้น

ตัวอย่าง E-Commerce แบบ B2G

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 22: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

Government to Consumer (G2C) ในที่นี้คงไม่ใช่วัตถุประสงค์เพื่อการค้า แต่จะเป็นเรื่องการบริการของภาครัฐผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ซึ่งปัจจุบันในประเทศไทยเองก็มีให้บริการแล้วหลายหน่วยงานเช่นการคํานวณและเสียภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต, การให้บริการข้อมูลประชาชนผ่านอินเทอร์เน็ต เป็นต้น เช่นข้อมูลการติดต่อการทําทะเบียนต่างๆของกระทรวงมหาดไทยประชาชนสามารถเข้าไปตรวจสอบว่าต้องใช้หลักฐานอะไรบ้างในการทําเรื่องนั้นๆและสามารถดาวน์โหลดแบบฟอร์มบางอย่างจากบนเว็บไซต์ได้ด้วย

ตัวอย่าง E-Commerce แบบ G2C

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 23: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 24: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 25: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

Click and Mortar Organizationรูปแบบของการทํา e-commerce ที่มีรูปแบบการผสมผสานระหว่างผู้ที่มีธุรกิจร้านค้าหรือมีบริษัท เปิดให้บริการทําการค้าจริงๆ และมีเว็บไซต์เป็นอีกช่องทางหนึ่งในการขายคําว่า Mortar คือการก่อสร้างบ้านอาคาร เปรียบได้กับธุรกิจที่มีหน้าร้านค้าจริงๆ โดยบางคนจะเลือกใช้คําว่าแทนคําว่า Mortar

เหมาะสําหรับผู้ที่มีกิจการค้าเดิมอยู่แล้ว และต้องการขยายเพิ่มช่องทางการค้าไปสู่ภายนอกทั้งระดับประเทศและทั่วโลก

รูปแบบขององค์กร E-Commerce

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 26: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

Click and Click Organization (Pure Internet)การทํา e-commerce ที่มีรูปแบบการค้าขายหรือให้บริการผ่านทางเว็บไซต์และอินเทอร์เน็ตเพียงช่องทางเดียวเท่านั้น ไม่มีธุรกิจหรือร้านค้าจริงๆ ที่ให้คนสามารถไปซื้อหรือรับสินค้าหน้าร้านได้

รูปแบบขององค์กร E-Commerce

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 27: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

ข้อดีมีความเชี่ยวชาญในการค้าอยู่แล้วมีกลุ่มลูกค้าเดิมอยู่แล้วมีความน่าเชื่อถือรองรับลูกค้าได้ทั้งผ่านทางเว็บไซต์และผ่านหน้าร้าน

ข้อดีเหมาะสําหรับผู้ที่ต้องการทําธุรกิจใหม่ต้นทุนต่ํา ใช้คนน้อยเริ่มต้นง่ายเปิดกว้างได้มากกว่า ไม่ต้องมีความชํานาญมาก

Click & Motar Click & Click

ข้อเสียต้นทุนสูง ใช้คนมากการทํางานต้องยึดติดกับบริษัทมีความยืดหยุ่นน้อย

ข้อเสียขาดความน่าเชื่อถือขาดความชํานาญสร้างฐานลูกค้าใหม่รองรับลูกค้าออนไลน์ได้อย่างเดียว

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 28: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

กรณีศึกษา: E-Commerce Revolution

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 29: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

•ให้นักศึกษายกตัวอย่างเว็บไซต์ที่มีรูปแบบธุรกิจของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบ B2B, B2C, C2C, Click and Motar, Click and Click มาอย่างน้อยรูปแบบละ 2 เว็บไซต์ พร้อมทั้งอธิบายว่าเป็นเว็บไซต์ที่ดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับอะไร

Assignment 1

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 30: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

ประโยชน์ของ E-Commerce

ให้นักศึกษาเลือกบริษัทที่ทํา E-Commerce มา 1 ตัวอย่าง แล้ววิเคราะห์ประโยชน์ของการค้าแบบออนไลน์หรือ E-Commerce ที่เกี่ยวข้องกับ ผู้ขาย ผู้ซื้อ และผู้ผลิต สินค้า/บริการนั้นๆ ตามรูปแบบดังภาพ

ประโยชน์ ?www.phuketgems.com

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 31: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 32: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 33: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 34: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 35: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 36: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 37: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 38: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 39: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

กรณีศึกษา: Homeplus Virtual Store

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 40: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

กรณีศึกษา: Augmented Reality Online

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 41: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 42: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 43: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 44: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 45: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011

Page 46: พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Introduction of E-Commerce)

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2011