Motion Law of Newton

Post on 27-May-2015

559 views 4 download

Tags:

description

กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน

Transcript of Motion Law of Newton

1

รายวิชาฟสิกสพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ

สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26

เซอร ไอแซค นิวตัน (Sir Isaac

Newton) เปนนักวิทยาศาสตรท่ีคนพบกฎ

การเคลื่อนท่ีของวัตถุ ซ่ึงมี 3 ขอ เกี่ยวของ

กับความเรงของวัตถุและแรงท่ีกระทําบน

วัตถุนั้น สรุปได ดังนี้

กฎขอที่ 1 เม่ือไมมีแรงมากระทําบน

วัตถุ หรือแรงลัพธเปนศูนย วัตถุจะคง

สภาพเคลื่อนที่ นั่นคือวัตถุจะอยูนิ่งกับที่

หรือเคลื่อนที่เปนเสนตรงดวยความเร็ว

คงที่ 2

นายสมพร เหลาทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ สพม. 26

กฎขอท่ี 1 นี้แสดงวา วัตถุมีความเร็วคงท่ี

ไมมีการเปลี่ยนแปลงความเร็ว นั่นคือความเร็ว

ตน (u) เทากับความเร็วปลาย (v) แสดงวา

ความเรงมีคาเปนศูนย (a=0) ดังสมการ

3

นายสมพร เหลาทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ สพม. 26

vu ; 0t

uu

tuva

==−

=

−=

ความเรง = ความเร็วที่เปลี่ยนไป

เวลา

กฎขอที่ 2 เม่ือแรงลัพธที่กระทํา

บนวัตถุไมเปนศูนย วัตถุจะมีความเรง

แรงลัพธ (ΣF) คือ แรงท่ีกระทําบนวัตถุ

ทุกแรงรวมกันแบบเวกเตอร แรงลัพธทําให

วัตถุเปลี่ยนความเร็ว เราทดลองไดโดย

ปลอยใหวัตถุตกลงมาในแนวดิ่ง ซ่ึงมีแรง

โนมถวงของโลกเปนแรงลัพธ จะพบวาวัตถุ

มีความเร็วเพ่ิมขึ้น

4

นายสมพร เหลาทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ สพม. 26

ดังนั้นเราสามารถ หาความเรงได ถาเราทราบมวลของวัตถุ

และแรงลัพธท่ีมากระทําตอวัตถุนั้น โดยทิศทางของความเรงจะมี

ทิศเดียวกับทิศของแรงลัพธ

5

นายสมพร เหลาทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ สพม. 26

ดังนั้นเราสามารถ หาความเรงได ถาเราทราบมวลของวัตถุ

และแรงลัพธท่ีมากระทําตอวัตถุนั้น โดยทิศทางของความเรงจะมี

ทิศเดียวกับทิศของแรงลัพธ

6

นายสมพร เหลาทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ สพม. 26

กฎขอที่ 3 เม่ือออกแรงกระทําตอวัตถุ

จะมีแรงโตตอบ เราเรียกแรงกระทํานี้วา

แรงกิริยา (action) และเราเรียกแรงโตตอบ

นี้วา แรงปฏิกิริยา (Reaction) โดยแรงทั้ง

สองนี้จะตอง

มีขนาดเทากัน

มีทิศทางตรงขามกัน

อยูบนเสนตรงเดียวกัน

7

นายสมพร เหลาทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ สพม. 26

รูปนี้แสดงแรงกิริยา และแรงปฏิกิริยา ซ่ึงเกิดขึ้นกับวัตถุท่ีสัมผัสกัน

8

นายสมพร เหลาทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ สพม. 26

รูปนี้แสดงแรงกิริยา และแรงปฏิกิริยา ซ่ึงเกิดขึ้นในจรวด

9

นายสมพร เหลาทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ สพม. 26

รูปนี้แสดงแรงกิริยา และแรงปฏิกิริยา ซ่ึงเกิดขึ้นในลูกโปง

10

นายสมพร เหลาทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ สพม. 26

แรงกิริยา และแรงปฏิกิริยา เกิดขึ้นกับวัตถุท่ีไมสัมผัสกันก็ได เชน

แรงโนมถวงของโลก ระหวางดาวเทียมโคจรรอบโลก เปนตน

11

นายสมพร เหลาทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ สพม. 26

แรงกิริยา และแรงปฏิกิริยา เกิดขึ้นกับวัตถุท่ีไมสัมผัสกันก็ได เชน

แรงโนมถวงของโลก ระหวางดาวเทียมโคจรรอบโลก เปนตน

12

นายสมพร เหลาทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ สพม. 26

13

นายสมพร เหลาทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ สพม. 26

เอกสารอางอิง

นิรันดร สุวรัตน. คูมือสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน ฟสิกส ม.4 - ม.6. กรุงเทพฯ :

สํานักพิมพ พ.ศ. พัฒนา , 2553.

พูลศักด์ิ อินทวี และจํานง ฉายเชิด. หนงัสือเรียน สาระการเรียนรูพ้ืนฐาน

สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร : ฟสิกส แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน

ม.4 - ม.6 ชวงชั้นที่ 4. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน, 2550.